• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8f34cba8afbfe816b15f96bc57f1ffe8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nการเขียนภาพฉาย (orthographic projection)<br />\n     ในงานช่างอุตสาหกรรมจะนำแบบงานไปเป็นแบบที่ใช้สำหรับสร้างชิ้นส่วนเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งจะต้องเป็นแบบที่เขียนได้ง่าย มีรายละเอียดของแบบงานครบถ้วนสมบูรณ์ชัดเจน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถนำไปปฏิบัติตามแบบได้อย่างถูกต้อง แบบงานที่นิยมจะเขียนเป็นแบบภาพฉาย เพราะสามารถแสดงรายละเอียดต่างๆ เช่น รูปร่าง ผิวงาน และกำหนดขนาดที่ชัดเจน แล้วยังสามารถอธิบายแบบให้ช่างเข้าใจได้ง่ายด้วย เพราะเป็นรูปแบบที่เข้าใจในระดับสากล<br />\n     ภาพฉาย เป็นภาพลายเส้นที่บอกขนาดสัดส่วนต่างๆ ที่อ่านค่าแล้วเอามาทำงานได้ ภาพฉายส่วนใหญ่จะเขียนหรืออ่านมาจากภาพไอโซเมตริกหรือภาพของจริง มองแต่ละด้านแล้วเขียนออกมาตามภาพที่มองเห็นนั้นๆ ในแต่ละด้านของชิ้นงานตามปกติชิ้นงานจะมีทั้งหมด 6 ด้าน เหมือนลูกเต๋า แต่ภาพในการทำงานจริงจะใช้เพียง 3 ด้าน เท่านั้น ในส่วนที่มองไม่เห็นจะเขียนแสดงด้วยเส้นประ<br />\n    เขียนภาพฉายของวัตถุ เริ่มจากกล่องที่กำหนดให้แต่ละด้านมีสีที่แตกต่างกันจะได้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ด้านของภาพที่ใช้งานจะเป็นด้านหน้า (Front View : B) ด้านข้าง (Side View : C) และ ด้านบน (Top View : A) เท่านั้น เรียกว่าภาพฉายแบบมุมที่1 ( First angle Projection)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u29257/design_method_c3_01.jpg\" height=\"277\" /><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u29257/design_method_c3_03.jpg\" height=\"353\" /><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u29257/design_method_c3_04.jpg\" height=\"376\" /><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u29257/design_method_c3_05.jpg\" height=\"393\" /><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u29257/design_method_c3_06.jpg\" height=\"399\" /><br />\nที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.designlikeus.com/designmeth_view.php?select_desm_id=4\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">http://www.designlikeus.com/designmeth_view.php?select_desm_id=4</span></span></u></a>\n</p>\n<p>\n     การมองภาพฉาย เกิดจากดวงตามองไปยังวัตถุ ถ้าเอาจอไปรับภาพของวัตถุวางไว้ด้านหลัง แล้วใช้ไฟฉายส่องไปยังวัตถุ แสงของไฟฉายผ่านวัตถุ ทำให้เกิดภาพบนจอ ในลักษณะของการขยายภาพให้โตขึ้น ซึ่งไม่ใช่ขนาดของภาพจริง แต่ในทางการเขียนแบบต้องการขนาดภาพเท่ากับของจริง (วัตถุที่นำมามอง) ดังนั้นจึงต้องปรับเส้นในการฉายภาพให้เป็นภาพขนาน เพื่อจะให้ได้ขนาดตามความเป็นจริง โดยกำหนดให้เส้นการมองอยู่ในแนวระนาบพุ่งตรงจากวัตถุไปยังจอภาพ ภาพที่ปรากฏบนจอจะมีขนาดเท่ากับวัตถุนั้นๆ  การฉายภาพในลักษณะเช่นนี้ จัดเป็นการฉายภาพในมุมที่หนึ่งของหลักการมองภาพฉาย วัตถุจะอยู่หน้าจอรับภาพ ด้านที่นิยมได้แก่ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนที่ใช้ในการเขียนภาพฉาย ซึ่งช่วยให้อ่านภาพได้ง่ายขึ้น\n</p>\n<p>\n<br />\nทีนี้ก็จินตนาการต่อว่า ถ้าเราไปยืนมองแต่ละด้าน สิ่งที่เราเห็นจะเป็นอย่างไรมาดูกัน<br />\nถ้าสังเกตุให้ดีจะเห็นว่า แนวของวัตถุจะตรงกันพอดี (ร่างเส้นเป็นแนวไว้ให้ดู) หลังจากนั้น เรามาลองคลี่กระดาษออกให้เป็นระนาบเดียวกันดูนะ (ดูภาพด้านล่างประกอบนะ) เราจะเห็นด้านต่างๆของวัตถุวางตัวเรียงเป็นระเบียบ โดยจะแสดงให้เห็นด้านบน ด้านหน้าและด้านข้างของวัตถุ ว่ามีรูปแบบอย่างไรบ้าง สำหรับการเริ่มต้นเขียนแบบที่เราเรียกว่าการเขียนภาพฉาย (Orthographic Projection)<br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.designlikeus.com/designmeth_view.php?select_desm_id=4\"><u><span style=\"color: #0000ff\">http://www.designlikeus.com/designmeth_view.php?select_desm_id=4</span></u></a>\n</p>\n<p>\n<br />\n     จากวัตถุที่เรามองในแต่ละด้าน จนมาแสดงเป็นภาพฉาย (orthographic projectionX) เราจะเห็นวัตถุจากภายนอกในแต่ละด้านเท่านั้น ส่วนภายในจะมีรูปแบบอย่างไร เราไม่สามารถจะมองเห็นได้ แต่ในงานเขียนแบบบางครั้งเราจำเป็นต้องแสดงแบบให้เห้นถึงภายในของชิ้นงาน นั้นๆ การเขียนแบบในอีกลักษณะหนึ่งที่เรียกว่าการเขียนภาพตัด (section) จึงถูกนำมาใช้ในงานเขียนแบบอยู่เสมอ ก่อนที่เราจะเข้าถึงขั้นตอนวิธีการเขียนแบบทั้งการเขียนภาพฉาย<br />\n <br />\n     เราก็จะได้รูปตัดในแต่ละด้านของกล่องใบนี้ ทีนี้เมื่อเราทำความรู้จักกับ ภาพฉาย (Orthographic Projection) เรามาเริ่มต้นเขียนแบบภาพฉาย\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/63486\">1</a>  <a href=\"/node/64282\">2</a>  <a href=\"/node/64283\">3</a>  4  5</strong>\n</p>\n', created = 1720386886, expire = 1720473286, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8f34cba8afbfe816b15f96bc57f1ffe8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มาเขียนภาพฉายกันน่ะ

รูปภาพของ sakluksika

การเขียนภาพฉาย (orthographic projection)
     ในงานช่างอุตสาหกรรมจะนำแบบงานไปเป็นแบบที่ใช้สำหรับสร้างชิ้นส่วนเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งจะต้องเป็นแบบที่เขียนได้ง่าย มีรายละเอียดของแบบงานครบถ้วนสมบูรณ์ชัดเจน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถนำไปปฏิบัติตามแบบได้อย่างถูกต้อง แบบงานที่นิยมจะเขียนเป็นแบบภาพฉาย เพราะสามารถแสดงรายละเอียดต่างๆ เช่น รูปร่าง ผิวงาน และกำหนดขนาดที่ชัดเจน แล้วยังสามารถอธิบายแบบให้ช่างเข้าใจได้ง่ายด้วย เพราะเป็นรูปแบบที่เข้าใจในระดับสากล
     ภาพฉาย เป็นภาพลายเส้นที่บอกขนาดสัดส่วนต่างๆ ที่อ่านค่าแล้วเอามาทำงานได้ ภาพฉายส่วนใหญ่จะเขียนหรืออ่านมาจากภาพไอโซเมตริกหรือภาพของจริง มองแต่ละด้านแล้วเขียนออกมาตามภาพที่มองเห็นนั้นๆ ในแต่ละด้านของชิ้นงานตามปกติชิ้นงานจะมีทั้งหมด 6 ด้าน เหมือนลูกเต๋า แต่ภาพในการทำงานจริงจะใช้เพียง 3 ด้าน เท่านั้น ในส่วนที่มองไม่เห็นจะเขียนแสดงด้วยเส้นประ
    เขียนภาพฉายของวัตถุ เริ่มจากกล่องที่กำหนดให้แต่ละด้านมีสีที่แตกต่างกันจะได้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ด้านของภาพที่ใช้งานจะเป็นด้านหน้า (Front View : B) ด้านข้าง (Side View : C) และ ด้านบน (Top View : A) เท่านั้น เรียกว่าภาพฉายแบบมุมที่1 ( First angle Projection)


ที่มาของภาพ : http://www.designlikeus.com/designmeth_view.php?select_desm_id=4

     การมองภาพฉาย เกิดจากดวงตามองไปยังวัตถุ ถ้าเอาจอไปรับภาพของวัตถุวางไว้ด้านหลัง แล้วใช้ไฟฉายส่องไปยังวัตถุ แสงของไฟฉายผ่านวัตถุ ทำให้เกิดภาพบนจอ ในลักษณะของการขยายภาพให้โตขึ้น ซึ่งไม่ใช่ขนาดของภาพจริง แต่ในทางการเขียนแบบต้องการขนาดภาพเท่ากับของจริง (วัตถุที่นำมามอง) ดังนั้นจึงต้องปรับเส้นในการฉายภาพให้เป็นภาพขนาน เพื่อจะให้ได้ขนาดตามความเป็นจริง โดยกำหนดให้เส้นการมองอยู่ในแนวระนาบพุ่งตรงจากวัตถุไปยังจอภาพ ภาพที่ปรากฏบนจอจะมีขนาดเท่ากับวัตถุนั้นๆ  การฉายภาพในลักษณะเช่นนี้ จัดเป็นการฉายภาพในมุมที่หนึ่งของหลักการมองภาพฉาย วัตถุจะอยู่หน้าจอรับภาพ ด้านที่นิยมได้แก่ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนที่ใช้ในการเขียนภาพฉาย ซึ่งช่วยให้อ่านภาพได้ง่ายขึ้น


ทีนี้ก็จินตนาการต่อว่า ถ้าเราไปยืนมองแต่ละด้าน สิ่งที่เราเห็นจะเป็นอย่างไรมาดูกัน
ถ้าสังเกตุให้ดีจะเห็นว่า แนวของวัตถุจะตรงกันพอดี (ร่างเส้นเป็นแนวไว้ให้ดู) หลังจากนั้น เรามาลองคลี่กระดาษออกให้เป็นระนาบเดียวกันดูนะ (ดูภาพด้านล่างประกอบนะ) เราจะเห็นด้านต่างๆของวัตถุวางตัวเรียงเป็นระเบียบ โดยจะแสดงให้เห็นด้านบน ด้านหน้าและด้านข้างของวัตถุ ว่ามีรูปแบบอย่างไรบ้าง สำหรับการเริ่มต้นเขียนแบบที่เราเรียกว่าการเขียนภาพฉาย (Orthographic Projection)
 

ที่มาของภาพ : http://www.designlikeus.com/designmeth_view.php?select_desm_id=4


     จากวัตถุที่เรามองในแต่ละด้าน จนมาแสดงเป็นภาพฉาย (orthographic projectionX) เราจะเห็นวัตถุจากภายนอกในแต่ละด้านเท่านั้น ส่วนภายในจะมีรูปแบบอย่างไร เราไม่สามารถจะมองเห็นได้ แต่ในงานเขียนแบบบางครั้งเราจำเป็นต้องแสดงแบบให้เห้นถึงภายในของชิ้นงาน นั้นๆ การเขียนแบบในอีกลักษณะหนึ่งที่เรียกว่าการเขียนภาพตัด (section) จึงถูกนำมาใช้ในงานเขียนแบบอยู่เสมอ ก่อนที่เราจะเข้าถึงขั้นตอนวิธีการเขียนแบบทั้งการเขียนภาพฉาย
 
     เราก็จะได้รูปตัดในแต่ละด้านของกล่องใบนี้ ทีนี้เมื่อเราทำความรู้จักกับ ภาพฉาย (Orthographic Projection) เรามาเริ่มต้นเขียนแบบภาพฉาย

1  2  3  4  5

สร้างโดย: 
ครูลักษิกา มีกุศล โรงเรียนสาคลีวิทยา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 400 คน กำลังออนไลน์