• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6592aff62f3a9531762096a6ab8659a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong><span style=\"color: #339966\">เอกนาม</span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><img height=\"91\" width=\"125\" src=\"/files/u29292/images_4.jpg\" border=\"0\" /> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #000000\">ที่มา : </span><a href=\"http://server.thaigoodview.com/files/u2701/box3.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://server.thaigoodview.com/files/u2701/box3.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff6600\">ตอนที่  1 เอกนาม</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff6600\"></span><br />\nเอกนามคือจำนวนที่เขียนในรูปการคูณของค่าคงที่กับตัวแปรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"> จำนวนที่เป็นเอกนาม เช่น 5X3Y , 3-2AB , ab2c3 , 7<br />\n <br />\n จำนวนที่ไม่ใช่เอกนาม เช่น 4X-3Y , n + 6 , 2a/3b<br />\n </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\">ดังนั้น เอกนามมี 2 ส่วน มี 1.ค่าคงที่ เรียกว่า สัมประสิทธิ์ของเอกนาม 2.ส่วนที่อยู่ในรูปการคูณของตัวแปร โดยเลขชี้กำลังของตัวแปร แต่ละตัวเป็นศูนย์ หรือจำนวนเต็มบวกเรียกผลบวกของเลขชี้กำลัง ของตัวแปรทั้งหมดในเอกนามว่า ดีกรีของเอกนาม เช่น  78X2Y3Z ดีกรี คือ 6 ( เลขชี้กำลังของ X คือ 2 , Y คือ 3 , Z คือ 1 ) และสัมประสิทธิ์คือ 78</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\">แต่เอกนาม 0 จะบอกได้ไม่แน่นอน เนื่องจาก 0 = 0Xn โดยที่ X ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ ดังนั้น ไม่กล่าวถึงดีกรีของ 0</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff6600\">ตอนที่  2 การบวก-ลบ เอกนาม</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff6600\"></span><br />\nเอกนามที่คล้ายกันสามารถนำมาบวกลบกันได้โดยสมบัติแจกแจง ดังนี้</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"> 3XY4 + 7XY4 = (3+7)XY4 ผลบวกของเอกนามคล้ายเท่ากับ (ผลบวกของสัมประสิทธิ์)ตัวแปรชุดเดิม<br />\n <br />\n 3XY4 - 7XY4 = (3-7)XY4 ผลลบของเอกนามคล้ายเท่ากับ (ผลลบของสัมประสิทธิ์)ตัวแปรชุดเดิม<br />\n </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\">กรณีที่เอกนามไม่คล้ายกันให้เขียนผลบวกในรูปเดิม เช่น 7X4Y + 7XY4 ผลลัพธ์คือ 7X4Y + 7XY4</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff6600\">ตอนที่  3 การคูณ-หาร เอกนาม</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff6600\"></span><br />\nการคูณให้นำสัมประสิทธิ์มาคูรกันและนำตัวแปรมาคูณกัน (จำตรงนี้ให้ดีครับจะใช้ต่อไปในเทอมหลังๆด้วย)</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\">การหารให้นำมาหารกันเลยโดยสัมประสิทธิ์อยู่ฝ่ายสัมประสิทธิ์ ตัวแปรอยู่ฝ่ายตัวแปร แล้วก็หารแบบบทแรกๆและปีแรกๆ หากผลหารไม่ใช่เอกนามให้ตอบว่า หารไม่ลงตัว (เช่น เหลือส่วนมากกว่า 1) หากเป็นเอกนามให้ตอบว่าลงตัว</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715708109, expire = 1715794509, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6592aff62f3a9531762096a6ab8659a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เอกนาม

เอกนาม

 

ที่มา : http://server.thaigoodview.com/files/u2701/box3.jpg

ตอนที่  1 เอกนาม


เอกนามคือจำนวนที่เขียนในรูปการคูณของค่าคงที่กับตัวแปรตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก

 จำนวนที่เป็นเอกนาม เช่น 5X3Y , 3-2AB , ab2c3 , 7
 
 จำนวนที่ไม่ใช่เอกนาม เช่น 4X-3Y , n + 6 , 2a/3b
 

ดังนั้น เอกนามมี 2 ส่วน มี 1.ค่าคงที่ เรียกว่า สัมประสิทธิ์ของเอกนาม 2.ส่วนที่อยู่ในรูปการคูณของตัวแปร โดยเลขชี้กำลังของตัวแปร แต่ละตัวเป็นศูนย์ หรือจำนวนเต็มบวกเรียกผลบวกของเลขชี้กำลัง ของตัวแปรทั้งหมดในเอกนามว่า ดีกรีของเอกนาม เช่น  78X2Y3Z ดีกรี คือ 6 ( เลขชี้กำลังของ X คือ 2 , Y คือ 3 , Z คือ 1 ) และสัมประสิทธิ์คือ 78

แต่เอกนาม 0 จะบอกได้ไม่แน่นอน เนื่องจาก 0 = 0Xn โดยที่ X ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ ดังนั้น ไม่กล่าวถึงดีกรีของ 0

ตอนที่  2 การบวก-ลบ เอกนาม


เอกนามที่คล้ายกันสามารถนำมาบวกลบกันได้โดยสมบัติแจกแจง ดังนี้

 3XY4 + 7XY4 = (3+7)XY4 ผลบวกของเอกนามคล้ายเท่ากับ (ผลบวกของสัมประสิทธิ์)ตัวแปรชุดเดิม
 
 3XY4 - 7XY4 = (3-7)XY4 ผลลบของเอกนามคล้ายเท่ากับ (ผลลบของสัมประสิทธิ์)ตัวแปรชุดเดิม
 

กรณีที่เอกนามไม่คล้ายกันให้เขียนผลบวกในรูปเดิม เช่น 7X4Y + 7XY4 ผลลัพธ์คือ 7X4Y + 7XY4

ตอนที่  3 การคูณ-หาร เอกนาม


การคูณให้นำสัมประสิทธิ์มาคูรกันและนำตัวแปรมาคูณกัน (จำตรงนี้ให้ดีครับจะใช้ต่อไปในเทอมหลังๆด้วย)

การหารให้นำมาหารกันเลยโดยสัมประสิทธิ์อยู่ฝ่ายสัมประสิทธิ์ ตัวแปรอยู่ฝ่ายตัวแปร แล้วก็หารแบบบทแรกๆและปีแรกๆ หากผลหารไม่ใช่เอกนามให้ตอบว่า หารไม่ลงตัว (เช่น เหลือส่วนมากกว่า 1) หากเป็นเอกนามให้ตอบว่าลงตัว

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 403 คน กำลังออนไลน์