• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d4e8e9a72da2f62dd1d56dfef817334b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><o:p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><span style=\"color: #999999\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #999999; font-size: 24pt\">รายงาน</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><span>  </span><u>ปัญหามลภาวะ</u></span><u><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\">ทางเสียง อากาศน้ำ และ สารอันตราย</span></u><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: red\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 18pt\">จัดทำโดย</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 18pt\">นาย พชร พิมพิลา เลขที่ 9<span>  </span>ม.5/4</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 18pt\">นาย อริญชัย บุญลำพันธ์ เลขที่ 10 ม.5/4</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 18pt\">นาย พรเทพ นามะสนธิ เลขที่ 7 ม.5/4</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 18pt\">นาย ชาติเฉลิมพล ประถังธานี เลขที่ 1 ม.5/4</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 18pt\">นาย เกียรติศักดิ์<span>  </span>ธาระพุฒิ เลขที่ 19 ม.5/4</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 18pt\">นาย ระพีพัฒน์ พิณธารทอง เลขที่ 11 ม.5/4<o:p></o:p></span></span></span> </span></o:p></span></p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: 199.5pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><u></u></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #5e005e\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\">มลภาวะทางเสียง</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 24pt\"><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e\"><span style=\"font-size: small\">มลพิษทางเสียงเกิดขึ้นตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งนี้การนำเอาเครื่องจักรมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้ยานพาหนะขับเคลื่อนด้วยกำลังเคลื่อนหน้า การก่อสร้างอาคารด้วยเครื่องมือขนาดใหญ่เหล่านี้ล้วนแต่ก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงทั้งสิ้น เสียงที่ดังเกินขนาดแล้วย่อมทำให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินต่อจิตใจ และต่อสุขภาพส่วนความรุนแรงของอันตรายที่ได้รับนั้นขึ้นอยู่กับความดัง พบว่า ผู้ทีอาศัยอยู่ในที่ๆ มีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินกว่า 70 เดซิเบลเอ เป็นเวลานานๆ จะมีผลทำให้ประสาทหูเสื่อมได้ </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: red\"><br />\n</span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">แหล่งมลพิษทางเสียงอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\"> <br />\n</span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #5e005e; font-size: 10pt\">          </span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">1. จากยานพาหนะ</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากท่อไอเสียรถยนต์ แตร เบรค เครื่องเรือหางยาว เป็นต้น ปัจจุบันตามเมืองขนาดใหญ่ๆ มักมีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง สูงกว่า 70 เดซิเบล โดยเฉพาะบริเวณที่มีการจราจรหนาเน่นและมีตึกแถวเรียงรายอยู่ 2 ฟากถนน </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: red\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #5e005e\"><span style=\"font-size: small\">        </span></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">2. จากสถานประกอบการต่างๆ</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม โรงมหรสพ สถานเริงรมย์ ต่างๆ จากการสำรวจปรากฎว่าเสียงจากโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปมีระดับเสียงดัง 60 -120 เดซิเบลเอ ก่อให้เกิดอันตรายแบบค่อยเป็นค่อยไปกับคนงานทำให้คนงานไม่รู้สาเหตุที่แท้จริงของอาการหูงตึงที่เกิดขึ้นกับตนเอง</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: red\"><o:p></o:p></span></span></span></span></span></span></span><o:p> </o:p></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: 199.5pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\">มลพิษทางอากาศ</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #333399; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #333399; font-size: 10pt\">ปัญหามลพิษทางอากาศเป็นปัญหาที่ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ประเทศไทยจะพบปัญหาดังกล่าวมากในพื้นที่อยู่ริมถนนที่มีการจราจรหนาแน่นหรือบริเวณใกล้เคียงกับโรงงานบางแห่ง <br />\n</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333399; font-size: 10pt\">          <span lang=\"TH\">กรุงเทพมหานครต้องประสบกับปัญหาอากาศเสียมากที่สุด เนื่องจากเป็นเมืองที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมและมีการจราจรหนาแน่น ซึ่งมีบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นจะพบปริมาณฝุ่นละอองที่เกิดจากยานพาหนะสูง </span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #333399; font-size: 10pt\">มลพิษทางอากาศที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ มักจะมาจากแหล่งต่างๆ ดังนี้<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\"><span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #333399; font-size: 26pt\"></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #333399; font-size: 26pt\"> </span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\"><span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #333399; font-size: 14pt\"></span></p>\n<li>การคมนาคมขนส่ง การจราจรในท้องถนน\n</li>\n<li>การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากแหล่งอื่นๆ เช่น โรงไฟฟ้าที่ใช้น้ำมันหรือถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง\n</li>\n<li>การเผาไหม้จากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม\n</li>\n<li>การประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันของมนุษย์ เช่น การเผาขยะมูลฝอย การสูบบุหรี่\n</li>\n<p>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\"><o:p><br />\n</o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\">มลพิษทางน้ำ</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">ซึ่งน้ำเสียจากขบวนการผลิต การล้าง ขบวนการ หล่อเย็น เป็นต้น แม้ว่าจะมีกฏหมายบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมต้องบำบัดน้ำทิ้งเหล่านี้ก่อนปล่อยออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติรัฐบาลไม่สามารถควบคุมได้อย่างทั่วถึง</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 24pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">อาคารบ้านเรือนและชุมชน</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\"> โดยเฉพาะในชุมชนเขตเมือง เช่น กรุงเทพมหานคร ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นทุกครัวเรือนปล่อยน้ำทิ้งสู่แหล่งน้ำธรรมชาติโดยตรง มิได้ผ่านขบวนการกำจัดใดๆ </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 24pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">ในกระบวนการเพาะปลูกมักมีการใช้ปุ๋ยและสารเคมีป้องกัน กำจัดศัตรูพืชและสัตว์ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้อย่างขาดความระมัดระวัง ทำให้สารเคมีแพร่กระจายสู่แหล่งน้ำซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการฉีดพ่นสาร การชะล้างโดยฝน การล้างภาชนะที่บรรจุหรืออุปกรณ์การฉีดพ่นในแหล่งน้ำ</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: blue; font-size: 24pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><o:p> </o:p></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\">สารอันตราย</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">หมายถึงสารที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และสภาพแวดล้อมอื่นๆ ได้แก่ สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ อาทิ ดีดีที และสารพิษจากขบวนการอุตสาหกรรม เช่น ตะกั่ว แมงกานีส ปรอท เป็นต้น</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\"> <span lang=\"TH\"> บางชนิดก็มีคุณสมบัติสลายตัวได้ภายในเวลาอันรวดเร็วแต่บางชนิดก็สลายตัวช้าหรือไม่สลายตัวเลยทำให้สารมลพิษสามารถมีฤทธิ์ตกค้างในสิ่งแวดล้อม เช่น ดิน น้ำ ผลผลิตทางการเกษตร ห่วงโซ่อาหาร เป็นต้นโดยเฑาะในห่งงโซ่อาหาร สารมลพิษ</span>  <span lang=\"TH\">เช่น สาหร่าย แพลงตอนจากผู้บริโภคขั้นที่ 2 เช่น ปลา กุ้ง หอย เป็นต้น และในที่สุดถ่ายทอดไปยังมนุษย์อันเป็นผู้บริโภคขั้นสูงสุด สารมลพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตได้ ทั้ง 3 ทาง คือ ทางปาก ทางจมูก และทางผิวหนัง </span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">สารมลพิษทั้งสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และสารจากกระบวนการอุตสาหกรรม เป็นสิ่งที่มีทั้งคุณและโทษ ต้องใช้เพื่อประโยชน์ด้านเศรษฐกิจและด้านการพัฒนาประเทศควรมีมาตรการและการควบคุมการใช้สารมลพิษ เพื่อป้องกันให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: 199.5pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 24pt\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #5e005e\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #5e005e; font-size: 10pt\">แหล่งที่มา</span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; color: #5e005e; font-size: 10pt\">  </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #5e005e; font-size: 10pt\"> <a href=\"http://www.tungsong.com/Environment/Eco/Problem.asp\"><span lang=\"EN-US\" style=\"font-family: Tahoma; color: #69951d; font-size: 12pt; text-decoration: none; text-underline: none\">http://www.tungsong.com/Environment/Eco/Problem.asp</span></a></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: 199.5pt\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716251636, expire = 1716338036, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d4e8e9a72da2f62dd1d56dfef817334b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a971be5286883f9d78437000038c35e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>- -*</p>\n', created = 1716251636, expire = 1716338036, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a971be5286883f9d78437000038c35e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปัญหามลภาวะเสียงอากาศน้ำและสารอันตราย

รายงาน  ปัญหามลภาวะทางเสียง อากาศน้ำ และ สารอันตรายจัดทำโดยนาย พชร พิมพิลา เลขที่ 9  ม.5/4นาย อริญชัย บุญลำพันธ์ เลขที่ 10 ม.5/4นาย พรเทพ นามะสนธิ เลขที่ 7 ม.5/4นาย ชาติเฉลิมพล ประถังธานี เลขที่ 1 ม.5/4นาย เกียรติศักดิ์  ธาระพุฒิ เลขที่ 19 ม.5/4นาย ระพีพัฒน์ พิณธารทอง เลขที่ 11 ม.5/4


มลภาวะทางเสียง มลพิษทางเสียงเกิดขึ้นตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งนี้การนำเอาเครื่องจักรมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม การใช้ยานพาหนะขับเคลื่อนด้วยกำลังเคลื่อนหน้า การก่อสร้างอาคารด้วยเครื่องมือขนาดใหญ่เหล่านี้ล้วนแต่ก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงทั้งสิ้น เสียงที่ดังเกินขนาดแล้วย่อมทำให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินต่อจิตใจ และต่อสุขภาพส่วนความรุนแรงของอันตรายที่ได้รับนั้นขึ้นอยู่กับความดัง พบว่า ผู้ทีอาศัยอยู่ในที่ๆ มีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินกว่า 70 เดซิเบลเอ เป็นเวลานานๆ จะมีผลทำให้ประสาทหูเสื่อมได้
แหล่งมลพิษทางเสียงอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
          1. จากยานพาหนะส่วนใหญ่มีสาเหตุจากท่อไอเสียรถยนต์ แตร เบรค เครื่องเรือหางยาว เป็นต้น ปัจจุบันตามเมืองขนาดใหญ่ๆ มักมีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง สูงกว่า 70 เดซิเบล โดยเฉพาะบริเวณที่มีการจราจรหนาเน่นและมีตึกแถวเรียงรายอยู่ 2 ฟากถนน         2. จากสถานประกอบการต่างๆได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม โรงมหรสพ สถานเริงรมย์ ต่างๆ จากการสำรวจปรากฎว่าเสียงจากโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปมีระดับเสียงดัง 60 -120 เดซิเบลเอ ก่อให้เกิดอันตรายแบบค่อยเป็นค่อยไปกับคนงานทำให้คนงานไม่รู้สาเหตุที่แท้จริงของอาการหูงตึงที่เกิดขึ้นกับตนเอง


มลพิษทางอากาศปัญหามลพิษทางอากาศเป็นปัญหาที่ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ประเทศไทยจะพบปัญหาดังกล่าวมากในพื้นที่อยู่ริมถนนที่มีการจราจรหนาแน่นหรือบริเวณใกล้เคียงกับโรงงานบางแห่ง
          กรุงเทพมหานครต้องประสบกับปัญหาอากาศเสียมากที่สุด เนื่องจากเป็นเมืองที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมและมีการจราจรหนาแน่น ซึ่งมีบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นจะพบปริมาณฝุ่นละอองที่เกิดจากยานพาหนะสูง  มลพิษทางอากาศที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ มักจะมาจากแหล่งต่างๆ ดังนี้

  • การคมนาคมขนส่ง การจราจรในท้องถนน
  • การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากแหล่งอื่นๆ เช่น โรงไฟฟ้าที่ใช้น้ำมันหรือถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง
  • การเผาไหม้จากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
  • การประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันของมนุษย์ เช่น การเผาขยะมูลฝอย การสูบบุหรี่


  •  

    มลพิษทางน้ำน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งน้ำเสียจากขบวนการผลิต การล้าง ขบวนการ หล่อเย็น เป็นต้น แม้ว่าจะมีกฏหมายบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมต้องบำบัดน้ำทิ้งเหล่านี้ก่อนปล่อยออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติรัฐบาลไม่สามารถควบคุมได้อย่างทั่วถึงอาคารบ้านเรือนและชุมชน โดยเฉพาะในชุมชนเขตเมือง เช่น กรุงเทพมหานคร ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นทุกครัวเรือนปล่อยน้ำทิ้งสู่แหล่งน้ำธรรมชาติโดยตรง มิได้ผ่านขบวนการกำจัดใดๆ การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ในกระบวนการเพาะปลูกมักมีการใช้ปุ๋ยและสารเคมีป้องกัน กำจัดศัตรูพืชและสัตว์ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้อย่างขาดความระมัดระวัง ทำให้สารเคมีแพร่กระจายสู่แหล่งน้ำซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการฉีดพ่นสาร การชะล้างโดยฝน การล้างภาชนะที่บรรจุหรืออุปกรณ์การฉีดพ่นในแหล่งน้ำ


     

    สารอันตรายหมายถึงสารที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และสภาพแวดล้อมอื่นๆ ได้แก่ สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ อาทิ ดีดีที และสารพิษจากขบวนการอุตสาหกรรม เช่น ตะกั่ว แมงกานีส ปรอท เป็นต้น  บางชนิดก็มีคุณสมบัติสลายตัวได้ภายในเวลาอันรวดเร็วแต่บางชนิดก็สลายตัวช้าหรือไม่สลายตัวเลยทำให้สารมลพิษสามารถมีฤทธิ์ตกค้างในสิ่งแวดล้อม เช่น ดิน น้ำ ผลผลิตทางการเกษตร ห่วงโซ่อาหาร เป็นต้นโดยเฑาะในห่งงโซ่อาหาร สารมลพิษ  เช่น สาหร่าย แพลงตอนจากผู้บริโภคขั้นที่ 2 เช่น ปลา กุ้ง หอย เป็นต้น และในที่สุดถ่ายทอดไปยังมนุษย์อันเป็นผู้บริโภคขั้นสูงสุด สารมลพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตได้ ทั้ง 3 ทาง คือ ทางปาก ทางจมูก และทางผิวหนัง สารมลพิษทั้งสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และสารจากกระบวนการอุตสาหกรรม เป็นสิ่งที่มีทั้งคุณและโทษ ต้องใช้เพื่อประโยชน์ด้านเศรษฐกิจและด้านการพัฒนาประเทศควรมีมาตรการและการควบคุมการใช้สารมลพิษ เพื่อป้องกันให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด

     

    แหล่งที่มา   http://www.tungsong.com/Environment/Eco/Problem.asp

     

    - -*

    มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
     

     ช่วยด้วยครับ
    นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
    คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
    ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
    หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
    ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
    มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

    ช่วยกันนะครับ 
    ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
    ไม่ถูกปิดเสียก่อน

    ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

    อ่านรายละเอียด

    ด่วน...... ขณะนี้
    พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
    มีผลบังคับใช้แล้ว 
    ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
    เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
    ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
    อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

     

    สมาชิกที่ออนไลน์

    ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 331 คน กำลังออนไลน์