• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a17863327c5cc382bd7aee8722bd9db6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>พันธุกรรม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> (Heredity) <span lang=\"TH\">หมายถึงการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งไปสู่รุ่นหนึ่ง</span> (Generation)<span lang=\"TH\"><span>  </span>เช่น<span>  </span>พ่อแม่ ถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ลงไปสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน<span>  </span>โดยมีการเริ่มต้นการศึกษาเรื่องพันธุกรรม โดย<span>  </span>เกรเกอร์ เมนเดล<span>  </span>เป็นผู้ที่ค้นพบ และ อธิบายหลักการถ่ายทอด ลักษณะ ทางพันธุกรรม ในช่วงกลางของทศวรรษที่ 18</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการเกิด การเจริญเติบโต และการตายในที่สุด แต่การสืบต่อเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ยังคงอยู่ติดต่อกันหลายชั่วอายุและตลอดไปเป็นระยะเวลานาน<span>  </span>สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อยู่บนโลกจะมีรูปร่างที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง แต่มีความต่างกันในแต่ละชนิดหรือ สปีชีส์<span>  </span>มนุษย์แต่ละเชื้อชาติจะมีรูปร่างหน้าตาต่างกัน เช่น บางเชื้อชาติ ผิวขาว ตาสีฟ้า บางเชื้อชาติ ผิวดำ ตาสีดำ แต่มนุษย์ทั้งหมดจะมีอวัยวะคล้ายกัน จำนวนเท่ากันเช่น มีแขน 2 ข้าง ขา 2 ข้าง ตา 2 ตา มนุษย์ต่างเชื้อชาติ สามารถแต่งงานและมีลูกหลานเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ จึงถือว่ามนุษย์ทั้งหมดบนโลก เป็นชนิดหรือ สปีชีส์เดียว กัน ลักษณะที่ถ่ายทอดจากปู่ ย่า ตา ยาย และพ่อแม่มายังลูกหลานเรียก ลักษณะทางพันธุกรรม</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><img width=\"224\" src=\"http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/mendel/61839.jpg\" height=\"318\" id=\"imgb\" /></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span>  </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประเภทของหน่วยพันธุกรรม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>              </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>             </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span>1. แอลลีนเด่น<span>  </span>สามารถแสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้แม้มีเพียงยีนเดียวจากพ่อแม่ เช่น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผมหยัก มีติ่งหู ห่อลิ้น หนังตาตก มีลักยิ้ม<span>  </span>ฯลฯ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>              </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>             </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span>2. แอลลีลด้อย<span>  </span>สามารถแสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้ เมื่อมีแอลลีลด้อยพ่อและแม่เข้าคู่กัน เช่น<span>  </span>สายตาสั้น สันจมูกตรง ริมฝีปากบาง ไม่มีลักยิ้ม ไม่มีติ่งหู<span>  </span>ฯลฯ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ลักษณะทางพันธุกรรม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>             </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>             </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span>1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง<span>  </span>เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถ แยกความแตกต่าง ได้อย่างชัดเจน เช่น<span>  </span>สีผิว ความสูง น้ำหนัก ไอคิวของคน<span>  </span>ลักษณะเหล่านี้ถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ ยีนจึงมีอิธิพลต่อการควบคุมลักษณะดังกล่าวน้อย แต่สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลมาก</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>               </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>            </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span>2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง<span>  </span>เป็นลักษณะทางพันธุกรรม ที่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน<span>  </span>เช่น<span>  </span>ความสามารถในการห่อลิ้น<span>  </span>จำนวนชั้นของตา<span>  </span>การถนัดมือขวา หรือมือซ้าย</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>               </span><span lang=\"TH\">จีโนไทป์</span> (Genotype<b>)</b> <span lang=\"TH\">หมายถึง ชุดของ </span>gene <span lang=\"TH\">ที่มาเข้าคู่กัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตได้รับมาจาก พ่อและแม่ <span> </span>เป็นลักษณะที่มองไม่เห็น</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">               <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ฟีโนไทป์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Phenotype<b>) </b><span lang=\"TH\">หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ที่สามารถ แสดงออกมาให้เห็นได้ เป็นผลมาจาก </span>genotype <span lang=\"TH\">และสิ่งแวด ล้อม</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยีนและโครโมโซม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">               สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันหรือ สปีชีส์เดียวกัน จะมีโครโมโซมเท่ากัน<span>  </span>โครโมโซมแต่ละโครโมโซม จะมียีนจำนวนมาก พันเรียงกันและยีนแต่ละยีนมีข้อมูลทางพันธุกรรม ที่จะกำหนดรูปร่างลักษณะทางพันธุกรรม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>    </span>ยีนประกอบด้วยสารเคมีที่เรียกว่า<span>  </span>ดีเอ็นเอ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">(DNA<span lang=\"TH\"> </span>: deoxyribonucleicacid)<span>  </span><span lang=\"TH\">ในดีเอ็นเอ ประกอบด้วยเบส 4 ชนิด<span>  </span>ได้แก่<span>  </span></span>A (adenine) <span> </span>T (thymine)<span>  </span>G (guanine)<span>  </span><span lang=\"TH\">และ </span>C (cytosine)<o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โมเลกุลของดีเอ็นเอ<span>  </span>ประกอบด้วยสายยาว 2 สาย เชื่อมกันที่ตำแหน่ง ของเบสโดย </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">A <span lang=\"TH\">จับคู่กับ </span>T <span lang=\"TH\">และ </span>G <span lang=\"TH\">จับคู่กับ </span>C <span lang=\"TH\">เสมอ</span></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><img width=\"354\" src=\"/library/contest2552/type2/science04/28/PIX/dna.gif\" height=\"454\" /></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">        </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">               </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">               <span lang=\"TH\">โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วย โครมาทิด(</span>chromatid) 2 <span lang=\"TH\">โครมาทิดที่เหมือนกันซึ่งเกิดจากการที่โครโมโซมจำลองตัว โครมาทิดทั้งสองมีส่วนที่ติดกันอยู่ เรียกว่า </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เซนโทรเมียร์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">(centromere) <span lang=\"TH\">โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีรูปร่างลักษณะที่เหมือนกันเป็นคู่ ๆ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แต่ละคู่ เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">homologous chromosome)   <span lang=\"TH\">สำหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเซนโทรเมียร์หรือโคนีโทคอร์ (</span>chinetochore) <span lang=\"TH\">ซึ่งทำหน้าที่เป็นแกนหลักสำคัญสำหรับการเคลื่อนไหวของโครโมโซมภายในเซลล์ ขณะที่โครโมโซมเคลื่อนที่เข้าสู่ขั้วเซลล์ในช่วงระยะการแบ่งเซลล์</span></span>   </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><img width=\"343\" src=\"http://file.siam2web.com/mygene/1/2010113_78836.jpg\" height=\"267\" id=\"imgb\" /></span></span>  \n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">   </span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">                <span lang=\"TH\">โครโมโซมในร่างกายมนุษย์มีทั้งหมด </span>46 <span lang=\"TH\">แท่ง แบ่งเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ประเภท คือ ออโตโซม </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">(</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">auto some)  <span lang=\"TH\">และ โครโมโซมเพศ (</span>sex chromosome) <br />\n                <strong><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\">1. <span lang=\"TH\">ออโตโซม</span> (auto some)</span></strong> <span lang=\"TH\">เป็นโครโมโซมที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ ของร่างกายยกเว้น ลักษณะที่เกี่ยวกับเพศ ู่ในเซลล์ของเพศชายและเพศหญิงจะมีออโตโซมเหมือนกัน มี </span>22 <span lang=\"TH\">คู่</span><br />\n                <strong><span style=\"font-weight: normal; font-family: \'Angsana New\'\">2. <span lang=\"TH\">โครโมโซมเพศ (</span>sex chromosome</span></strong><strong><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">) </span></strong><span lang=\"TH\">เป็นโครโมโซมที่ทำหน้าที่ควบคุมหรือกำหนดเพศ ได้แก่ โครโมโซม </span>X <span lang=\"TH\">และ โครโมโซม </span>Y <span lang=\"TH\">ซึ่งจะแตกต่างกันในแต่ละเพศ โดยในเพศหญิงมีโครโมโซมเพศแบบ </span>XX <span lang=\"TH\">และเพศชายมีโครโมโซมเพศแบบ </span>XY <span lang=\"TH\">และโครโมโซม </span>Y <span lang=\"TH\">มีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม </span>X <span lang=\"TH\">มากซึ่งมีอยู่ </span>1 <span lang=\"TH\">คู่ คือคู่ที่ </span>23<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เซลล์เพศที่ถูกสร้างขึ้นมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียวโดยที่เซลล์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span lang=\"TH\">สืบพันธุ์ เพศชาย (สเปิร์ม) จะมีเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งมีโครโมโซม </span>2 <span lang=\"TH\">ชนิด คือ </span>22+X <span lang=\"TH\">หรือ </span>22+Y <span lang=\"TH\">ส่วน</span><span lang=\"TH\">เซลล์สืบพันธุ์ของเพศหญิง จะมีโครโมโซมได้เพียงชนิดเดียว คือ </span>22+X <span lang=\"TH\">ดังนั้นโอกาสในการเกิด</span><span lang=\"TH\">ทารกเพศหญิง (โครโมโซม </span>44+XX) <span lang=\"TH\">หรือทารกเพศชาย(โครโมโซม</span> 44+XY) <span lang=\"TH\">จึงเท่ากัน ขึ้นอยู่กับ</span><span lang=\"TH\">สเปิร์มที่เข้าผสมกับไข่จะเป็นสเปิร์มชนิดใด</span></span>  </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><img width=\"305\" src=\"http://file.siam2web.com/mygene/1/201018_74727.jpg\" alt=\"(1) 201018_74727.jpg\" height=\"301\" title=\"(1) 201018_74727.jpg\" /></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การแบ่งเซลล์</span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span><b>การแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส</b></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> (Mitosis) <span lang=\"TH\">เป็นการแบ่งเซลล์ที่เกิดขึ้นกับเซลล์ร่างกายทั่วไป (</span>Autosome) <span lang=\"TH\">ของสิ่งมีชีวิต โดยในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีสจะแบ่งออกเป็น </span>5 <span lang=\"TH\">ระยะ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>             </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>               </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">1.<span lang=\"TH\">ระยะอินเตอร์เฟส(</span>interphase)<span lang=\"TH\">เป็นระยะที่เซลล์มีนิวเคลียสขนาดใหญ่มีเมแทบอลิซึมสูงมีการจำลองโครโมโซมใหม่เหมือนเดิมทุกประการแนบชิดติดกับโครโมโซมเดิมเป็นเส้นบางๆมองเห็นไม่ชัดเจน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">               2</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">. <span lang=\"TH\">ระยะโพรเฟส (</span>prophase) <span lang=\"TH\">โครโมโซมหดตัวสั้นและหนาขึ้นทำให้เห็นชัดเจน โครโมโซมแตกออกจากกัน มีเซนโทรเมียร์</span> (centromere) <span lang=\"TH\">หรือ คิเนโตคอร์ (</span>kinetochore) <span lang=\"TH\">เป็นปมเล็กๆ ยึดติดกันเอาไว้ และโครโมโซมที่แนบชิดกันเรียก โครมาทิด (</span>chromatid) <span lang=\"TH\">เซนทริโอลแยกจากกันไปอยู่ตรงกันข้ามหรือขั้วเซลล์ มีเส้นใยสปินเดิล (</span>spindle fiber) <span lang=\"TH\">ยึดที่ เซนโทเมียร์ ของโครโมโซมและขั้วเซลล์ ปลายระยะนี้เห็นโครโมโซมแยกเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">โครมาทิดอย่างชัดเจน แต่ที่เซนโทรเมียร์ยึดไว้ยังไม่หลุด จากกัน เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสค่อยๆ สลายไป</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">               </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">3. <span lang=\"TH\">ระยะเมทาเฟส (</span>metaphase) <span lang=\"TH\">ระยะนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแล้ว โครโมโซมทั้งหมดจะมารวมเรียงตัวกันอยู่กลางเซลล์แต่ละโครโมโซมมี </span>2 <span lang=\"TH\">โครมาทิด ระยะนี้เซนโทรเมียร์เริ่มแยกออกแต่ยังไม่หลุดออกจากกัน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">              </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">4. <span lang=\"TH\">ระยะแอนาเฟส (</span>anaphase) <span lang=\"TH\">เส้นใยสปินเดิลหดตัว และดึงเซนโทรเมียร์ให้โครมาทิดที่อยู่เป็นคู่แยกออกจากกันไปยังขั้วเซลล์ตรงกันข้าม</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">              </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">5. <span lang=\"TH\">ระยะเทโลเฟส (</span>telophase) <span lang=\"TH\">มีกลุ่มโครมาทิดที่แยกออกจากกันแล้ว อยู่ขั้วเซลล์ทั้งสองข้างเกิดเยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบโครมาทิดทั้ง </span>2 <span lang=\"TH\">กลุ่ม และเกิดนิวคลีโอลัสใน </span>2 <span lang=\"TH\">กลุ่มนั้นด้วย โครมาทิดในระยะนี้คือ โครโมโซมนั้นเอง ดังนั้นในระยะนี้แต่ละเซลล์มี </span>2 <span lang=\"TH\">นิวเคลียส แต่ละนิวเคลียสมีโครโมโซม เป็น </span>2 n <span lang=\"TH\">เท่าเซลล์เดิม ถือว่าเป็นการเสร็จสิ้นการแบ่งนิวเคลียส</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><img width=\"450\" src=\"/library/contest2551/science04/107/2/content_low/images/home/mitosis1.gif\" alt=\"Mitosis\" height=\"538\" /></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>              </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>     </span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">(<span class=\"style21\"><span style=\"font-weight: normal; color: black\">meiosis)</span></span><span lang=\"TH\">เป็นการแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่เจริญเป็นเซลล์ สืบพันธุ์ทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีการเปลี่ยนแปลง </span>2 <span lang=\"TH\">ครั้ง ติดต่อกันหลังจากแบ่งเซลล์เสร็จแล้วได้เซลล์ใหม่ </span>4 <span lang=\"TH\">เซลล์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์แม่ โครโมโซมของเซลล์ใหม่แต่ละเซลล์จึงเป็นแฮพลอยด์ (</span>haploid) <span lang=\"TH\">หรือ </span>n <span lang=\"TH\">โครโมโซม คือมีโครโมโซมเพียงชุดเดียวเท่านั้น เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสครั้งแรกและครั้งที่สอง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะแรก</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                  ระยะอินเตอร์เฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">I (interphase I) <span lang=\"TH\">การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะนี้มีการเตรียมสารต่างๆ เช่นโปรตีน เอนไซม์ เพื่อใช้ในระยะต่อไป จึงมีเมแทบอลิซึมสูง มีนิวเคลียสใหญ่ มีการจำลองโครโมโซมใหม่แนบชิดกับโครโมโซมเดิมและเหมือนเดิมทุกประการ โครโมโซมเป็นเส้นบางยาวๆ พันกันเป็นกลุ่มร่างแห</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">               </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                 </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะเมทาเฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">I (mataphase I) <span lang=\"TH\">แต่ละไบวาเลนท์ของโครโมโซม มาเรียงอยู่กลางเซลล์</span> <span lang=\"TH\"> เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแล้ว</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">           </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                 </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะแอนาเฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">I (anaphase I) <span lang=\"TH\">โครโมโซมคู่เหมือนที่จับคู่กัน ถูกแรงดึงจากเส้นใยสปินเดิลให้แยกตัวออกจากกันไปยังขั้วเซลล์ที่อยู่ตรงข้าม การแยกนั้นแยกไปทั้งโครโมโซมที่มี </span>2 <span lang=\"TH\">โครมาทิด และการแยกโครโมโซมนี้มีผลทำให้การสลับชิ้นส่วนของโครมาทิดตรงบริเวณที่มีการไขว้เปลี่ยนช่วยทำให้เกิดการแปรผัน</span> (variation) <span lang=\"TH\">ของลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีประโยชน์ในแง่ วิวัฒนาการ จากการแยกกันของโครโมโซมไปยังขั้วเซลล์แต่ละข้างมีโครโมโซมเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">      </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                 </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะเทโลเฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">I (telophase I) <span lang=\"TH\">ในระยะนี้จะมีโครโมโซม </span>2 <span lang=\"TH\">กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีจำนวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม </span> <span lang=\"TH\">แต่ละเซลล์มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะสอง</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">               </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไมโอซีสครั้งที่</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> 2<span lang=\"TH\">เกิดต่อเนื่องไปเลยไม่มีพักและผ่านระยะอินเทอร์เฟสไป ไม่มีการจำลอง</span></span><span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โครโมโซมใหม่อีก เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะโพรเฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">II (prophase II) <span lang=\"TH\">แต่ละโครโมโซมในนิวเคลียส แยกเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">โครมาทิด มี</span>   <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เซนโทรเมียร์ยึดไว้</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">เซนทริโอลแยกออกไปขั้วเซลล์ทั้ง </span>2 <span lang=\"TH\">ข้าง</span>  <span lang=\"TH\"> มีเส้นใยสปินเดิลยึด</span> <span lang=\"TH\">เซนโทรเมียร์กับขั้วเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไป</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">               </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะเมทาเฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">II (metaphase II) <span lang=\"TH\">โครโมโซมทั้งหมดมารวมอยู่กลางเซลล์</span></span>\n</p>\n<p>\n                          <span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะแอนาเฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">II (anaphase II) <span lang=\"TH\">เส้นใยสปินเดิลหดตัวสั้นเข้าและดึงให้โครมาทิดของแต่ละโครโมโซมแยกออกจากกันไปขั้วเซลล์ตรงกันข้าม</span></span>\n</p>\n<p>\n                           <span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะเทโลเฟส </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">II (terophase II) <span lang=\"TH\">เกิดนิวคลีโอลัส เยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบ</span><span lang=\"TH\">โครมาทิดกลุ่มใหญ่ แต่ละโครมาทิดก็คือ โครโมโซม นั้นเอง เมื่อจบการแบ่งเซลล์ในระยะเทโลเฟส </span>2 <span lang=\"TH\">แล้วได้เซลล์ใหม่ </span>4 <span lang=\"TH\">เซลล์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซมเป็น</span></span> <span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">แฮพลอยด์</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> <img width=\"320\" src=\"http://www.yorku.ca/kdenning/++2140%202006-7/meiosis.gif\" height=\"480\" id=\"imgb\" /></o:p></span> </p>\n', created = 1719995002, expire = 1720081402, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a17863327c5cc382bd7aee8722bd9db6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พันธุกรรม

รูปภาพของ knw32767

         พันธุกรรม (Heredity) หมายถึงการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งไปสู่รุ่นหนึ่ง (Generation)  เช่น  พ่อแม่ ถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ลงไปสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน  โดยมีการเริ่มต้นการศึกษาเรื่องพันธุกรรม โดย  เกรเกอร์ เมนเดล  เป็นผู้ที่ค้นพบ และ อธิบายหลักการถ่ายทอด ลักษณะ ทางพันธุกรรม ในช่วงกลางของทศวรรษที่ 18 

                สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการเกิด การเจริญเติบโต และการตายในที่สุด แต่การสืบต่อเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ยังคงอยู่ติดต่อกันหลายชั่วอายุและตลอดไปเป็นระยะเวลานาน  สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อยู่บนโลกจะมีรูปร่างที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง แต่มีความต่างกันในแต่ละชนิดหรือ สปีชีส์  มนุษย์แต่ละเชื้อชาติจะมีรูปร่างหน้าตาต่างกัน เช่น บางเชื้อชาติ ผิวขาว ตาสีฟ้า บางเชื้อชาติ ผิวดำ ตาสีดำ แต่มนุษย์ทั้งหมดจะมีอวัยวะคล้ายกัน จำนวนเท่ากันเช่น มีแขน 2 ข้าง ขา 2 ข้าง ตา 2 ตา มนุษย์ต่างเชื้อชาติ สามารถแต่งงานและมีลูกหลานเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ จึงถือว่ามนุษย์ทั้งหมดบนโลก เป็นชนิดหรือ สปีชีส์เดียว กัน ลักษณะที่ถ่ายทอดจากปู่ ย่า ตา ยาย และพ่อแม่มายังลูกหลานเรียก ลักษณะทางพันธุกรรม

   

 

ประเภทของหน่วยพันธุกรรม                      

             1. แอลลีนเด่น  สามารถแสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้แม้มีเพียงยีนเดียวจากพ่อแม่ เช่น ผมหยัก มีติ่งหู ห่อลิ้น หนังตาตก มีลักยิ้ม  ฯลฯ                                    2. แอลลีลด้อย  สามารถแสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้ เมื่อมีแอลลีลด้อยพ่อและแม่เข้าคู่กัน เช่น  สายตาสั้น สันจมูกตรง ริมฝีปากบาง ไม่มีลักยิ้ม ไม่มีติ่งหู  ฯลฯ ลักษณะทางพันธุกรรม                                            1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง  เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่สามารถ แยกความแตกต่าง ได้อย่างชัดเจน เช่น  สีผิว ความสูง น้ำหนัก ไอคิวของคน  ลักษณะเหล่านี้ถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ ยีนจึงมีอิธิพลต่อการควบคุมลักษณะดังกล่าวน้อย แต่สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลมาก                                           2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง  เป็นลักษณะทางพันธุกรรม ที่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน  เช่น  ความสามารถในการห่อลิ้น  จำนวนชั้นของตา  การถนัดมือขวา หรือมือซ้าย               

               จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง ชุดของ gene ที่มาเข้าคู่กัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตได้รับมาจาก พ่อและแม่  เป็นลักษณะที่มองไม่เห็น

               ฟีโนไทป์ (Phenotype) หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ที่สามารถ แสดงออกมาให้เห็นได้ เป็นผลมาจาก genotype และสิ่งแวด ล้อม  ยีนและโครโมโซม                               สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันหรือ สปีชีส์เดียวกัน จะมีโครโมโซมเท่ากัน  โครโมโซมแต่ละโครโมโซม จะมียีนจำนวนมาก พันเรียงกันและยีนแต่ละยีนมีข้อมูลทางพันธุกรรม ที่จะกำหนดรูปร่างลักษณะทางพันธุกรรม    ยีนประกอบด้วยสารเคมีที่เรียกว่า  ดีเอ็นเอ (DNA : deoxyribonucleicacid)  ในดีเอ็นเอ ประกอบด้วยเบส 4 ชนิด  ได้แก่  A (adenine)  T (thymine)  G (guanine)  และ C (cytosine) โมเลกุลของดีเอ็นเอ  ประกอบด้วยสายยาว 2 สาย เชื่อมกันที่ตำแหน่ง ของเบสโดย A จับคู่กับ T และ G จับคู่กับ C เสมอ

 

 

                                        

               โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วย โครมาทิด(chromatid) 2 โครมาทิดที่เหมือนกันซึ่งเกิดจากการที่โครโมโซมจำลองตัว โครมาทิดทั้งสองมีส่วนที่ติดกันอยู่ เรียกว่า เซนโทรเมียร์(centromere) โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจะมีรูปร่างลักษณะที่เหมือนกันเป็นคู่ ๆ แต่ละคู่ เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome)   สำหรับลักษณะรูปร่างของโครโมโซมจะแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเซนโทรเมียร์หรือโคนีโทคอร์ (chinetochore) ซึ่งทำหน้าที่เป็นแกนหลักสำคัญสำหรับการเคลื่อนไหวของโครโมโซมภายในเซลล์ ขณะที่โครโมโซมเคลื่อนที่เข้าสู่ขั้วเซลล์ในช่วงระยะการแบ่งเซลล์  

 

 

 

  

 

 

 

 

                     

                โครโมโซมในร่างกายมนุษย์มีทั้งหมด 46 แท่ง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ออโตโซม (auto some)  และ โครโมโซมเพศ (sex chromosome)
                1. ออโตโซม (auto some) เป็นโครโมโซมที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ ของร่างกายยกเว้น ลักษณะที่เกี่ยวกับเพศ ู่ในเซลล์ของเพศชายและเพศหญิงจะมีออโตโซมเหมือนกัน มี 22 คู่
                2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome) เป็นโครโมโซมที่ทำหน้าที่ควบคุมหรือกำหนดเพศ ได้แก่ โครโมโซม X และ โครโมโซม Y ซึ่งจะแตกต่างกันในแต่ละเพศ โดยในเพศหญิงมีโครโมโซมเพศแบบ XX และเพศชายมีโครโมโซมเพศแบบ XY และโครโมโซม Y มีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม X มากซึ่งมีอยู่ 1 คู่ คือคู่ที่ 23
  เซลล์เพศที่ถูกสร้างขึ้นมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียวโดยที่เซลล์
สืบพันธุ์ เพศชาย (สเปิร์ม) จะมีเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y ส่วนเซลล์สืบพันธุ์ของเพศหญิง จะมีโครโมโซมได้เพียงชนิดเดียว คือ 22+X ดังนั้นโอกาสในการเกิดทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX) หรือทารกเพศชาย(โครโมโซม 44+XY) จึงเท่ากัน ขึ้นอยู่กับสเปิร์มที่เข้าผสมกับไข่จะเป็นสเปิร์มชนิดใด
 

 

 

(1) 201018_74727.jpg

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  การแบ่งเซลล์

                 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส (Mitosis) เป็นการแบ่งเซลล์ที่เกิดขึ้นกับเซลล์ร่างกายทั่วไป (Autosome) ของสิ่งมีชีวิต โดยในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีสจะแบ่งออกเป็น 5 ระยะ                                            

                1.ระยะอินเตอร์เฟส(interphase)เป็นระยะที่เซลล์มีนิวเคลียสขนาดใหญ่มีเมแทบอลิซึมสูงมีการจำลองโครโมโซมใหม่เหมือนเดิมทุกประการแนบชิดติดกับโครโมโซมเดิมเป็นเส้นบางๆมองเห็นไม่ชัดเจน

               2. ระยะโพรเฟส (prophase) โครโมโซมหดตัวสั้นและหนาขึ้นทำให้เห็นชัดเจน โครโมโซมแตกออกจากกัน มีเซนโทรเมียร์ (centromere) หรือ คิเนโตคอร์ (kinetochore) เป็นปมเล็กๆ ยึดติดกันเอาไว้ และโครโมโซมที่แนบชิดกันเรียก โครมาทิด (chromatid) เซนทริโอลแยกจากกันไปอยู่ตรงกันข้ามหรือขั้วเซลล์ มีเส้นใยสปินเดิล (spindle fiber) ยึดที่ เซนโทเมียร์ ของโครโมโซมและขั้วเซลล์ ปลายระยะนี้เห็นโครโมโซมแยกเป็น 2 โครมาทิดอย่างชัดเจน แต่ที่เซนโทรเมียร์ยึดไว้ยังไม่หลุด จากกัน เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสค่อยๆ สลายไป

               3. ระยะเมทาเฟส (metaphase) ระยะนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแล้ว โครโมโซมทั้งหมดจะมารวมเรียงตัวกันอยู่กลางเซลล์แต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิด ระยะนี้เซนโทรเมียร์เริ่มแยกออกแต่ยังไม่หลุดออกจากกัน

              4. ระยะแอนาเฟส (anaphase) เส้นใยสปินเดิลหดตัว และดึงเซนโทรเมียร์ให้โครมาทิดที่อยู่เป็นคู่แยกออกจากกันไปยังขั้วเซลล์ตรงกันข้าม

              5. ระยะเทโลเฟส (telophase) มีกลุ่มโครมาทิดที่แยกออกจากกันแล้ว อยู่ขั้วเซลล์ทั้งสองข้างเกิดเยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบโครมาทิดทั้ง 2 กลุ่ม และเกิดนิวคลีโอลัสใน 2 กลุ่มนั้นด้วย โครมาทิดในระยะนี้คือ โครโมโซมนั้นเอง ดังนั้นในระยะนี้แต่ละเซลล์มี 2 นิวเคลียส แต่ละนิวเคลียสมีโครโมโซม เป็น 2 n เท่าเซลล์เดิม ถือว่าเป็นการเสร็จสิ้นการแบ่งนิวเคลียส

 

 

 

 

 

Mitosis  

                   การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส(meiosis)เป็นการแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่เจริญเป็นเซลล์ สืบพันธุ์ทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีการเปลี่ยนแปลง 2 ครั้ง ติดต่อกันหลังจากแบ่งเซลล์เสร็จแล้วได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์แม่ โครโมโซมของเซลล์ใหม่แต่ละเซลล์จึงเป็นแฮพลอยด์ (haploid) หรือ n โครโมโซม คือมีโครโมโซมเพียงชุดเดียวเท่านั้น เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสครั้งแรกและครั้งที่สอง

ระยะแรก

                  ระยะอินเตอร์เฟส I (interphase I) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะนี้มีการเตรียมสารต่างๆ เช่นโปรตีน เอนไซม์ เพื่อใช้ในระยะต่อไป จึงมีเมแทบอลิซึมสูง มีนิวเคลียสใหญ่ มีการจำลองโครโมโซมใหม่แนบชิดกับโครโมโซมเดิมและเหมือนเดิมทุกประการ โครโมโซมเป็นเส้นบางยาวๆ พันกันเป็นกลุ่มร่างแห                                ระยะเมทาเฟส I (mataphase I) แต่ละไบวาเลนท์ของโครโมโซม มาเรียงอยู่กลางเซลล์  เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแล้ว           

                 ระยะแอนาเฟส I (anaphase I) โครโมโซมคู่เหมือนที่จับคู่กัน ถูกแรงดึงจากเส้นใยสปินเดิลให้แยกตัวออกจากกันไปยังขั้วเซลล์ที่อยู่ตรงข้าม การแยกนั้นแยกไปทั้งโครโมโซมที่มี 2 โครมาทิด และการแยกโครโมโซมนี้มีผลทำให้การสลับชิ้นส่วนของโครมาทิดตรงบริเวณที่มีการไขว้เปลี่ยนช่วยทำให้เกิดการแปรผัน (variation) ของลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีประโยชน์ในแง่ วิวัฒนาการ จากการแยกกันของโครโมโซมไปยังขั้วเซลล์แต่ละข้างมีโครโมโซมเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม      

                 ระยะเทโลเฟส I (telophase I) ในระยะนี้จะมีโครโมโซม 2 กลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีจำนวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม  แต่ละเซลล์มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์

ระยะสอง

               ไมโอซีสครั้งที่ 2เกิดต่อเนื่องไปเลยไม่มีพักและผ่านระยะอินเทอร์เฟสไป ไม่มีการจำลองโครโมโซมใหม่อีก เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง                ระยะโพรเฟส II (prophase II) แต่ละโครโมโซมในนิวเคลียส แยกเป็น 2 โครมาทิด มี   เซนโทรเมียร์ยึดไว้   เซนทริโอลแยกออกไปขั้วเซลล์ทั้ง 2 ข้าง   มีเส้นใยสปินเดิลยึด เซนโทรเมียร์กับขั้วเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไป

               ระยะเมทาเฟส II (metaphase II) โครโมโซมทั้งหมดมารวมอยู่กลางเซลล์

                          ระยะแอนาเฟส II (anaphase II) เส้นใยสปินเดิลหดตัวสั้นเข้าและดึงให้โครมาทิดของแต่ละโครโมโซมแยกออกจากกันไปขั้วเซลล์ตรงกันข้าม

                           ระยะเทโลเฟส II (terophase II) เกิดนิวคลีโอลัส เยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบโครมาทิดกลุ่มใหญ่ แต่ละโครมาทิดก็คือ โครโมโซม นั้นเอง เมื่อจบการแบ่งเซลล์ในระยะเทโลเฟส 2 แล้วได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มีโครโมโซมเป็น แฮพลอยด์

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 441 คน กำลังออนไลน์