• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5ca2c4db10013ef62b90f808793b0dc2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>การเขียนลวดลายลงบนผลิตภัณฑ์</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"240\" width=\"169\" src=\"/files/u29257/02.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 115px; height: 151px\" /><img height=\"222\" width=\"320\" src=\"/files/u29257/03.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 182px; height: 153px\" /><img height=\"258\" width=\"320\" src=\"/files/u29257/01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 166px; height: 152px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพถ่ายผลงานนักเรียนจากกล้องดิจิตอล \n</p>\n<p>\nความหมาย ความสำคัญ วิธีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และลวดลาย  <br />\n      กระจก (glass) เป็นวัสดุที่ใช้ตกแต่งภายในอาคารเพื่อความสวยงามและเพิ่มความสว่างไสวให้กับอาคารบ้านเรือนใช้กับ อุตสาหกรรม ยานยนต์และมีการใช้งานทั่ว ๆ ไปอย่างกว้างขวางวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตกระจกประมาณ 80% ได้มาจากแหล่งผลิต ในประเทศได้แก่ ทรายแก้ว (silica sand) หินฟันม้า หินโดโลไมต์ (dolomite) เศษกระจก(cullets)และวัตถุดิบที่นำเข้าจาก ต่างประเทศ ได้แก่โซดาแอช ผงคาร์บอน ผงเหล็ก โซเดียมซัลเฟต   <br />\n      กรรมวิธีการผลิตกระจกจะเริ่มผลิตโดยการนำวัตถุดิบซึ่งได้แก่ ทรายแก้ว หินฟันม้า หินโดโลไมต์ เศษกระจก โซดาแอช หินปูน และโซเดียมซัลเฟตุมาผสมเข้าด้วยกันตามอัตราส่วนที่ได้กำหนดไว้ แล้วนำส่วนผสมที่ได้นั้นไปใส่ในเตา ที่มีอุณหภูมิ 1,500 องศาเซลเซียส จนวัสดุต่าง ๆ เกิดการหลอมละลายจนได้น้ำแก้ว (เชื้อเพลิงได้แก่ น้ำมันเตาซึ่งใช้แทนถ่านหิน) หลังจากนั้น จะปรับอุณหภูมิของน้ำแก้วให้เหลือประมาณ 1,100 องศาเซลเซียสจนมีความหนืดพอเหมาะต่อการขึ้นรูปน้ำแก้ว จะถูกนำไป ผ่านกระบวนการที่ทำให้เป็นแผ่นโดยวิธีการปล่อยให้ไหลลงไปฟอร์มตัวเป็นแผ่นกระจกบนผิวดีบอกแหลมกรรมวิธีนี้ จะได้ แผ่นกระจก ที่เรียกว่า กระจกโฟลต มีคุณสมบัติดีกว่าแผ่นกระจกที่ผลิตโดยระบบอื่น ๆ คือผิวของแผ่นกระจก จะเรียบ ไม่เป็นคลื่น มีความหนาสม่ำเสมอตลอดทั้งแผ่น ผิวสุกใส แวววาว ไม่ขุ่นมัว <br />\nการผลิตกระจกแผ่นสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ขั้นตอน คือ<br />\n     1. อุตสาหกรรมกระจกแผ่น <br />\n     2. อุตสาหกรรมกระจกต่อเนื่อง<br />\n<strong>อุตสาหกรรมกระจกแผ่น</strong><br />\n     อุตสาหกรรมกระจกแผ่นเป็นอุตสาหกรรมการผลิตกระจกพื้นฐาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่ <br />\n          1. กระจกโฟลต (float glass) ได้มาจากกระบวนการผลิตที่เรียกว่า กระบวนการโฟลต (float process) เป็นกระจกที่มีคุณภาพดีเยี่ยม มีผิวทั้งสองด้านเรียบสนิท เป็นกระจกที่มีความโปร่งใส  มีคุณภาพสูง ทนทานต่อการขูดขีดเป็นรอยได้ดี มีความหนาประมาณ 2 ถึง 19 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ใช้งานกับประตู หน้าต่างอาคาร ตู้แสดงสินค้า ใช้กับการก่อสร้างที่ต้องการผนังเป็นกระจกขนาดใหญ่ <br />\n          2. กระจกชีต (sheet glass) เป็นกระจกที่มีคุณภาพด้อยกว่ากระจกโฟลตเล็กน้อยเป็นกระจกแผ่นเรียบ ใช้งานกับหน้าต่างของที่อยู่อาศัย อาคาร กรอบรูป ผลิตภัณฑ์กระจกชีตงสามารถแบ่งออกเป็นกระจกใส กระจกสี กระจกฝ้า (เป็นกระจกชีตที่นำมาขัดฝ้าที่ผิวใช้เป็นฝากั้นห้องหรือประตู) และกระจกดอกลวดลายที่มีลวดลายพิมพ์ลงด้านหนึ่งด้านใดของกระจก สามารถมองผ่านได้สลัว ๆ มีคุณสมบัติกึ่งทึบกึ่งใส เหมาะกับงานตกแต่งภายใน เช่น โคมไฟ บานประตู หน้าต่าง และภายนอกอาคาร <br />\n<strong>อุตสาหกรรมกระตกต่อเนื่อง<br />\n</strong>     อุตสาหกรรมกระจกต่อเนื่องเป็นการนำกระจกโฟลตและกระจกชีตมาแปรรูป เพื่อประโยชน์ใช้สอยตามคุณสมบัติและลักษณะงานที่แตกต่างกันได้แก่ <br />\n     1. กระจกเงา (mirror glass)  ได้จากการฉาบโลหะเงินลงไปที่ด้านใดด้านหนึ่งของกระจกโฟลต ชนิดใสหรือกระจกโฟลตสีตัดแสง แล้วนมาเคลือบด้วยสารโลหะทองแดงเป็นการป้องกันโลหะเงินอีกชั้นหนึ่ง และเพื่อความทนทานในการใช้งาน และเคลือบทับด้วยสีที่มีคุณภาพและมีความหนาที่เหมาะสม สีที่เคลือบแต่ละชั้นจะผ่านการอบแห้งด้วยความร้อนสูงทำให้การยึดติดกันระหว่างชั้นต่าง ๆ ดีขึ้น <br />\n     2. กระจกสะท้อนแสง (heat reflection glass) ได้จากการนำกระจกแผ่นใสมาเคลือบด้วยออกไซด์ของโลหะ ขนาดความหนาของการเคลือบขึ้นอยู่กับระดับความเข้มของแสงที่ส่องผ่าน กระจกสะท้อนแสงมีคุณสมบัติด้านการสะท้อนแสงได้ดี เมื่อมองจากภายนอก อาคารจะคล้ายกระจกเงา หากมองจากภายในอาคารจะคล้ายกระจกเงา หากมองจากภายในอาคารจะคล้ายกระจกสีตัดแสง <br />\n     3. กระจกนิรภัยเทมเปอร์ (architectural flat tempered safety glass) ได้จากการนำกระจกแผ่นธรรมดามาเผาที่มีอุณหภูมิ 650 ถึง 700 องศาเซลเซียส แล้วใช้ลมเป่าทั้งสองด้านเพื่อให้กระจกเย็นลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ผิวของกระจกจะอยู่ในสภาพแรงอัด ขณะที่ภายในของกระจกอยู่ในสภาวะแรงดึง ด้วยผิวที่อยู่ในสภาวะแรงอัด  เมื่อกระจกถูกกระแทกหรือทุบจนแตก แผ่นกระจกจะแตกละเอียดเป็นเม็ดเล็ก ๆ  ที่ไม่มีคม มีความแข็งกว่ากระจกธรรมดา 2 ถึง 3 เท่า นิยมใช้งานกับยานพาหนะ หรือส่วนของอาคารที่ง่ายต่อการถูกกระแทก<br />\n     4. กระจกนิรภัยหลายชั้น (architectural flat laminaty safeted glass) เป็นกระจกที่เพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้มากขึ้น มีขั้นตอนการผลิตดังนี้ <br />\n          ก. การเตรียมกระจก โดยการคัดเลือกกระจกที่มีคุณสมบัติดี และไม่มีตำหนิ เลือกความหนา ความกว้าง และความยาว แล้วตัดให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ <br />\n          ข. การทำความสะอาด ขั้นตอนนี้จะต้องใช้เครื่องล้าง ซึ่งต้องใช้น้ำสะอาดล้าง ขัดและเป่ากระจกให้แห้ง <br />\n          ค. การเข้าประกอบวัสดุคั่นกลาง โดยการนำฟิล์มโพลีไวนีลบิวไทราล (polyvinyl butyral) ที่มีคุณสมบัติเหนียวและแข็งแรงมาปิดทับหน้ากระจกที่ผ่านการทำความสะอาดแล้ว และนำกระจกอีกแผ่นมาประกบลงบนกระจกแผ่นแรก ดึงฟิล์มให้ดึงและประกอบกระจกให้ขอบเสมอกันทุกด้านแล้วตัดฟิล์มส่วนเกินทิ้ง <br />\n          ง. การอัดประกบ กระจกที่ประกอบกับวัสดุคั่นกลางแล้ว จะถูกอัดประกบโดยใช้ความร้อนที่มีอุณหภูมิ 120 ถึง 130 องศาเซลเซียส แล้วใช้ลูกกลิ้งรีดกระจกทั้งสองแผ่นให้ติดสนิทกัน <br />\n          จ. การอบ กระจกที่อัดประกอบแล้วจะเป็นกระจกกึ่งสำเร็จรูป คือเนื้อฟิล์มจะใสขึ้นแต่ยังไม่ใสมาก จึงต้องนำเข้าเตาอบใหญ่อีกครั้งหนึ่ง เตาอบใหญ่เป็นเตาอบซึ่งอบกระจกโดยควบคุมความร้อนและความดันจนได้กระจกที่ใสมากจนไม่สามารถมองเห็นแผ่นฟิล์มได้ <br />\n     กระจกนิรภัยหลายชั้นมีคุณสมบัติป้องกันขโมยอย่างได้ผล เพราะยากแก่การเจาะผ่าน และเมื่อเกิดการกระแทกหรือชนอย่างรุนแรง ชิ้นส่วนที่แตกจะไม่หลุดออกจากกัน ยังคงสภาพเดิม เพียงแต่มีรอยร้าวเกิดขึ้น <br />\n     5. กระจกฉนวน (sealed insulating glass) เป็นกระจก 2 แผ่นหรือมากกว่าวางคู่ขนานกัน มีระยะห่างพอสมควร ขอบกระจกทุกด้านมีสารจำพวกการบรรจุอยู่เพื่อให้กระจกคงรูป และป้องกันอาหาศชื้นจากภายนอกที่จะเข้ามาในช่องว่างระหว่างแผ่นกระจก มีประสิทธิภาพมากกว่ากระจกธรรมดา 2 เท่า มีคุณสมบัติสามารถลดปริมาณความร้อนที่ส่งผ่านกระจก ลดระดับเสียงที่ผ่านผนังอาคารลง เหมาะสำหรับห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ ห้องคอมพิวเตอร์ <br />\n     6. กระจกเสริมลวด (wired glass) เป็นกระจกที่มีเส้นลวดแผงตาข่ายลวดฝังภายในกระจก จัดเป็นกระจกนิรภัยชนิดหนึ่ง เมื่อแตก เส้นลวดจะช่วยยึดเศษกระจกไม่ให้หลุดลงมา ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ มี 2  ชนิด คือ กระจกชนิดขุ่น (โปร่งแสง) และชนิดใส (โปร่งใส) <br />\n     7. กระจกกันกระสุน เป็นกระจกที่ผลิตโดยการนำกระจกนิรภัยชนิดพิเศษมาติดกับกระจกนิรภัยหลายชั้น โดยมีแผ่นพิมพ์พลาสติกขั้นกลาง (ได้แก่ โพลีคาร์บอเนต โพลีไวนีลบิวไทราล) <br />\n <strong>ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนสีลวดลายบนผลิตภัณฑ์</strong><br />\n     การเขียนสีลวดลายบนผลิตภัณฑ์  หมายถึง  การนำเอาวัสดุที่เหลือใช้ ได้แก่ ขวดกาแฟ ขวดสุรา แผ่นวีซีดี แผ่นเสียง กล่องเทป แผ่นกระเบื้อง ฯลฯ นำกลับมาเพ้นท์ หรือระบายสี ให้เกิดความงามหรือมีคุณค่าทางด้านศิลปะสามารถนำมาประดับหรือตกแต่งก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านสร้างสรรค์  และยังสามารถนำไปจำหน่าย เป็นของที่ระลึก เป็นของขวัญแก่ผู้อื่นได้ด้วย<br />\n     ประเภทและคุณสมบัติของสีที่นำมาใช้ในการเพ้นท์หรือระบายบนผลิตภัณฑ์<br />\n          1. ประเภทของสีที่นำมาระบายบนผลิตภัณฑ์  ได้แก่<br />\n               1) สีอะคริลิค หรือสีไฮปร้า  <br />\n               2) สีน้ำมัน    <br />\n               3) สีโปสเตอร์   <br />\n          2. คุณสมบัติของสี<br />\n               1) สีอะคริลิค หรือสีไฮปร้า เป็นสีกึ่งโปร่งแสง ไม่ทึบ แห้งเร็ว  เกาะติดแน่น<br />\n               2) สีน้ำมัน เป็นสีทึบแสง ใช้ผสมกับน้ำมันลีนสีด  แห้งช้า เกลี่ยสีได้ง่าย<br />\n               3) สีโปสเตอร์  เป็นสีทึบแสง ใช้ผสมกับน้ำเหมาะสำหรับระบายลงบนกระดาษ<br />\n          3. ความเข้าใจเรื่องของสี การผสมสีและการนำไปใช้<br />\n               1) สีแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกัน  ก่อนที่จะนำไปใช้จะต้องเลือกให้เหมาะสมกับวัสดุที่จะนำมาเพ้นท์ด้วย เช่น สีโปสเตอร์ ใช้ผสมกับน้ำ ระบายลงบนวัสดุประเภท กระดาษ กระดาษวาดเขียน  กระดาษโปสเตอร์แข็ง<br />\n               2) การใช้สีทุกประเภท ผู้ใช้จะต้องทำการผสมสีในจานสีจนได้ที่เสียก่อนจึงจะนำไประบายลงบนผลิตภัณฑ์  เช่น สีน้ำมันใช้ผสมกับน้ำมันลีนสีด<br />\n<strong>หลักการทางศิลปะ ประเภทของการวาดภาพ  หลักการจัดภาพ  หลักการใช้สี โครงสร้างทางศิลปะ  องค์ประกอบศิลปะ</strong><br />\n     1. ประเภทของการวาดภาพ  แบ่งออกเป็น   2 ประเภท คือ<br />\n          1) การวาดภาพแรเงา (Drawing) ด้วยดินสอดำ หรือปากกาลายเส้น<br />\n          2) การวาดภาพระบายสี (Painting) หรือการเขียนสีบนวัสดุ<br />\n     2. โครงสร้างทางศิลปะ ผลงานทางศิลปะด้านการวาดภาพประกอบด้วย เส้น รูปร่าง รูปทรง สี น้ำหนักสี แสง-เงา รูปและพื้น พื้นผิว ขนาดและสัดส่วน จังหวะ ระยะใกล้-ไกล<br />\n     3. องค์ประกอบของศิลปะ เป็นการนำเอาโครงสร้างต่าง ๆ มาจัดให้เกิดความผสมผสานกลมกลืนกันอย่างน่าดู  ได้แก่ การจัดในกรอบสามเหลี่ยม  การจัดในกรอบของวงกลม  การจัดแบบเส้นตั้ง การจัดแบบเส้นนอน  การจัดแบบรัศมีกระจาย  การจัดแบบเส้นนำสายตา  การจัดแบบซ้ำ ๆ กัน<br />\n     4. หลักของการจัดภาพ จะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้<br />\n          1) เอกภาพ (Unity) ความเป็นเอกภาพ เป็นกลุ่มก้อน แยกกันไม่ได้<br />\n          2) ความสมดุล (Balance)หรือกึ่งกันทั้งด้านซ้ายและด้านขวา กึ่งกันทั้งบนและล่าง<br />\n          3) จุดเด่น (Interesting) หรือความน่าสนใจ จะต้องจัดให้จุดสนใจหนึ่งจุด<br />\n     5. หลักการของความงามทางศิลปะที่มนุษย์มองเห็น <br />\n          1. มนุษย์จะมองเห็นเรื่องราวในภาพที่วาด  4 เรื่องด้วยกัน คือ 1) เรื่องของธรรมชาติ  2) เรื่องสังคมประเพณีวัฒนธรรม   3) เรื่องของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ 4) เรื่องของความเชื่อหรือศาสนา<br />\n          2. มนุษย์จะมองเห็นความงามที่เกิดจากผลงานศิลปะ ในเรื่องต่อไปนี้ คือ ความงามที่เกิดจากสี   ความงามที่เกิดจากแสง-เงา   ความงามที่เกิดจากรูปและพื้น    <br />\n          3. วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะการเพ้นท์สี  ได้แก่<br />\n               1) วัสดุ  สีอะคริลิค  สีน้ำมัน  สีโปสเตอร์  ดินสอ  ยางลบ  กระดาษทิชชิ  น้ำ  น้ำมันลีนสีดผสมสี  ทินเนอร์ล้างพ่กัน กระดาษวาดเขียน  เทปกาว<br />\n               2) อุปกรณ์ในการเพ้นท์สี  พู่กัน  กรวยบีบสี  เกรียงปาดสี  กระจกผสมสี  <br />\n               3) ผลิตภัณฑ์ประเภทของเหลือใช้ ขวด แผ่นเสียง กระเบื้องปูพื้น กระจก ผ้า<br />\n          4. เทคนิค วิธีการระบายสี (เพ้นท์) บนผลิตภัณฑ์     <br />\n               1) ออกแบบลวดลายที่ต้องการเพ้นท์สี<br />\n               2) ร่างภาพลงบนผลิตภัณฑ์<br />\n               3) เขียนสีด้วยเครื่องมือที่ถนัด ได้แก่ พู่กัน  กรวย  และ เกรียง<br />\n               4) เน้นน้ำหนักสีให้เกิดความน่าสนใจ<br />\n               5) ตกแต่ง โดย ติดการ์ด ใส่กรอบ จัดทำฐานรองรับให้งานมีคุณค่า\n</p>\n<p align=\"center\">\n1   <a href=\"/node/63617\">2</a>   <a href=\"/node/63619\">3</a>\n</p>\n', created = 1720388146, expire = 1720474546, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5ca2c4db10013ef62b90f808793b0dc2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มาเพิ่มสีสันลวดลายลงบนผลิตภัณฑ์กันเถอะ

รูปภาพของ sakluksika

การเขียนลวดลายลงบนผลิตภัณฑ์

 

ภาพถ่ายผลงานนักเรียนจากกล้องดิจิตอล 

ความหมาย ความสำคัญ วิธีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และลวดลาย 
      กระจก (glass) เป็นวัสดุที่ใช้ตกแต่งภายในอาคารเพื่อความสวยงามและเพิ่มความสว่างไสวให้กับอาคารบ้านเรือนใช้กับ อุตสาหกรรม ยานยนต์และมีการใช้งานทั่ว ๆ ไปอย่างกว้างขวางวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตกระจกประมาณ 80% ได้มาจากแหล่งผลิต ในประเทศได้แก่ ทรายแก้ว (silica sand) หินฟันม้า หินโดโลไมต์ (dolomite) เศษกระจก(cullets)และวัตถุดิบที่นำเข้าจาก ต่างประเทศ ได้แก่โซดาแอช ผงคาร์บอน ผงเหล็ก โซเดียมซัลเฟต   
      กรรมวิธีการผลิตกระจกจะเริ่มผลิตโดยการนำวัตถุดิบซึ่งได้แก่ ทรายแก้ว หินฟันม้า หินโดโลไมต์ เศษกระจก โซดาแอช หินปูน และโซเดียมซัลเฟตุมาผสมเข้าด้วยกันตามอัตราส่วนที่ได้กำหนดไว้ แล้วนำส่วนผสมที่ได้นั้นไปใส่ในเตา ที่มีอุณหภูมิ 1,500 องศาเซลเซียส จนวัสดุต่าง ๆ เกิดการหลอมละลายจนได้น้ำแก้ว (เชื้อเพลิงได้แก่ น้ำมันเตาซึ่งใช้แทนถ่านหิน) หลังจากนั้น จะปรับอุณหภูมิของน้ำแก้วให้เหลือประมาณ 1,100 องศาเซลเซียสจนมีความหนืดพอเหมาะต่อการขึ้นรูปน้ำแก้ว จะถูกนำไป ผ่านกระบวนการที่ทำให้เป็นแผ่นโดยวิธีการปล่อยให้ไหลลงไปฟอร์มตัวเป็นแผ่นกระจกบนผิวดีบอกแหลมกรรมวิธีนี้ จะได้ แผ่นกระจก ที่เรียกว่า กระจกโฟลต มีคุณสมบัติดีกว่าแผ่นกระจกที่ผลิตโดยระบบอื่น ๆ คือผิวของแผ่นกระจก จะเรียบ ไม่เป็นคลื่น มีความหนาสม่ำเสมอตลอดทั้งแผ่น ผิวสุกใส แวววาว ไม่ขุ่นมัว
การผลิตกระจกแผ่นสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ขั้นตอน คือ
     1. อุตสาหกรรมกระจกแผ่น
     2. อุตสาหกรรมกระจกต่อเนื่อง
อุตสาหกรรมกระจกแผ่น
     อุตสาหกรรมกระจกแผ่นเป็นอุตสาหกรรมการผลิตกระจกพื้นฐาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่
          1. กระจกโฟลต (float glass) ได้มาจากกระบวนการผลิตที่เรียกว่า กระบวนการโฟลต (float process) เป็นกระจกที่มีคุณภาพดีเยี่ยม มีผิวทั้งสองด้านเรียบสนิท เป็นกระจกที่มีความโปร่งใส  มีคุณภาพสูง ทนทานต่อการขูดขีดเป็นรอยได้ดี มีความหนาประมาณ 2 ถึง 19 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ใช้งานกับประตู หน้าต่างอาคาร ตู้แสดงสินค้า ใช้กับการก่อสร้างที่ต้องการผนังเป็นกระจกขนาดใหญ่
          2. กระจกชีต (sheet glass) เป็นกระจกที่มีคุณภาพด้อยกว่ากระจกโฟลตเล็กน้อยเป็นกระจกแผ่นเรียบ ใช้งานกับหน้าต่างของที่อยู่อาศัย อาคาร กรอบรูป ผลิตภัณฑ์กระจกชีตงสามารถแบ่งออกเป็นกระจกใส กระจกสี กระจกฝ้า (เป็นกระจกชีตที่นำมาขัดฝ้าที่ผิวใช้เป็นฝากั้นห้องหรือประตู) และกระจกดอกลวดลายที่มีลวดลายพิมพ์ลงด้านหนึ่งด้านใดของกระจก สามารถมองผ่านได้สลัว ๆ มีคุณสมบัติกึ่งทึบกึ่งใส เหมาะกับงานตกแต่งภายใน เช่น โคมไฟ บานประตู หน้าต่าง และภายนอกอาคาร
อุตสาหกรรมกระตกต่อเนื่อง
     อุตสาหกรรมกระจกต่อเนื่องเป็นการนำกระจกโฟลตและกระจกชีตมาแปรรูป เพื่อประโยชน์ใช้สอยตามคุณสมบัติและลักษณะงานที่แตกต่างกันได้แก่
     1. กระจกเงา (mirror glass)  ได้จากการฉาบโลหะเงินลงไปที่ด้านใดด้านหนึ่งของกระจกโฟลต ชนิดใสหรือกระจกโฟลตสีตัดแสง แล้วนมาเคลือบด้วยสารโลหะทองแดงเป็นการป้องกันโลหะเงินอีกชั้นหนึ่ง และเพื่อความทนทานในการใช้งาน และเคลือบทับด้วยสีที่มีคุณภาพและมีความหนาที่เหมาะสม สีที่เคลือบแต่ละชั้นจะผ่านการอบแห้งด้วยความร้อนสูงทำให้การยึดติดกันระหว่างชั้นต่าง ๆ ดีขึ้น
     2. กระจกสะท้อนแสง (heat reflection glass) ได้จากการนำกระจกแผ่นใสมาเคลือบด้วยออกไซด์ของโลหะ ขนาดความหนาของการเคลือบขึ้นอยู่กับระดับความเข้มของแสงที่ส่องผ่าน กระจกสะท้อนแสงมีคุณสมบัติด้านการสะท้อนแสงได้ดี เมื่อมองจากภายนอก อาคารจะคล้ายกระจกเงา หากมองจากภายในอาคารจะคล้ายกระจกเงา หากมองจากภายในอาคารจะคล้ายกระจกสีตัดแสง
     3. กระจกนิรภัยเทมเปอร์ (architectural flat tempered safety glass) ได้จากการนำกระจกแผ่นธรรมดามาเผาที่มีอุณหภูมิ 650 ถึง 700 องศาเซลเซียส แล้วใช้ลมเป่าทั้งสองด้านเพื่อให้กระจกเย็นลงอย่างรวดเร็ว ทำให้ผิวของกระจกจะอยู่ในสภาพแรงอัด ขณะที่ภายในของกระจกอยู่ในสภาวะแรงดึง ด้วยผิวที่อยู่ในสภาวะแรงอัด  เมื่อกระจกถูกกระแทกหรือทุบจนแตก แผ่นกระจกจะแตกละเอียดเป็นเม็ดเล็ก ๆ  ที่ไม่มีคม มีความแข็งกว่ากระจกธรรมดา 2 ถึง 3 เท่า นิยมใช้งานกับยานพาหนะ หรือส่วนของอาคารที่ง่ายต่อการถูกกระแทก
     4. กระจกนิรภัยหลายชั้น (architectural flat laminaty safeted glass) เป็นกระจกที่เพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้มากขึ้น มีขั้นตอนการผลิตดังนี้
          ก. การเตรียมกระจก โดยการคัดเลือกกระจกที่มีคุณสมบัติดี และไม่มีตำหนิ เลือกความหนา ความกว้าง และความยาว แล้วตัดให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ
          ข. การทำความสะอาด ขั้นตอนนี้จะต้องใช้เครื่องล้าง ซึ่งต้องใช้น้ำสะอาดล้าง ขัดและเป่ากระจกให้แห้ง
          ค. การเข้าประกอบวัสดุคั่นกลาง โดยการนำฟิล์มโพลีไวนีลบิวไทราล (polyvinyl butyral) ที่มีคุณสมบัติเหนียวและแข็งแรงมาปิดทับหน้ากระจกที่ผ่านการทำความสะอาดแล้ว และนำกระจกอีกแผ่นมาประกบลงบนกระจกแผ่นแรก ดึงฟิล์มให้ดึงและประกอบกระจกให้ขอบเสมอกันทุกด้านแล้วตัดฟิล์มส่วนเกินทิ้ง
          ง. การอัดประกบ กระจกที่ประกอบกับวัสดุคั่นกลางแล้ว จะถูกอัดประกบโดยใช้ความร้อนที่มีอุณหภูมิ 120 ถึง 130 องศาเซลเซียส แล้วใช้ลูกกลิ้งรีดกระจกทั้งสองแผ่นให้ติดสนิทกัน
          จ. การอบ กระจกที่อัดประกอบแล้วจะเป็นกระจกกึ่งสำเร็จรูป คือเนื้อฟิล์มจะใสขึ้นแต่ยังไม่ใสมาก จึงต้องนำเข้าเตาอบใหญ่อีกครั้งหนึ่ง เตาอบใหญ่เป็นเตาอบซึ่งอบกระจกโดยควบคุมความร้อนและความดันจนได้กระจกที่ใสมากจนไม่สามารถมองเห็นแผ่นฟิล์มได้ 
     กระจกนิรภัยหลายชั้นมีคุณสมบัติป้องกันขโมยอย่างได้ผล เพราะยากแก่การเจาะผ่าน และเมื่อเกิดการกระแทกหรือชนอย่างรุนแรง ชิ้นส่วนที่แตกจะไม่หลุดออกจากกัน ยังคงสภาพเดิม เพียงแต่มีรอยร้าวเกิดขึ้น 
     5. กระจกฉนวน (sealed insulating glass) เป็นกระจก 2 แผ่นหรือมากกว่าวางคู่ขนานกัน มีระยะห่างพอสมควร ขอบกระจกทุกด้านมีสารจำพวกการบรรจุอยู่เพื่อให้กระจกคงรูป และป้องกันอาหาศชื้นจากภายนอกที่จะเข้ามาในช่องว่างระหว่างแผ่นกระจก มีประสิทธิภาพมากกว่ากระจกธรรมดา 2 เท่า มีคุณสมบัติสามารถลดปริมาณความร้อนที่ส่งผ่านกระจก ลดระดับเสียงที่ผ่านผนังอาคารลง เหมาะสำหรับห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ ห้องคอมพิวเตอร์
     6. กระจกเสริมลวด (wired glass) เป็นกระจกที่มีเส้นลวดแผงตาข่ายลวดฝังภายในกระจก จัดเป็นกระจกนิรภัยชนิดหนึ่ง เมื่อแตก เส้นลวดจะช่วยยึดเศษกระจกไม่ให้หลุดลงมา ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ มี 2  ชนิด คือ กระจกชนิดขุ่น (โปร่งแสง) และชนิดใส (โปร่งใส)
     7. กระจกกันกระสุน เป็นกระจกที่ผลิตโดยการนำกระจกนิรภัยชนิดพิเศษมาติดกับกระจกนิรภัยหลายชั้น โดยมีแผ่นพิมพ์พลาสติกขั้นกลาง (ได้แก่ โพลีคาร์บอเนต โพลีไวนีลบิวไทราล)
 ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนสีลวดลายบนผลิตภัณฑ์
     การเขียนสีลวดลายบนผลิตภัณฑ์  หมายถึง  การนำเอาวัสดุที่เหลือใช้ ได้แก่ ขวดกาแฟ ขวดสุรา แผ่นวีซีดี แผ่นเสียง กล่องเทป แผ่นกระเบื้อง ฯลฯ นำกลับมาเพ้นท์ หรือระบายสี ให้เกิดความงามหรือมีคุณค่าทางด้านศิลปะสามารถนำมาประดับหรือตกแต่งก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านสร้างสรรค์  และยังสามารถนำไปจำหน่าย เป็นของที่ระลึก เป็นของขวัญแก่ผู้อื่นได้ด้วย
     ประเภทและคุณสมบัติของสีที่นำมาใช้ในการเพ้นท์หรือระบายบนผลิตภัณฑ์
          1. ประเภทของสีที่นำมาระบายบนผลิตภัณฑ์  ได้แก่
               1) สีอะคริลิค หรือสีไฮปร้า  
               2) สีน้ำมัน    
               3) สีโปสเตอร์   
          2. คุณสมบัติของสี
               1) สีอะคริลิค หรือสีไฮปร้า เป็นสีกึ่งโปร่งแสง ไม่ทึบ แห้งเร็ว  เกาะติดแน่น
               2) สีน้ำมัน เป็นสีทึบแสง ใช้ผสมกับน้ำมันลีนสีด  แห้งช้า เกลี่ยสีได้ง่าย
               3) สีโปสเตอร์  เป็นสีทึบแสง ใช้ผสมกับน้ำเหมาะสำหรับระบายลงบนกระดาษ
          3. ความเข้าใจเรื่องของสี การผสมสีและการนำไปใช้
               1) สีแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกัน  ก่อนที่จะนำไปใช้จะต้องเลือกให้เหมาะสมกับวัสดุที่จะนำมาเพ้นท์ด้วย เช่น สีโปสเตอร์ ใช้ผสมกับน้ำ ระบายลงบนวัสดุประเภท กระดาษ กระดาษวาดเขียน  กระดาษโปสเตอร์แข็ง
               2) การใช้สีทุกประเภท ผู้ใช้จะต้องทำการผสมสีในจานสีจนได้ที่เสียก่อนจึงจะนำไประบายลงบนผลิตภัณฑ์  เช่น สีน้ำมันใช้ผสมกับน้ำมันลีนสีด
หลักการทางศิลปะ ประเภทของการวาดภาพ  หลักการจัดภาพ  หลักการใช้สี โครงสร้างทางศิลปะ  องค์ประกอบศิลปะ
     1. ประเภทของการวาดภาพ  แบ่งออกเป็น   2 ประเภท คือ
          1) การวาดภาพแรเงา (Drawing) ด้วยดินสอดำ หรือปากกาลายเส้น
          2) การวาดภาพระบายสี (Painting) หรือการเขียนสีบนวัสดุ
     2. โครงสร้างทางศิลปะ ผลงานทางศิลปะด้านการวาดภาพประกอบด้วย เส้น รูปร่าง รูปทรง สี น้ำหนักสี แสง-เงา รูปและพื้น พื้นผิว ขนาดและสัดส่วน จังหวะ ระยะใกล้-ไกล
     3. องค์ประกอบของศิลปะ เป็นการนำเอาโครงสร้างต่าง ๆ มาจัดให้เกิดความผสมผสานกลมกลืนกันอย่างน่าดู  ได้แก่ การจัดในกรอบสามเหลี่ยม  การจัดในกรอบของวงกลม  การจัดแบบเส้นตั้ง การจัดแบบเส้นนอน  การจัดแบบรัศมีกระจาย  การจัดแบบเส้นนำสายตา  การจัดแบบซ้ำ ๆ กัน
     4. หลักของการจัดภาพ จะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
          1) เอกภาพ (Unity) ความเป็นเอกภาพ เป็นกลุ่มก้อน แยกกันไม่ได้
          2) ความสมดุล (Balance)หรือกึ่งกันทั้งด้านซ้ายและด้านขวา กึ่งกันทั้งบนและล่าง
          3) จุดเด่น (Interesting) หรือความน่าสนใจ จะต้องจัดให้จุดสนใจหนึ่งจุด
     5. หลักการของความงามทางศิลปะที่มนุษย์มองเห็น
          1. มนุษย์จะมองเห็นเรื่องราวในภาพที่วาด  4 เรื่องด้วยกัน คือ 1) เรื่องของธรรมชาติ  2) เรื่องสังคมประเพณีวัฒนธรรม   3) เรื่องของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ 4) เรื่องของความเชื่อหรือศาสนา
          2. มนุษย์จะมองเห็นความงามที่เกิดจากผลงานศิลปะ ในเรื่องต่อไปนี้ คือ ความงามที่เกิดจากสี   ความงามที่เกิดจากแสง-เงา   ความงามที่เกิดจากรูปและพื้น   
          3. วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะการเพ้นท์สี  ได้แก่
               1) วัสดุ  สีอะคริลิค  สีน้ำมัน  สีโปสเตอร์  ดินสอ  ยางลบ  กระดาษทิชชิ  น้ำ  น้ำมันลีนสีดผสมสี  ทินเนอร์ล้างพ่กัน กระดาษวาดเขียน  เทปกาว
               2) อุปกรณ์ในการเพ้นท์สี  พู่กัน  กรวยบีบสี  เกรียงปาดสี  กระจกผสมสี  
               3) ผลิตภัณฑ์ประเภทของเหลือใช้ ขวด แผ่นเสียง กระเบื้องปูพื้น กระจก ผ้า
          4. เทคนิค วิธีการระบายสี (เพ้นท์) บนผลิตภัณฑ์     
               1) ออกแบบลวดลายที่ต้องการเพ้นท์สี
               2) ร่างภาพลงบนผลิตภัณฑ์
               3) เขียนสีด้วยเครื่องมือที่ถนัด ได้แก่ พู่กัน  กรวย  และ เกรียง
               4) เน้นน้ำหนักสีให้เกิดความน่าสนใจ
               5) ตกแต่ง โดย ติดการ์ด ใส่กรอบ จัดทำฐานรองรับให้งานมีคุณค่า

1   2   3

สร้างโดย: 
ครูลักษิกา มีกุศล โรงเรียนสาคลีวิทยา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 365 คน กำลังออนไลน์