• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4e10b5da03ea826228db37236bdbe930' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff; font-family: MS Sans Serif\"></span> <img border=\"0\" width=\"114\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/earring/625.gif\" height=\"236\" /> <span style=\"color: #ff00ff\">ภาษาปาสคาลเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงที่พัฒนาขึ้นโดย Niklaus Wirth และได้ตั้งชื่อว่าปาสคาล (Pascal) เพื่อให้เกียรติแก่นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ภาษาปาสคาล พัฒนามาจากภาษา Algol โดยพัฒนาให้เป็นภาษาสำหรับฝึกหัดเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาปาสคาลจะมีลักษณะเป็นภาษาคอมพิวเตอร์แบบประมวลความหรือคอมไพเลอร์ (Compiler) เมื่อเทียบกับภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงอื่น ๆ จะพบว่าภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่มีการวางระบบและจัดรูปแบบที่มีโครงสร้างแน่นอนตายตัว จึงทำให้ภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (Structured Program) มากกว่าภาษาอื่น ๆ ที่ใช้กันอยู่จึงทำให้ได้รับความนิยมและนำมาประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">1.1 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล<br />\nโปรแกรมในภาษาปาสคาล แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ<br />\n1. ส่วนหัว (Heading) เป็นการประกาศชื่อของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย ;<br />\nรูปแบบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">PROGRAM ชื่อโปรแกรม (รายชื่ออุปกรณ์);</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง<br />\nPROGRAM EXAM1;<br />\nPROGRAM EXAM1(INPUT,OUTPUT);</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ข้อสังเกต ชื่ออุปกรณ์ คือ INPUT, OUTPUT หรือชื่อของไฟล์ที่เกี่ยวข้องภายในโปรแกรมถ้าไม่ระบุจะถือว่า INPUT เข้าทาง keyboard และ OUTPUT ออกทางจอภาพ<br />\n2. ส่วนข้อกำหนด (Declaration part) คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ ดังนี้<br />\n2.1 VAR เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลให้แก่ตัวแปร<br />\nรูปแบบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">VAR รายชื่อตัวแปร : ประเภทของข้อมูล;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">VAR I,J,K : INTEGER;<br />\nNAME : STRING;<br />\nSALARY : REAL;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">2.2 TYPE เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลขึ้นใหม่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">รูปแบบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">TYPE ชื่อของแบบ = ประเภทหรือค่าของข้อมูล;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">TYPE SCORE = INTEGER;<br />\nWEEK = (MON, TUE, WED, THU, FRI);<br />\nVAR TEST, MIDTERM, FINAL : SCORE;<br />\nDAY : WEEK;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">จากตัวอย่างต้องประกาศชื่อแบบของตัวแปรก่อนแล้วจึงประกาศชื่อตัวแปรที่เป็นแบบ<br />\n2.3 CONST เป็นการกำหนดค่าคงที่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">รูปแบบที่ 1</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">CONST รายชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กำหนด;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">รูปแบบที่ 2</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">CONST รายชื่อค่าคงที่ : ประเภทของข้อมูล = ค่าที่กำหนด;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">CONST HEAD = ‘EXAMINATION’;<br />\nCONST A = 15;<br />\nCONST SALARY : REAL = 8000.00;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">2.4 LABEL ใช้คู่กับคำสั่ง GOTO ภายในโปรแกรม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">รูปแบบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">LABEL รายชื่อของ LABEL;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">LABEL 256,XXX;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">เช่น GOTO 256; GOTO XXX;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">3. ส่วนคำสั่งต่าง ๆ (Statement Part) เป็นส่วนสุดท้ายของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วย “BEGIN” และปิดท้ายด้วย “END.”</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">BEGIN<br />\nStatement หรือคำสั่งต่าง ๆ ;<br />\nEND.</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">1.2 ชื่อ (Identifier)<br />\nชื่อ คือคำที่ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดใช้เป็นชื่อของโปรแกรม โปรแกรมย่อย ตัวแปร แบบของตัวแปร และค่าคงที่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">การตั้งชื่อ<br />\n1. ตัวอักขระ (character) ที่นำมาใช้ คือ ตัวอักษร ตัวเลข และ (_) Underline<br />\n2. จะนำเครื่องหมายใด ๆ มาใช้เป็นชื่อไม่ได้<br />\n3. ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือขีดล่าง<br />\n4. ความยาวของชื่อไม่เกิน 30 ตัว แต่จะมีความหมายเพียง 8 ตัวแรกเท่านั้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">1.3 คำ (Word)<br />\nคำในภาษาปาสคาล แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ<br />\n1. พวกที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ได้แก่ แบบของข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่<br />\n2. พวกที่เกี่ยวกับคำสั่ง ได้แก่ คำสงวน (Reserved word) คำมาตรฐาน (Standard word) คำใหม่ (User defined word)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">1.4 ข้อมูล (Data)<br />\nภาษาปาสคาล แบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 4 แบบ คือ แบบมาตรฐาน แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนด แบบโครงสร้าง และแบบพอยน์เตอร์<br />\nแบบมาตรฐาน เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในโปรแกรมทั่ว ๆ ไป เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นลำดับที่มีค่ามากน้อยตามลำดับ แบ่งเป็น 5 ประเภท<br />\n1. Integer เป็นข้อมูลเลขจำนวนเต็ม<br />\n2. Real เป็นข้อมูลเลขจำนวนจริงมีทศนิยม<br />\n3. Character เป็นข้อมูลตัวอักษร<br />\n4. String เป็นข้อมูลของชุดตัวอักษร เช่น String [30] เป็นการะบุค่าของสตริงว่ามีขนาด 30 ตัวอักษร<br />\n5. Boolean เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นไปได้ 2 ค่า คือ เป็นจริง (true), เป็นเท็จ (false) ตัวดำเนินการ (operators) ที่ใช้ในภาษาปาสคาล ได้แก่<br />\nNOT ให้กลับค่าทางคณิตศาสตร์ของ Boolean เช่น Not true เป็น false<br />\n* ให้คูณเลขทางซ้ายกับเลขทางขวา<br />\n/ ให้หารโดยเลขทางซ้ายเป็นตัวตั้ง เลขทางขวาเป็นตัวหาร<br />\nDIV ให้หารแบบตัดเศษทิ้ง ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่<br />\nMOD ให้หาเศษของการหาร ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่<br />\nAND ให้ความเป็นจริง เมื่อทั้ง 2 กรณีเป็นจริงทั้งคู่<br />\nOR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริง เช่น (X MOD Y = 0) 0R (x-y = 0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็นศูนย์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่าง<br />\nXOR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริงเท่านั้น เช่น (X MOD Y Y= 0) XOR(X-Y=0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็น 0 อย่างใดอย่างหนึ่งแต่ไม่ใช่ทั้ง 2 อย่างพร้อมกัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">     แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้น ภาษาปาสคาลอนุญาตให้ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดรูปแบบของข้อมูลขึ้นมาใช้งานเฉพาะภายในโปรแกรมได้เอง โดยการประกาศไว้ในคำสั่ง VAR หรือ TYPE แบ่งเป็น 2 แบบ<br />\n1. กำหนดแบบใหม่ เป็นการกำหนดรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อใช้เฉพาะโปรแกรมนั้น ๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">TYPE color = (yellow,blue,red);<br />\nVAR dd = color;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ดังนั้น dd เป็นตัวแปรที่มีค่า 3 ค่า คือ yellow, blue, red</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">2. กำหนดช่วงของค่าข้อมูล เป็นการกำหนดช่วงของค่าของข้อมูลเฉพาะตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งที่ใช้ภายในโปรแกรม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่าง<br />\nTYPE NUM = 0..50;<br />\nVAR X : NUM;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ดังนั้น X จะเป็นตัวแปรที่มีค่าในช่วง 0 ถึง 50<br />\n     แบบโครงสร้าง เป็นการนำเอาข้อมูลแบบมาตรฐานหรือข้อมูลที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้นมาจัดให้มีระบบ มีโครงสร้างเพื่อใช้งานโดยเฉพาะ การจัดข้อมูลโครงสร้าง แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ ข้อมูล Array, set, record และ file<br />\n     แบบพอยน์เตอร์ เป็นข้อมูลที่เป็นดัชนีสำหรับระบุข้อมูลอื่น ๆ อีกครั้งหนึ่ง ข้อมูลแบบนี้จะซับซ้อน ค่าของข้อมูลแบบพอยน์เตอร์จะไม่เป็นตัวเลข, ตัวอักษร แต่จะมีค่าเป็น address ในหน่วยความจำ RAM ที่ข้อมูลถูกเก็บอยู่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><img border=\"0\" width=\"76\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/earring/175.gif\" height=\"151\" />ข้อผิดพลาด 25 ข้อที่ควรหลีกเลี่ยงในการทำเว็บไซต์<img border=\"0\" width=\"76\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/earring/175.gif\" height=\"151\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">1. เว็บไซต์ของคุณแสดงผลได้ช้ามากๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    พูดง่ายๆก็คือเว็บของคุณโหลดได้ช้ามาก ผู้ใช้งานต้องเสียเวลาในการรอให้เว็บไซต์ของคุณแสดงผลนานมาก แน่นอนว่าเวลาในการแสดงผลของเว็บไซต์มีหลายปัจจัย เช่น ความสามารถของ web server , ความเร็วของอินเตอร์เนตของผู้ใช้งาน แต่ปัจจัยต่างๆนั้นเป็นแค่ปลายเหตุเท่านั้น ต้นเหตุที่เราสามารถควบคุมได้อยู่ที่ขนาดของเว็บเพจ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ขนาดของเว็บเพจนั้นไม่ควรเกิน 60 KB ขนาดของเว็บเพจที่เพิ่มขึ้นมีเหตุมาจาก รูปภาพที่คุณใช้มีขนาดใหญ่เกินไป , การเปิดเพลงประกอบในเว็บไซต์ของคุณ (ทำให้ผู้ชมต้องเสียเวลาในการดาวน์โหลดเพลง แน่นอนว่าไฟล์เพลงเป็นไฟล์ที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 KB อยู่แล้ว) , การใช้ไฟล์ flash ที่มีขนาดใหญ่เกินไป ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">2.ไม่มีเนวิเกชัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    เนวิเกชัน คือ ส่วนที่ใช้ลิงค์ไปยังหน้าต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่นเมนูทางซ้ายมือของ hellomyweb.com จะเห็นว่ามีลิงค์ไปยังส่วนต่างๆของเว็บไซต์ เช่น ลองทำเว็บไซต์ แบบง่ายๆ , พื้นฐานเกี่ยวกับเว็บไซต์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    เว็บไซต์ที่ดีควรมีเนวิเกชันในทุกหน้า เพราะในปัจจุบันเราทราบดีอยู่แล้วว่ากว่า 80% ของผู้ใช้งานรู้จักเว็บไซต์ของเราจาก search engine ซึ่งแน่นอนว่าเราไม่สามารถกำหนดได้ว่าให้ search engine แสดงหน้าใดให้ผู้ใช้งานดู ถ้า search engine แสดงผลในหน้าที่ไม่มีเนวิเกชัน อาจทำให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้ว่าเว็บไซต์ของคุณมีแค่หน้าที่แสดงผลเพียงหน้าเดียว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การแสดงผลเนวิเกชันควรแสดงผลในตำแหน่งเดียวกัน เพราะถ้าเราเปลี่ยนตำแหน่งอาจทำให้ผู้ใช้งานสับสนได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">3. การใช้สีสันที่แสบตา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    หลายคนคงเคยเห็นเว็บไซต์ที่ใช้สีพื้นหลังเป็นสีโทนสว่างมากๆเช่น สีส้ม สีเหลือง แล้วใช้ตัวอักษรในโทนสว่างอีกเช่นเดียวกันเช่น สีฟ้า ทำให้การอ่านเนื้อหาในเว็บเพจทำได้ยากมากๆ ถึงแม้จะทำให้เว็บไซต์ดูสวยงาม ก็ควรหลีกเลี่ยง การใช้พื้นหลังโทนมืด และตัวหนังสือโทนสว่าง เป็นตัวเลือกที่ดีในการทำเว็บไซต์ หรือพื้นหลังสีขาว ตัวหนังสือสีดำก็เป็นสิ่งที่นิยมใช้กันมาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">4. การสะกดคำผิด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การสะกดคำผิดพลาด การเขียนผิด หรือการใช้ภาษาวิบัติ ก็ไม่ควรให้มีในเว็บไซต์ เพราะจะส่งผลให้เข้าใจผิดพลาดได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">5. เนื้อหาในเว็บเพจ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ผู้ใช้งานเว็บไซต์ส่วนใหญ่ไม่เคยอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์อย่างจริงจัง หรือตั้งใจอ่านอย่างที่เราต้องการ ดังนั้นเราจึงควรทำให้เนื้อหาของเราอ่านได้ง่ายขึ้น เช่น ใช้การเว้นวรรค การใส่ย่อหน้า และการเขียนให้กระชับที่สุด เน้นส่วนของข้อความที่เราต้องการสื่อให้มากที่สุด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">6. ขนาดของตัวอักษร และชนิดของตัวอักษร font</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ในบางครั้งการแสดงตัวอักษรที่เล็กเกินไป หรือใหญ่เกินไป ขึ้นอยู่กับการตั้งค่าของ browser ของผู้ใช้ ก็เป็นอุปสรรคในการอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์ <br />\nข้อแนะนำคือเราควรใช้ CSS ในการควบคุมการแสดงผลตัวอักษรให้เป็นไปในทางเดียวกัน จะทำให้เว็บไซต์ของเราดูดี และอ่านได้ง่ายขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">7. การเว้นวรรค , การเว้นบรรทัด และการจัดช่องไฟของตัวอักษร</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    เราสามารถใช้คำสั่ง CSS ในการจัดช่องไฟของตัวอักษรได้ การจัดช่องไฟให้ตัวอักษร การเว้นวรรคที่ดี และการเว้นบรรทัดของเนื้อหาที่ดี ก็ทำให้เว็บไซต์ของเราดูดีขึ้นได้มากทีเดียว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">8. การใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ โดยที่ผู้ใช้งานไม่สามารถปิดมันได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ถ้าคุณมีความจำเป็นที่จะต้องใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ของคุณ อาจเพื่อจูงใจลูกค้า คุณต้องแน่ใจว่าได้ทำปุ่มสำหรับปิดเพลงนั้นไว้ โดยที่ผู้ใช้งานสามารถปิดมันได้โดยง่าย และเห็นมันอย่างชัดเจน มิฉนั้นเพลงที่คุณใส่ไปอาจส่งผลทำให้ผู้ใช้งานเกิดความรู้สึกหงุดหงิดได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">9.การทำเว็บไซต์โดยไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามาก่อน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    องค์ประกอบของหน้ามีความสำคัญมาก ถ้าคุณไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามาก่อนจะทำให้เกิดปัญหาตามมามากมาย เช่น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การใส่เนื้อหาในหน้ามากเกินไป คุณอาจเห็นหลายเว็บไซต์ที่ใช้พื้นที่ของหน้าแทบจะทุกจุดของเว็บเพจก็ว่าได้ อย่างที่เคยบอกไปว่าผู้ใช้งานไม่เคยตั้งใจอ่านเนื้อหาอย่างจริงจัง การใส่เนื้อหาที่มากไปจะทำให้คุณไม่สามารถสื่ออะไร หรือบอกอะไรได้เลย ดังนั้นจึงควรใส่เนื้อหาที่คุณอยากจะสื่อ และแบ่งสัดส่วนต่างๆให้เป็นกลุ่มเป็นก้อนเห็นได้ชัดเจน รูปแบบเว็บไซต์ในแต่ละหน้าก็มีความสำคัญมาก คุณไม่ควรเปลี่ยนรูปแบบของเว็บไซต์ในแต่ละหน้าให้แตกต่างกันมากเกินไป เพราะจะทำให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">10. การทำหน้าเว็บเพจที่ยาวเกินไป</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    เนื้อหาที่ยาวจนเกินไปไม่ส่งผลดีต่อเว็บไซต์แน่นอน เพราะนอกจากจะทำให้การแสดงผลเว็บเพจนั้นช้าแล้ว ยังส่งผลผู้ใช้งานรู้สึกเบื่อด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ดังนั้นเราจึงควรแบ่งเนื้อหาเป็นตอนๆ และให้ผู้ใช้งานโหลดทีละตอนจะดีกว่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">11.การทำลิงค์ที่ผิดพลาด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ลิงค์เป็นส่วนที่สำคัญมากของเว็บไซต์ เพราะจะเป็นส่วนที่นำเราไปยังส่วนอื่นๆของเว็บไซต์ เราจึงควรทำให้ส่วนที่เป็นลิงค์มีความชัดเจนในตัวเอง และถ้าไม่จำเป็นไม่ควรเปลี่ยนสีของลิงค์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">12. ขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    คำนี้ไม่ควรให้มีในเว็บเพจของคุณเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้ใช้งานผิดหวังที่จะต้องรอหน้าที่อยู่ระหว่างการปรับปรุงแล้ว ยังทำให้รู้สึกว่าเว็บไซต์ของคุณยังไม่สมบรูณ์ ยังไมได้มาตราฐาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">13. ไม่ตรวจสอบเว็บไซต์ก่อน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การตรวจสอบเว็บไซต์เป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพราะการแสดงผลใน browser กับการแสดงผลตอนที่เราเขียนเว็บเพจอาจไม่เหมือนกันก็ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ดังนั้นเราจึงควรตรวจสอบเว็บเพจทุกหน้า ถ้าจะให้ดีควรใช้หลายๆ browser ในการตรวจสอบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">14. เนวิเกชันที่ไม่สื่อความหมาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การใช้เนวิเกชันที่ไม่สือความหมาย เมื่อคลิกแล้วไม่สามารถเปิดหน้าที่ลิงค์ไว้ได้ มีข้อผิดพลาด (error) ในเนวิเกชัน และมีหลายปุ่มให้เลือกมากเกินไป จะส่งผลต่อผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก เนวิเกชันที่ดีควรมีการแบ่งหมวดหมู่ที่ดี ไม่ซับซ้อนจนเกินไป และควรครอบคลุมส่วนต่างๆของเว็บไซต์ หรือหน้าเว็บไซต์ใหญ่มาก ก็ควรครอบคลุมในหมวดนั้นๆ การใช้คำก็เป็นเรื่องสำคัญ ควรใช้คำที่สื่อความหมายชัดเจนไม่คลุมเครือ หรือเป็นคำที่เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มไม่ควรใช้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">15. ทำเว็บไซต์อย่างลวกๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การทำเว็บไซต์อย่างลวกๆ เช่น คัดลอกเนื้อหาจากเว็บไซต์อื่นมา แล้วมีการตกหล่น หรือไม่มีภาพแสดงเหมือนเว็บไซต์ต้นฉบับ การพิมพ์ผิด หรือการเขียนข้อความที่ไม่สื่อความหมาย การใช้ภาษาวิบัติ เนื้อหาของเว็บไซต์คือทุกอย่างของเว็บไซต์ เราจึงควรให้ความสำคัญกับเนื้อหาให้มากๆ อย่าให้เกิดข้อผิดพลาด หรือผิดพลาดให้น้อยที่สุด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">16.ไม่เคยอัพเดทเว็บไซต์เลย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การอัพเดทเว็บไซต์เป็นประจำก็ทำให้ผู้ใช้งานเกิดความมั่นใจ ว่าเว็บไซต์ของเรายังมีผู้ดูแลอยู่ และเนื้อหายังได้รับการปรับปรุงอยู่ นอกจากนี้ยังส่งผลต่ออันดับใน search engine อีกด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">17. จำนวนคลิกเพื่อเข้าถึงข้อมูลมากเกินไป</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    หลายๆเว็บไซต์จะเก็บเนื้อหาในส่วนที่คิดว่าดีเอาไว้ โดยผู้ใช้งานจะต้องผ่านการคลิกนับครั้งไม่ถ้วน ผ่านโฆษณามากมายกว่าจะมาถึงเนื้อหาที่สนใจได้ นับว่าเป็นสิ่งที่ผิดพลาดอย่างมาก อย่าที่บอกไปว่าเว็บของเราห่างจากเว็บอื่นเพียงคลิกเดียว ถ้าเราทำให้เกิดความลำบากยากเย็นในการเข้าถึงเนื้อหา หรือส่วนที่ผู้ใช้งานสนใจ ก็ทำให้ผู้ใช้งานท้อ หรือล้มเลิกความตั้งใจที่จะใช้งานต่อไปได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    จำนวนคลิกที่มากที่สุดที่คุณควรทำคือ ไม่เกิน 3 คลิก ที่จะทำให้ผู้ใช้งานเข้าถึงส่วนที่เค้าสนใจ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">18. สร้างความมั่นใจในส่วนของความปลอดภัยแก่ผู้ใช้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ถ้าเว็บไซต์ของคุณเป็นเว็บไซต์ขายของ หรือทำธุระกิจต่างๆ ก็ควรสร้างความมั่นใจให้ลูกค้าว่าพวกเค้าจะไม่โดนหลอก เช่น การจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ หรือไม่เปิดเผยข้อมูลต่างๆของลูกค้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">19. ไม่มีที่อยู่ หรือที่ติดต่อกลับ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    เว็บไซต์ทางธุระกิจจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีส่วนของ ติดต่อเรา , contact information , ที่อยู่บริษัท , เบอร์โทรศัพท์ , email สิ่งพวกนี้เป็นสิ่งจำเป็นทั้งสิ้นที่จะต้องมีในเว็บ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">20. การใช้ Free web hosting</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ถ้าคุณเป็นเว็บเกี่ยวกับธุระกิจแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่คุณจะต้องมีชื่อ domain name เป็นของตัวเอง และจะต้องมี web hosting เป็นของตัวเองไม่ว่าจะเช่า หรือจะซื้อมาเอง เราะจะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของลูกค้าของคุณเป็นอย่างยิ่ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">21. การใช้ Free E-mail addresses</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ในปัจจุบันมี free email มากมายเช่น hotmail , gmail แต่พวกนี้เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง ควรใช้ email ที่เป็นของคุณเอง มาจาก domain name ของคุณ เรื่องนี้เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งกับความน่าเชื่อถือของ email ของคุณที่ส่งไปยังลูกค้า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">22. โฆษณาที่มีมากจนเกินไป</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    โฆษณาเป็นรายได้หลักของเว็บไซต์บางประเภท แต่การที่เราใส่โฆษณามากเกินไปจะส่งผลต่อเนื้อหาของเว็บไซต์ของคุณ เพราะจะทำให้ผู้ใช้สับสนระหว่าง เนื้อหาที่แท้จริงกับโฆษณาที่แทรกอยู่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">23. รูปภาพ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    รูปภาพก็เป็นส่วนสำคัญของเว็บไซต์เราจึงควรดูและส่วนนี้ให้ดี ไม่ควรให้เกิดการผิดพลาดในการแสดงรูปภาพ และควรบีบอัดไฟล์รูปให้ถูกต้องกับรูปแบบ อ่านเรื่องนี้ได้ที่นี่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">24. เว็บไซต์นี้แสดงผลได้ดีที่สุดในขนาด 1024 x 768</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การกำหนดขนาดที่ใช้ในการแสดงผล หรือ browser ที่ใช้แสดงผลเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำเป็นอย่างยิ่ง เพราะปัจจุบันเรามีหน้าจอหลายรูปหลายขนาดมากมาย ตั้งแต่ 14 นิ้ว จนถึง 20 กว่านิ้ว ทั้งแบบ wide screen และแบบทั่วไป การกำหนดขนาดแสดงผลจึงไม่ควรทำ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    เราควรทำให้เว็บไซต์ของเราแสดงผลได้ถูกต้องทุกๆ แบบของหน้าจอ ทุกๆขนาด ในปัจจุบันไม่ใช่เรื่องยากเพราะเรามี CSS เข้ามาช่วยในเรื่องนี้ได้มากทีเดียว โดยเฉพาะเรื่องของ CSS layout </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">25. ไม่ใส่ราคา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    การไม่ใส่ราคาในเว็บไซต์ขายของ หรือแนะนำสินค้า อาจเป็นกลยุทธ์ของผู้ขาย แต่สิ่งนี้ใช้ไม่ได้ในโลกของอินเทอร์เนตอย่างแน่นอน เพราะถ้าเว็บไซต์ของคุณไม่บอกก็ต้องมีเว็บไซต์อื่นที่สามารถบอกราคาได้ และลูกค้าที่เคยจะเป็นของคุณก็จะเป็นของคนอื่นแทน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">    ดังนั้นเราจึงควรใส่รายละเอียดต่างๆของสินค้าให้ครบถ้วน ถูกต้องตามข้อมูลที่เรามีทั้งหมด <br />\n                                                                             <img border=\"0\" width=\"140\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/earring/157.gif\" height=\"340\" /></span>\n</p>\n<table border=\"0\" align=\"center\" width=\"477\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" height=\"3580\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"3580\" width=\"795\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">\n<table border=\"0\" align=\"center\" width=\"477\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" height=\"3580\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"3580\" width=\"795\"><span style=\"font-size: x-small; color: #3366ff; font-family: MS Sans Serif\">  </span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> <span style=\"color: #3366ff\"> </span></p></span><span style=\"font-size: x-small; color: #3366ff; font-family: MS Sans Serif\">  </span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1718120852, expire = 1718207252, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4e10b5da03ea826228db37236bdbe930' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานครั้งที่1

รูปภาพของ vku11318

  ภาษาปาสคาลเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงที่พัฒนาขึ้นโดย Niklaus Wirth และได้ตั้งชื่อว่าปาสคาล (Pascal) เพื่อให้เกียรติแก่นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ภาษาปาสคาล พัฒนามาจากภาษา Algol โดยพัฒนาให้เป็นภาษาสำหรับฝึกหัดเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาปาสคาลจะมีลักษณะเป็นภาษาคอมพิวเตอร์แบบประมวลความหรือคอมไพเลอร์ (Compiler) เมื่อเทียบกับภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงอื่น ๆ จะพบว่าภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่มีการวางระบบและจัดรูปแบบที่มีโครงสร้างแน่นอนตายตัว จึงทำให้ภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (Structured Program) มากกว่าภาษาอื่น ๆ ที่ใช้กันอยู่จึงทำให้ได้รับความนิยมและนำมาประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย


1.1 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล
โปรแกรมในภาษาปาสคาล แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
1. ส่วนหัว (Heading) เป็นการประกาศชื่อของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย ;
รูปแบบ

PROGRAM ชื่อโปรแกรม (รายชื่ออุปกรณ์);

ตัวอย่าง
PROGRAM EXAM1;
PROGRAM EXAM1(INPUT,OUTPUT);

ข้อสังเกต ชื่ออุปกรณ์ คือ INPUT, OUTPUT หรือชื่อของไฟล์ที่เกี่ยวข้องภายในโปรแกรมถ้าไม่ระบุจะถือว่า INPUT เข้าทาง keyboard และ OUTPUT ออกทางจอภาพ
2. ส่วนข้อกำหนด (Declaration part) คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ ดังนี้
2.1 VAR เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลให้แก่ตัวแปร
รูปแบบ

VAR รายชื่อตัวแปร : ประเภทของข้อมูล;

ตัวอย่าง

VAR I,J,K : INTEGER;
NAME : STRING;
SALARY : REAL;

2.2 TYPE เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลขึ้นใหม่

รูปแบบ

TYPE ชื่อของแบบ = ประเภทหรือค่าของข้อมูล;

ตัวอย่าง

TYPE SCORE = INTEGER;
WEEK = (MON, TUE, WED, THU, FRI);
VAR TEST, MIDTERM, FINAL : SCORE;
DAY : WEEK;

จากตัวอย่างต้องประกาศชื่อแบบของตัวแปรก่อนแล้วจึงประกาศชื่อตัวแปรที่เป็นแบบ
2.3 CONST เป็นการกำหนดค่าคงที่

รูปแบบที่ 1

CONST รายชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กำหนด;

รูปแบบที่ 2

CONST รายชื่อค่าคงที่ : ประเภทของข้อมูล = ค่าที่กำหนด;

ตัวอย่าง

CONST HEAD = ‘EXAMINATION’;
CONST A = 15;
CONST SALARY : REAL = 8000.00;

2.4 LABEL ใช้คู่กับคำสั่ง GOTO ภายในโปรแกรม

รูปแบบ

LABEL รายชื่อของ LABEL;

ตัวอย่าง

LABEL 256,XXX;

เช่น GOTO 256; GOTO XXX;

3. ส่วนคำสั่งต่าง ๆ (Statement Part) เป็นส่วนสุดท้ายของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วย “BEGIN” และปิดท้ายด้วย “END.”

ตัวอย่าง

BEGIN
Statement หรือคำสั่งต่าง ๆ ;
END.

1.2 ชื่อ (Identifier)
ชื่อ คือคำที่ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดใช้เป็นชื่อของโปรแกรม โปรแกรมย่อย ตัวแปร แบบของตัวแปร และค่าคงที่

การตั้งชื่อ
1. ตัวอักขระ (character) ที่นำมาใช้ คือ ตัวอักษร ตัวเลข และ (_) Underline
2. จะนำเครื่องหมายใด ๆ มาใช้เป็นชื่อไม่ได้
3. ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือขีดล่าง
4. ความยาวของชื่อไม่เกิน 30 ตัว แต่จะมีความหมายเพียง 8 ตัวแรกเท่านั้น

1.3 คำ (Word)
คำในภาษาปาสคาล แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ
1. พวกที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ได้แก่ แบบของข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่
2. พวกที่เกี่ยวกับคำสั่ง ได้แก่ คำสงวน (Reserved word) คำมาตรฐาน (Standard word) คำใหม่ (User defined word)

1.4 ข้อมูล (Data)
ภาษาปาสคาล แบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 4 แบบ คือ แบบมาตรฐาน แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนด แบบโครงสร้าง และแบบพอยน์เตอร์
แบบมาตรฐาน เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในโปรแกรมทั่ว ๆ ไป เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นลำดับที่มีค่ามากน้อยตามลำดับ แบ่งเป็น 5 ประเภท
1. Integer เป็นข้อมูลเลขจำนวนเต็ม
2. Real เป็นข้อมูลเลขจำนวนจริงมีทศนิยม
3. Character เป็นข้อมูลตัวอักษร
4. String เป็นข้อมูลของชุดตัวอักษร เช่น String [30] เป็นการะบุค่าของสตริงว่ามีขนาด 30 ตัวอักษร
5. Boolean เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นไปได้ 2 ค่า คือ เป็นจริง (true), เป็นเท็จ (false) ตัวดำเนินการ (operators) ที่ใช้ในภาษาปาสคาล ได้แก่
NOT ให้กลับค่าทางคณิตศาสตร์ของ Boolean เช่น Not true เป็น false
* ให้คูณเลขทางซ้ายกับเลขทางขวา
/ ให้หารโดยเลขทางซ้ายเป็นตัวตั้ง เลขทางขวาเป็นตัวหาร
DIV ให้หารแบบตัดเศษทิ้ง ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่
MOD ให้หาเศษของการหาร ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่
AND ให้ความเป็นจริง เมื่อทั้ง 2 กรณีเป็นจริงทั้งคู่
OR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริง เช่น (X MOD Y = 0) 0R (x-y = 0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็นศูนย์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่าง
XOR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริงเท่านั้น เช่น (X MOD Y Y= 0) XOR(X-Y=0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็น 0 อย่างใดอย่างหนึ่งแต่ไม่ใช่ทั้ง 2 อย่างพร้อมกัน

     แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้น ภาษาปาสคาลอนุญาตให้ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดรูปแบบของข้อมูลขึ้นมาใช้งานเฉพาะภายในโปรแกรมได้เอง โดยการประกาศไว้ในคำสั่ง VAR หรือ TYPE แบ่งเป็น 2 แบบ
1. กำหนดแบบใหม่ เป็นการกำหนดรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อใช้เฉพาะโปรแกรมนั้น ๆ

ตัวอย่าง

TYPE color = (yellow,blue,red);
VAR dd = color;

ดังนั้น dd เป็นตัวแปรที่มีค่า 3 ค่า คือ yellow, blue, red

2. กำหนดช่วงของค่าข้อมูล เป็นการกำหนดช่วงของค่าของข้อมูลเฉพาะตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งที่ใช้ภายในโปรแกรม

ตัวอย่าง
TYPE NUM = 0..50;
VAR X : NUM;

ดังนั้น X จะเป็นตัวแปรที่มีค่าในช่วง 0 ถึง 50
     แบบโครงสร้าง เป็นการนำเอาข้อมูลแบบมาตรฐานหรือข้อมูลที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้นมาจัดให้มีระบบ มีโครงสร้างเพื่อใช้งานโดยเฉพาะ การจัดข้อมูลโครงสร้าง แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ ข้อมูล Array, set, record และ file
     แบบพอยน์เตอร์ เป็นข้อมูลที่เป็นดัชนีสำหรับระบุข้อมูลอื่น ๆ อีกครั้งหนึ่ง ข้อมูลแบบนี้จะซับซ้อน ค่าของข้อมูลแบบพอยน์เตอร์จะไม่เป็นตัวเลข, ตัวอักษร แต่จะมีค่าเป็น address ในหน่วยความจำ RAM ที่ข้อมูลถูกเก็บอยู่

ข้อผิดพลาด 25 ข้อที่ควรหลีกเลี่ยงในการทำเว็บไซต์

1. เว็บไซต์ของคุณแสดงผลได้ช้ามากๆ

    พูดง่ายๆก็คือเว็บของคุณโหลดได้ช้ามาก ผู้ใช้งานต้องเสียเวลาในการรอให้เว็บไซต์ของคุณแสดงผลนานมาก แน่นอนว่าเวลาในการแสดงผลของเว็บไซต์มีหลายปัจจัย เช่น ความสามารถของ web server , ความเร็วของอินเตอร์เนตของผู้ใช้งาน แต่ปัจจัยต่างๆนั้นเป็นแค่ปลายเหตุเท่านั้น ต้นเหตุที่เราสามารถควบคุมได้อยู่ที่ขนาดของเว็บเพจ

    ขนาดของเว็บเพจนั้นไม่ควรเกิน 60 KB ขนาดของเว็บเพจที่เพิ่มขึ้นมีเหตุมาจาก รูปภาพที่คุณใช้มีขนาดใหญ่เกินไป , การเปิดเพลงประกอบในเว็บไซต์ของคุณ (ทำให้ผู้ชมต้องเสียเวลาในการดาวน์โหลดเพลง แน่นอนว่าไฟล์เพลงเป็นไฟล์ที่มีขนาดใหญ่กว่า 60 KB อยู่แล้ว) , การใช้ไฟล์ flash ที่มีขนาดใหญ่เกินไป ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง

2.ไม่มีเนวิเกชัน

    เนวิเกชัน คือ ส่วนที่ใช้ลิงค์ไปยังหน้าต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่นเมนูทางซ้ายมือของ hellomyweb.com จะเห็นว่ามีลิงค์ไปยังส่วนต่างๆของเว็บไซต์ เช่น ลองทำเว็บไซต์ แบบง่ายๆ , พื้นฐานเกี่ยวกับเว็บไซต์

    เว็บไซต์ที่ดีควรมีเนวิเกชันในทุกหน้า เพราะในปัจจุบันเราทราบดีอยู่แล้วว่ากว่า 80% ของผู้ใช้งานรู้จักเว็บไซต์ของเราจาก search engine ซึ่งแน่นอนว่าเราไม่สามารถกำหนดได้ว่าให้ search engine แสดงหน้าใดให้ผู้ใช้งานดู ถ้า search engine แสดงผลในหน้าที่ไม่มีเนวิเกชัน อาจทำให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้ว่าเว็บไซต์ของคุณมีแค่หน้าที่แสดงผลเพียงหน้าเดียว

    การแสดงผลเนวิเกชันควรแสดงผลในตำแหน่งเดียวกัน เพราะถ้าเราเปลี่ยนตำแหน่งอาจทำให้ผู้ใช้งานสับสนได้

3. การใช้สีสันที่แสบตา

    หลายคนคงเคยเห็นเว็บไซต์ที่ใช้สีพื้นหลังเป็นสีโทนสว่างมากๆเช่น สีส้ม สีเหลือง แล้วใช้ตัวอักษรในโทนสว่างอีกเช่นเดียวกันเช่น สีฟ้า ทำให้การอ่านเนื้อหาในเว็บเพจทำได้ยากมากๆ ถึงแม้จะทำให้เว็บไซต์ดูสวยงาม ก็ควรหลีกเลี่ยง การใช้พื้นหลังโทนมืด และตัวหนังสือโทนสว่าง เป็นตัวเลือกที่ดีในการทำเว็บไซต์ หรือพื้นหลังสีขาว ตัวหนังสือสีดำก็เป็นสิ่งที่นิยมใช้กันมาก

4. การสะกดคำผิด

    การสะกดคำผิดพลาด การเขียนผิด หรือการใช้ภาษาวิบัติ ก็ไม่ควรให้มีในเว็บไซต์ เพราะจะส่งผลให้เข้าใจผิดพลาดได้

5. เนื้อหาในเว็บเพจ

    ผู้ใช้งานเว็บไซต์ส่วนใหญ่ไม่เคยอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์อย่างจริงจัง หรือตั้งใจอ่านอย่างที่เราต้องการ ดังนั้นเราจึงควรทำให้เนื้อหาของเราอ่านได้ง่ายขึ้น เช่น ใช้การเว้นวรรค การใส่ย่อหน้า และการเขียนให้กระชับที่สุด เน้นส่วนของข้อความที่เราต้องการสื่อให้มากที่สุด

6. ขนาดของตัวอักษร และชนิดของตัวอักษร font

    ในบางครั้งการแสดงตัวอักษรที่เล็กเกินไป หรือใหญ่เกินไป ขึ้นอยู่กับการตั้งค่าของ browser ของผู้ใช้ ก็เป็นอุปสรรคในการอ่านเนื้อหาของเว็บไซต์
ข้อแนะนำคือเราควรใช้ CSS ในการควบคุมการแสดงผลตัวอักษรให้เป็นไปในทางเดียวกัน จะทำให้เว็บไซต์ของเราดูดี และอ่านได้ง่ายขึ้น

7. การเว้นวรรค , การเว้นบรรทัด และการจัดช่องไฟของตัวอักษร

    เราสามารถใช้คำสั่ง CSS ในการจัดช่องไฟของตัวอักษรได้ การจัดช่องไฟให้ตัวอักษร การเว้นวรรคที่ดี และการเว้นบรรทัดของเนื้อหาที่ดี ก็ทำให้เว็บไซต์ของเราดูดีขึ้นได้มากทีเดียว

8. การใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ โดยที่ผู้ใช้งานไม่สามารถปิดมันได้

    ถ้าคุณมีความจำเป็นที่จะต้องใส่เพลงประกอบเว็บไซต์ของคุณ อาจเพื่อจูงใจลูกค้า คุณต้องแน่ใจว่าได้ทำปุ่มสำหรับปิดเพลงนั้นไว้ โดยที่ผู้ใช้งานสามารถปิดมันได้โดยง่าย และเห็นมันอย่างชัดเจน มิฉนั้นเพลงที่คุณใส่ไปอาจส่งผลทำให้ผู้ใช้งานเกิดความรู้สึกหงุดหงิดได้

9.การทำเว็บไซต์โดยไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามาก่อน

    องค์ประกอบของหน้ามีความสำคัญมาก ถ้าคุณไม่ได้วางองค์ประกอบของหน้ามาก่อนจะทำให้เกิดปัญหาตามมามากมาย เช่น

    การใส่เนื้อหาในหน้ามากเกินไป คุณอาจเห็นหลายเว็บไซต์ที่ใช้พื้นที่ของหน้าแทบจะทุกจุดของเว็บเพจก็ว่าได้ อย่างที่เคยบอกไปว่าผู้ใช้งานไม่เคยตั้งใจอ่านเนื้อหาอย่างจริงจัง การใส่เนื้อหาที่มากไปจะทำให้คุณไม่สามารถสื่ออะไร หรือบอกอะไรได้เลย ดังนั้นจึงควรใส่เนื้อหาที่คุณอยากจะสื่อ และแบ่งสัดส่วนต่างๆให้เป็นกลุ่มเป็นก้อนเห็นได้ชัดเจน รูปแบบเว็บไซต์ในแต่ละหน้าก็มีความสำคัญมาก คุณไม่ควรเปลี่ยนรูปแบบของเว็บไซต์ในแต่ละหน้าให้แตกต่างกันมากเกินไป เพราะจะทำให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้

10. การทำหน้าเว็บเพจที่ยาวเกินไป

    เนื้อหาที่ยาวจนเกินไปไม่ส่งผลดีต่อเว็บไซต์แน่นอน เพราะนอกจากจะทำให้การแสดงผลเว็บเพจนั้นช้าแล้ว ยังส่งผลผู้ใช้งานรู้สึกเบื่อด้วย

    ดังนั้นเราจึงควรแบ่งเนื้อหาเป็นตอนๆ และให้ผู้ใช้งานโหลดทีละตอนจะดีกว่า

11.การทำลิงค์ที่ผิดพลาด

    ลิงค์เป็นส่วนที่สำคัญมากของเว็บไซต์ เพราะจะเป็นส่วนที่นำเราไปยังส่วนอื่นๆของเว็บไซต์ เราจึงควรทำให้ส่วนที่เป็นลิงค์มีความชัดเจนในตัวเอง และถ้าไม่จำเป็นไม่ควรเปลี่ยนสีของลิงค์

12. ขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุง

    คำนี้ไม่ควรให้มีในเว็บเพจของคุณเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้ใช้งานผิดหวังที่จะต้องรอหน้าที่อยู่ระหว่างการปรับปรุงแล้ว ยังทำให้รู้สึกว่าเว็บไซต์ของคุณยังไม่สมบรูณ์ ยังไมได้มาตราฐาน

13. ไม่ตรวจสอบเว็บไซต์ก่อน

    การตรวจสอบเว็บไซต์เป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพราะการแสดงผลใน browser กับการแสดงผลตอนที่เราเขียนเว็บเพจอาจไม่เหมือนกันก็ได้

ดังนั้นเราจึงควรตรวจสอบเว็บเพจทุกหน้า ถ้าจะให้ดีควรใช้หลายๆ browser ในการตรวจสอบ

14. เนวิเกชันที่ไม่สื่อความหมาย

    การใช้เนวิเกชันที่ไม่สือความหมาย เมื่อคลิกแล้วไม่สามารถเปิดหน้าที่ลิงค์ไว้ได้ มีข้อผิดพลาด (error) ในเนวิเกชัน และมีหลายปุ่มให้เลือกมากเกินไป จะส่งผลต่อผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก เนวิเกชันที่ดีควรมีการแบ่งหมวดหมู่ที่ดี ไม่ซับซ้อนจนเกินไป และควรครอบคลุมส่วนต่างๆของเว็บไซต์ หรือหน้าเว็บไซต์ใหญ่มาก ก็ควรครอบคลุมในหมวดนั้นๆ การใช้คำก็เป็นเรื่องสำคัญ ควรใช้คำที่สื่อความหมายชัดเจนไม่คลุมเครือ หรือเป็นคำที่เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มไม่ควรใช้

15. ทำเว็บไซต์อย่างลวกๆ

    การทำเว็บไซต์อย่างลวกๆ เช่น คัดลอกเนื้อหาจากเว็บไซต์อื่นมา แล้วมีการตกหล่น หรือไม่มีภาพแสดงเหมือนเว็บไซต์ต้นฉบับ การพิมพ์ผิด หรือการเขียนข้อความที่ไม่สื่อความหมาย การใช้ภาษาวิบัติ เนื้อหาของเว็บไซต์คือทุกอย่างของเว็บไซต์ เราจึงควรให้ความสำคัญกับเนื้อหาให้มากๆ อย่าให้เกิดข้อผิดพลาด หรือผิดพลาดให้น้อยที่สุด

16.ไม่เคยอัพเดทเว็บไซต์เลย

    การอัพเดทเว็บไซต์เป็นประจำก็ทำให้ผู้ใช้งานเกิดความมั่นใจ ว่าเว็บไซต์ของเรายังมีผู้ดูแลอยู่ และเนื้อหายังได้รับการปรับปรุงอยู่ นอกจากนี้ยังส่งผลต่ออันดับใน search engine อีกด้วย

17. จำนวนคลิกเพื่อเข้าถึงข้อมูลมากเกินไป

    หลายๆเว็บไซต์จะเก็บเนื้อหาในส่วนที่คิดว่าดีเอาไว้ โดยผู้ใช้งานจะต้องผ่านการคลิกนับครั้งไม่ถ้วน ผ่านโฆษณามากมายกว่าจะมาถึงเนื้อหาที่สนใจได้ นับว่าเป็นสิ่งที่ผิดพลาดอย่างมาก อย่าที่บอกไปว่าเว็บของเราห่างจากเว็บอื่นเพียงคลิกเดียว ถ้าเราทำให้เกิดความลำบากยากเย็นในการเข้าถึงเนื้อหา หรือส่วนที่ผู้ใช้งานสนใจ ก็ทำให้ผู้ใช้งานท้อ หรือล้มเลิกความตั้งใจที่จะใช้งานต่อไปได้

    จำนวนคลิกที่มากที่สุดที่คุณควรทำคือ ไม่เกิน 3 คลิก ที่จะทำให้ผู้ใช้งานเข้าถึงส่วนที่เค้าสนใจ

18. สร้างความมั่นใจในส่วนของความปลอดภัยแก่ผู้ใช้

    ถ้าเว็บไซต์ของคุณเป็นเว็บไซต์ขายของ หรือทำธุระกิจต่างๆ ก็ควรสร้างความมั่นใจให้ลูกค้าว่าพวกเค้าจะไม่โดนหลอก เช่น การจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ หรือไม่เปิดเผยข้อมูลต่างๆของลูกค้า

19. ไม่มีที่อยู่ หรือที่ติดต่อกลับ

    เว็บไซต์ทางธุระกิจจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีส่วนของ ติดต่อเรา , contact information , ที่อยู่บริษัท , เบอร์โทรศัพท์ , email สิ่งพวกนี้เป็นสิ่งจำเป็นทั้งสิ้นที่จะต้องมีในเว็บ

20. การใช้ Free web hosting

    ถ้าคุณเป็นเว็บเกี่ยวกับธุระกิจแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่คุณจะต้องมีชื่อ domain name เป็นของตัวเอง และจะต้องมี web hosting เป็นของตัวเองไม่ว่าจะเช่า หรือจะซื้อมาเอง เราะจะส่งผลต่อความเชื่อมั่นของลูกค้าของคุณเป็นอย่างยิ่ง

21. การใช้ Free E-mail addresses

    ในปัจจุบันมี free email มากมายเช่น hotmail , gmail แต่พวกนี้เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง ควรใช้ email ที่เป็นของคุณเอง มาจาก domain name ของคุณ เรื่องนี้เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งกับความน่าเชื่อถือของ email ของคุณที่ส่งไปยังลูกค้า

22. โฆษณาที่มีมากจนเกินไป

    โฆษณาเป็นรายได้หลักของเว็บไซต์บางประเภท แต่การที่เราใส่โฆษณามากเกินไปจะส่งผลต่อเนื้อหาของเว็บไซต์ของคุณ เพราะจะทำให้ผู้ใช้สับสนระหว่าง เนื้อหาที่แท้จริงกับโฆษณาที่แทรกอยู่

23. รูปภาพ

    รูปภาพก็เป็นส่วนสำคัญของเว็บไซต์เราจึงควรดูและส่วนนี้ให้ดี ไม่ควรให้เกิดการผิดพลาดในการแสดงรูปภาพ และควรบีบอัดไฟล์รูปให้ถูกต้องกับรูปแบบ อ่านเรื่องนี้ได้ที่นี่

24. เว็บไซต์นี้แสดงผลได้ดีที่สุดในขนาด 1024 x 768

    การกำหนดขนาดที่ใช้ในการแสดงผล หรือ browser ที่ใช้แสดงผลเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำเป็นอย่างยิ่ง เพราะปัจจุบันเรามีหน้าจอหลายรูปหลายขนาดมากมาย ตั้งแต่ 14 นิ้ว จนถึง 20 กว่านิ้ว ทั้งแบบ wide screen และแบบทั่วไป การกำหนดขนาดแสดงผลจึงไม่ควรทำ

    เราควรทำให้เว็บไซต์ของเราแสดงผลได้ถูกต้องทุกๆ แบบของหน้าจอ ทุกๆขนาด ในปัจจุบันไม่ใช่เรื่องยากเพราะเรามี CSS เข้ามาช่วยในเรื่องนี้ได้มากทีเดียว โดยเฉพาะเรื่องของ CSS layout

25. ไม่ใส่ราคา

    การไม่ใส่ราคาในเว็บไซต์ขายของ หรือแนะนำสินค้า อาจเป็นกลยุทธ์ของผู้ขาย แต่สิ่งนี้ใช้ไม่ได้ในโลกของอินเทอร์เนตอย่างแน่นอน เพราะถ้าเว็บไซต์ของคุณไม่บอกก็ต้องมีเว็บไซต์อื่นที่สามารถบอกราคาได้ และลูกค้าที่เคยจะเป็นของคุณก็จะเป็นของคนอื่นแทน

    ดังนั้นเราจึงควรใส่รายละเอียดต่างๆของสินค้าให้ครบถ้วน ถูกต้องตามข้อมูลที่เรามีทั้งหมด 
                                                                            

  

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 641 คน กำลังออนไลน์