• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:147622f230ce40f096f30a86457a7b2a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Arial\"></span><span style=\"font-family: Arial\"></span></p>\n<p align=\"center\" class=\"bg_g-text\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><u>รางวัลที่ท่านได้มอบให้...... คืออออออ</u></strong></span>                                             \n</p>\n<p><span style=\"font-family: Arial\"></span></p>\n<p align=\"center\" class=\"bg_g-text\">\n <span style=\"color: #ff0000\">~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"http://galyani.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.jpg\" title=\"ภาพ:พันธุกรรม.jpg\" class=\"image\"><strong></strong></a><span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>               </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พันธุกรรมหรือยีนมีสมบัติในการควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์ต่างๆในร่างกายของสิ่งมีชีวิต และมีสมบัติถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ตราบใดที่สิ่งมีชีวิตนั้นยังคงมีสมบัติการสืบพันธุ์ที่สมบูรณ์แบบต่อไปได้อีก นักบวชชาวออสเตรียที่มีชื่อ ว่า เกรกอร์ เมนเดล (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\">Gregor Mendel) <span lang=\"TH\">ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ (</span>genetics) <span lang=\"TH\">เพราะได้ค้นพบกฎการถ่ายทอดพันธุกรรม๒ประการ จากผลของการทดลองเพื่อศึกษาการถ่ายทอดพันธุกรรมในถั่วลันเตา ในบริเวณแปลงทดลองของโบสถ์ ที่เมืองบรึนน์ (</span>Brunn) <span lang=\"TH\">ประเทศออสเตรีย และได้รายงานผลการวิจัยดังกล่าวใน พ.ศ. ๒๔๐๘ นับได้ว่าเป็นการวิจัยทางชีววิทยาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด อย่างหนึ่งในขณะนั้น เมนเดลได้แยกแยะ ไว้ชัดเจนระหว่างลักษณะกรรมพันธุ์ที่เขาใช้ คำว่า &quot;</span>merkmal&quot; <span lang=\"TH\">กับแนวความคิดเกี่ยวกับหน่วยพันธุกรรมที่เขาใช้คำว่า &quot;</span>elemente&quot;         <span lang=\"TH\">โดยเมนเดลคิดว่าหน่วยพันธุกรรมนี้คงจะอยู่ภายในเซลล์ และมีส่วนควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์ดังกล่าวด้วย โดยหน่วยพันธุกรรม ดังกล่าวนี้ปัจจุบันเรียกว่า <b>ยีน</b> เมนเดลตระหนักดีว่า หน่วยพันธุกรรมดังกล่าวนั้นจะอยู่เป็นคู่ๆมากมายหลายคู่ด้วยกัน ซึ่ง ต่างก็ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์มากมายหลายลักษณะ ดังที่ได้สังเกตเห็น ในถั่วลันเตาที่เขาใช้ทดลอง ยิ่งไปกว่านั้น</span>  <span lang=\"TH\">เมนเดลยังคาดคิดต่อไปอีกว่า หน่วยพันธุกรรมในแต่ละคู่นั้นคงจะควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์ในแต่ละอย่างที่มีความแตกต่างตรงข้ามกัน เช่น คู่ของ หน่วย </span>A <span lang=\"TH\">กับ </span>a <span lang=\"TH\">ควบคุมลักษณะต้นสูงกับต้นเตี้ยตามลำดับ หรือคู่ของหน่วย</span> B <span lang=\"TH\">กับ</span>    b <span lang=\"TH\">ควบคุมลักษณะเมล็ดสี เหลืองกับเมล็ดสีเขียว ลักษณะกรรมพันธุ์ที่แสดงออกทุกรุ่น</span>  <span lang=\"TH\">เช่น ต้นสูงและเมล็ดสีเหลือง ควบคุมโดยหน่วยพันธุกรรมที่มีลักษณะเด่น (</span>dominant) <span lang=\"TH\">ส่วนลักษณะตรงกันข้าม เช่น ต้นเตี้ยและเมล็ดสีเขียว ซึ่งไม่แสดงออกทุกรุ่น ควบคุมโดยหน่วยพันธุกรรมที่มีลักษณะด้อย (</span>recessive) <span lang=\"TH\">ซึ่งถูกข่มโดยหน่วยพันธุกรรมที่มีลักษณะเด่นเมื่อมันมาเข้าคู่อยู่ด้วยกัน เช่น คู่</span> Aa <span lang=\"TH\">หรือคู่ </span>Bb <span lang=\"TH\">ถึงแม้ว่าเมนเดลไม่ได้สังเกตเห็นหน่วยพันธุกรรมที่อยู่กันเป็นคู่ๆภายในเซลล์ก็ตาม แต่เขาก็เข้าใจดีว่า หน่วยพันธุกรรมที่เป็นคู่กันในลูกผสมนั้นครึ่งหนึ่งได้มาจากพันธุ์พ่อ โดยผ่านทางละอองเกสรตัวผู้ ส่วนอีกครึ่งหนึ่งได้จากพันธุ์แม่โดยผ่านทางไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจากละอองเกสรตัวผู้ เมนเดลได้สรุปแนวความคิดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การถ่ายทอดหน่วยพันธุกรรมไว้</span>  <span lang=\"TH\">๒ ประการ คือ (๑) การแยกตัวของหน่วยพันธุกรรม (๒) การรวมกลุ่มของหน่วย พันธุกรรมอย่างอิสระ แต่แนวความคิดที่ ลึกซึ้งของเมนเดลนี้ก้าวหน้าล้ำยุคเกินกว่าที่ นักวิชาการร่วมสมัยจะเข้าใจได้</span><br />\n          <span lang=\"TH\">หลักการถ่ายทอดกรรมพันธุ์ที่ค้นพบโดยเมนเดล เป็นพื้นฐานการพัฒนามาสู่ วิชาการสาขาใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ซึ่งใน พ.ศ. ๒๔๔๙ นักชีววิทยาชาวอังกฤษที่มีชื่อว่าวิลเลียม เบตสัน (</span>William Bateson) <span lang=\"TH\">ได้ให้ชื่อวิชานี้อย่างเป็นทางการว่า พันธุศาสตร์</span>  (genetics) <span lang=\"TH\">ต่อมา ใน พ.ศ. ๒๔๕๒</span>  <span lang=\"TH\">ดับเบิลยู. โจฮันน์เซน (</span>W. Johannsen)  <span lang=\"TH\">นักพันธุศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ก็ได้ใช้คำว่า ยีน (</span>gene <span lang=\"TH\">ย่อมา จากคำว่า </span>genetics <span lang=\"TH\">ที่เบตสันตั้งขึ้นมา) ซึ่งมีความหมายตรงกับหน่วยพันธุกรรม หรือ</span>  &quot;elemente&quot; <span lang=\"TH\">ของเมนเดลนั่นเอง นอกจากนั้น เบตสันยังได้ตั้งคำศัพท์เกี่ยวกับหน่วยพันธุกรรมที่มีอยู่เป็นคู่ๆ ซึ่งในแต่ละคู่ของหน่วยพันธุกรรมนั้นจะมีสมบัติควบคุมลักษณะที่ตรงข้ามกันขึ้นมาใช้เพื่อความกระชับและเข้าใจง่ายขึ้น เบตสันเรียกรูปแบบลักษณะ  ที่ตรงข้ามกันเช่นนี้ว่า แอลลีโลมอร์ฟ (</span>allelomorph <span lang=\"TH\">จากคำผสมระหว่าง              </span>allele = <span lang=\"TH\">ต่างกัน และ </span>morph = <span lang=\"TH\">รูปแบบหรือลักษณะ) เมื่อได้ไซโกต</span> (zygote)        <span lang=\"TH\">ที่เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบของหน่วยพันธุกรรมตรงข้ามกัน ก็เรียกไซโกตนั้นว่า</span>  <span lang=\"TH\">เฮเทโรไซโกต (</span>heterozygote) <span lang=\"TH\">และไซโกตที่เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบของหน่วยพันธุกรรม อย่างเดียวกันก็เรียกว่า           โฮโมไซโกต (</span>homozygote) <span lang=\"TH\">ในระยะแรกของวิชาพันธุศาสตร์จึง ได้ใช้คำว่า         แอลลีโลมอร์ฟ เพื่อบ่งบอกรูปแบบของหน่วยพันธุกรรมหรือยีนต่างๆ ซึ่งในเวลาต่อมา คำว่า แอลลีโลมอร์ฟ ก็หดสั้นเข้าเหลือเพียง แอลลีล (</span>allele) <span lang=\"TH\">ทั้งนี้เพื่อความง่ายและความสะดวกในการใช้เรียก หน่วยพันธุกรรมที่มีรูปแบบต่างกันนั่นเอง ดังนั้น ยีนแต่ละยีนจะมีรูปแบบแตกต่างกันอย่างน้อย ๒ รูปแบบ หรือ ๒ แอลลีลเสมอ มิฉะนั้น เราก็จะไม่ทราบเลยว่ามียีนนั้นอยู่ ปัจจุบัน เป็นที่ทราบกันดีว่าพันธุกรรมหรือยีนคือ  สารประกอบดีเอ็นเอ (</span>DNA = <b>d</b>eoxy- ribo<b>n</b>ucleic <b>a</b>cid) <span lang=\"TH\">ที่รู้จักกันทั่วไปนั่นเอง</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\">     </span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พันธุกรรม ก็คือ ยีนที่ถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งต่อๆกันไป เด็กทารก    จะได้รับยีนครึ่งหนึ่งจากพ่อ และอีกครึ่งหนึ่งจากแม่</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\">    1 <span lang=\"TH\">ใน </span>4 <span lang=\"TH\">ของยีนในตัวมาจากรุ่น</span>  <span lang=\"TH\">ปู่ ย่า ตา และยาย การสลับที่ของยีนในขณะที่เซลล์ได้</span><span lang=\"TH\">มีการแบ่งตัวแบบไมโอซีส หมายความว่าพี่ชายกับน้องสาวจะได้รับการถ่ายทอดยีนที่ไม่เหมือนกันจากพ่อและแม่ถึงจะอย่างไรก็ตาม ความคล้ายคลึงกันของสมาชิกในครอบครัวอาจมีขึ้นได้ </span> &gt;_&lt; <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"> <a href=\"http://null/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.jpg\" title=\"ภาพ:พันธุกรรม.jpg\"></a><span lang=\"TH\">อสุจิมีโครโมโซม </span>X <span lang=\"TH\">หรื </span>Y <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นตัวกำหนดเพศของทารกค่ะ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">เซลล์ของร่างกายมีจำนวนโครโมโซม 46 แท่งค่ะ</span>  <span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มีนิวเคลียส จึงไม่มียีนอยู่ค่ะ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">อายุยืนยาวสามารถถ่ายทอดได้ทาง</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">พันธุกรรม หรือ ยีน หมายถึง การส่งทอดข้อมูลข่าวสารของเซลล์ จากรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่นหนึ่งโดยผ่านโครโมโซม นะคะ </span> <span lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆจะมีจำนวนโครโมโซมบรรจุอยู่ในเซลล์เป็นจำนวนเฉพาะไม่เหมือนกันยกตัวอย่างเช่น</span>     <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">เซลล์ของมนุษย์ ที่มี </span>46 <span lang=\"TH\">โครโมโซม </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">เซลล์ของลิงซิมแปนซีมี </span>48 <span lang=\"TH\">โครโมโซม </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">เซลล์ของต้นสนมี</span> 22 <span lang=\"TH\">โครโมโซม </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\"> ส่วนเซลล์ของปลาทอง มีถึง </span>94 <span lang=\"TH\">โครโมโซม</span>         <o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\">                  <span lang=\"TH\">โครโมโซมเป็นที่รวบรวมของข้อมูลภาษาทางพันธุกรรม หรือ ยีน ซึ่งมันเก็บรวบรวมไว้เป็นรหัสซึ่งเขียนขึ้นด้วยกรด </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">ที่มีชื่อว่า &quot;นิวคลีอิค&quot;</span> <span lang=\"TH\"> เรียงต่อกันเป็นคำและประโยค</span>  <o:p></o:p></span></p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p></p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\">           <a href=\"http://null/encyclopedia/หน่วยพันธุกรรมหรือยีน/\"></a><a href=\"http://null/encyclopedia/หน่วยพันธุกรรมหรือยีน/\"></a></span></o:p></span><span> </span></p>\n<p>\n<img width=\"300\" src=\"http://61.19.25.227/student_project/cromosome/images/gene.jpg\" height=\"300\" id=\"imgb\" />       \n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"http://galyani.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.jpg\" title=\"ภาพ:พันธุกรรม.jpg\" class=\"image\"><strong><img longDesc=\"/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.jpg\" width=\"310\" src=\"http://galyani.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1.jpg\" alt=\"ภาพ:พันธุกรรม.jpg\" height=\"278\" /></strong></a></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  <img width=\"300\" src=\"http://www.bangkokhealth.com/cimages/cblindness02.jpg\" height=\"203\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img width=\"415\" src=\"http://www.krucherdpua.com/wp-content/uploads/2008/stuweb/813/Picture/hemophilia%5B1%5D.gif\" height=\"447\" style=\"width: 318px; height: 401px\" id=\"imgb\" />  \n</p>\n<p>\n <img width=\"363\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:jovVmSqHDv1-aM::www.reurnthai.com/rtimages/RW2413x13.gif&amp;t=1&amp;h=236&amp;w=214&amp;usg=__zqWpyrLyE3jfDyEbCYL3JUs8mMM=\" height=\"402\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img width=\"390\" src=\"http://widget.sanook.com/static_content/widget/full/text_1/0812/48812/1070ba090f7d5f485b4d6a6203dc6dd9_1213341884.gif\" alt=\"ชื่นชม ยินดี\" height=\"252\" />\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"bg_g-text\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"bg_g-text\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n        \n</p>\n', created = 1719637812, expire = 1719724212, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:147622f230ce40f096f30a86457a7b2a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b9175b31e46749142b94f4de32b9765a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>>&lt; \'<br />\nความรู้หลากหลายมาก !</p>\n<p>ฝากด้วย ๆๆ \' (((:</p>\n<p><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/63146\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/63146\">http://www.thaigoodview.com/node/63146</a> </p>\n<p><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/63145\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/63145\">http://www.thaigoodview.com/node/63145</a> </p>\n<p><a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/62855\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/62855\">http://www.thaigoodview.com/node/62855</a></p>\n', created = 1719637812, expire = 1719724212, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b9175b31e46749142b94f4de32b9765a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:94315b479eee63b1c6b7e5650f11bf9c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n^^ เม้นให้ค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"style1\">\n <strong>ฝากด้วยนะคะ ^^ : </strong></p>\n<p><span style=\"color: #ff9900\">การคลอดแบบผ่าตัด...เริ่มต้นชีวิตใหม่ด้วย</span><strong><span style=\"color: #ff0000\">\'ใบมีด\'</span></strong><strong><br />\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/62923\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/62923\">http://www.thaigoodview.com/node/62923</a><br />\n</strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719637812, expire = 1719724212, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:94315b479eee63b1c6b7e5650f11bf9c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:be1a44f2ffff64e347bb70715dc676a6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>อ่ะ เม้นๆๆๆ ^^&quot;</p>\n', created = 1719637812, expire = 1719724212, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:be1a44f2ffff64e347bb70715dc676a6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5ceebc84cb8d08c92ee256c9b3d9902f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เอามาย่อต่อก่อนน๊าา - -*</p>\n<p> ฝากด้วย</p>\n<p>อาณาจักรของพืชจร้า &gt;&gt;&gt;  http://www.thaigoodview.com/node/62858</p>\n<p>เหงื่อ เหงื่อ และเหงื่อ!!! &gt;&gt;&gt;  http://www.thaigoodview.com/node/62854 </p>\n', created = 1719637812, expire = 1719724212, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5ceebc84cb8d08c92ee256c9b3d9902f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:88b26ed36a0003a3d5b6038201df3cfd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>รูปเยอะดี ชอบๆๆ</p>\n', created = 1719637812, expire = 1719724212, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:88b26ed36a0003a3d5b6038201df3cfd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รางวัล จาก บรรพบุรุษ ......

รูปภาพของ knw32799

 

รางวัลที่ท่านได้มอบให้...... คืออออออ                                             

 ~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~

               พันธุกรรมหรือยีนมีสมบัติในการควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์ต่างๆในร่างกายของสิ่งมีชีวิต และมีสมบัติถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ตราบใดที่สิ่งมีชีวิตนั้นยังคงมีสมบัติการสืบพันธุ์ที่สมบูรณ์แบบต่อไปได้อีก นักบวชชาวออสเตรียที่มีชื่อ ว่า เกรกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์ (genetics) เพราะได้ค้นพบกฎการถ่ายทอดพันธุกรรม๒ประการ จากผลของการทดลองเพื่อศึกษาการถ่ายทอดพันธุกรรมในถั่วลันเตา ในบริเวณแปลงทดลองของโบสถ์ ที่เมืองบรึนน์ (Brunn) ประเทศออสเตรีย และได้รายงานผลการวิจัยดังกล่าวใน พ.ศ. ๒๔๐๘ นับได้ว่าเป็นการวิจัยทางชีววิทยาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด อย่างหนึ่งในขณะนั้น เมนเดลได้แยกแยะ ไว้ชัดเจนระหว่างลักษณะกรรมพันธุ์ที่เขาใช้ คำว่า "merkmal" กับแนวความคิดเกี่ยวกับหน่วยพันธุกรรมที่เขาใช้คำว่า "elemente"         โดยเมนเดลคิดว่าหน่วยพันธุกรรมนี้คงจะอยู่ภายในเซลล์ และมีส่วนควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์ดังกล่าวด้วย โดยหน่วยพันธุกรรม ดังกล่าวนี้ปัจจุบันเรียกว่า ยีน เมนเดลตระหนักดีว่า หน่วยพันธุกรรมดังกล่าวนั้นจะอยู่เป็นคู่ๆมากมายหลายคู่ด้วยกัน ซึ่ง ต่างก็ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์มากมายหลายลักษณะ ดังที่ได้สังเกตเห็น ในถั่วลันเตาที่เขาใช้ทดลอง ยิ่งไปกว่านั้น  เมนเดลยังคาดคิดต่อไปอีกว่า หน่วยพันธุกรรมในแต่ละคู่นั้นคงจะควบคุมลักษณะกรรมพันธุ์ในแต่ละอย่างที่มีความแตกต่างตรงข้ามกัน เช่น คู่ของ หน่วย A กับ a ควบคุมลักษณะต้นสูงกับต้นเตี้ยตามลำดับ หรือคู่ของหน่วย B กับ    b ควบคุมลักษณะเมล็ดสี เหลืองกับเมล็ดสีเขียว ลักษณะกรรมพันธุ์ที่แสดงออกทุกรุ่น  เช่น ต้นสูงและเมล็ดสีเหลือง ควบคุมโดยหน่วยพันธุกรรมที่มีลักษณะเด่น (dominant) ส่วนลักษณะตรงกันข้าม เช่น ต้นเตี้ยและเมล็ดสีเขียว ซึ่งไม่แสดงออกทุกรุ่น ควบคุมโดยหน่วยพันธุกรรมที่มีลักษณะด้อย (recessive) ซึ่งถูกข่มโดยหน่วยพันธุกรรมที่มีลักษณะเด่นเมื่อมันมาเข้าคู่อยู่ด้วยกัน เช่น คู่ Aa หรือคู่ Bb ถึงแม้ว่าเมนเดลไม่ได้สังเกตเห็นหน่วยพันธุกรรมที่อยู่กันเป็นคู่ๆภายในเซลล์ก็ตาม แต่เขาก็เข้าใจดีว่า หน่วยพันธุกรรมที่เป็นคู่กันในลูกผสมนั้นครึ่งหนึ่งได้มาจากพันธุ์พ่อ โดยผ่านทางละอองเกสรตัวผู้ ส่วนอีกครึ่งหนึ่งได้จากพันธุ์แม่โดยผ่านทางไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจากละอองเกสรตัวผู้ เมนเดลได้สรุปแนวความคิดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การถ่ายทอดหน่วยพันธุกรรมไว้  ๒ ประการ คือ (๑) การแยกตัวของหน่วยพันธุกรรม (๒) การรวมกลุ่มของหน่วย พันธุกรรมอย่างอิสระ แต่แนวความคิดที่ ลึกซึ้งของเมนเดลนี้ก้าวหน้าล้ำยุคเกินกว่าที่ นักวิชาการร่วมสมัยจะเข้าใจได้
          หลักการถ่ายทอดกรรมพันธุ์ที่ค้นพบโดยเมนเดล เป็นพื้นฐานการพัฒนามาสู่ วิชาการสาขาใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ซึ่งใน พ.ศ. ๒๔๔๙ นักชีววิทยาชาวอังกฤษที่มีชื่อว่าวิลเลียม เบตสัน (William Bateson) ได้ให้ชื่อวิชานี้อย่างเป็นทางการว่า พันธุศาสตร์  (genetics) ต่อมา ใน พ.ศ. ๒๔๕๒  ดับเบิลยู. โจฮันน์เซน (W. Johannsen)  นักพันธุศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ก็ได้ใช้คำว่า ยีน (gene ย่อมา จากคำว่า genetics ที่เบตสันตั้งขึ้นมา) ซึ่งมีความหมายตรงกับหน่วยพันธุกรรม หรือ  "elemente" ของเมนเดลนั่นเอง นอกจากนั้น เบตสันยังได้ตั้งคำศัพท์เกี่ยวกับหน่วยพันธุกรรมที่มีอยู่เป็นคู่ๆ ซึ่งในแต่ละคู่ของหน่วยพันธุกรรมนั้นจะมีสมบัติควบคุมลักษณะที่ตรงข้ามกันขึ้นมาใช้เพื่อความกระชับและเข้าใจง่ายขึ้น เบตสันเรียกรูปแบบลักษณะ  ที่ตรงข้ามกันเช่นนี้ว่า แอลลีโลมอร์ฟ (allelomorph จากคำผสมระหว่าง              allele = ต่างกัน และ morph = รูปแบบหรือลักษณะ) เมื่อได้ไซโกต (zygote)        ที่เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบของหน่วยพันธุกรรมตรงข้ามกัน ก็เรียกไซโกตนั้นว่า  เฮเทโรไซโกต (heterozygote) และไซโกตที่เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบของหน่วยพันธุกรรม อย่างเดียวกันก็เรียกว่า           โฮโมไซโกต (homozygote) ในระยะแรกของวิชาพันธุศาสตร์จึง ได้ใช้คำว่า         แอลลีโลมอร์ฟ เพื่อบ่งบอกรูปแบบของหน่วยพันธุกรรมหรือยีนต่างๆ ซึ่งในเวลาต่อมา คำว่า แอลลีโลมอร์ฟ ก็หดสั้นเข้าเหลือเพียง แอลลีล (allele) ทั้งนี้เพื่อความง่ายและความสะดวกในการใช้เรียก หน่วยพันธุกรรมที่มีรูปแบบต่างกันนั่นเอง ดังนั้น ยีนแต่ละยีนจะมีรูปแบบแตกต่างกันอย่างน้อย ๒ รูปแบบ หรือ ๒ แอลลีลเสมอ มิฉะนั้น เราก็จะไม่ทราบเลยว่ามียีนนั้นอยู่ ปัจจุบัน เป็นที่ทราบกันดีว่าพันธุกรรมหรือยีนคือ  สารประกอบดีเอ็นเอ (DNA = deoxy- ribonucleic acid) ที่รู้จักกันทั่วไปนั่นเอง 
   
    
พันธุกรรม ก็คือ ยีนที่ถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งต่อๆกันไป เด็กทารก    จะได้รับยีนครึ่งหนึ่งจากพ่อ และอีกครึ่งหนึ่งจากแม่    1 ใน 4 ของยีนในตัวมาจากรุ่น  ปู่ ย่า ตา และยาย การสลับที่ของยีนในขณะที่เซลล์ได้มีการแบ่งตัวแบบไมโอซีส หมายความว่าพี่ชายกับน้องสาวจะได้รับการถ่ายทอดยีนที่ไม่เหมือนกันจากพ่อและแม่ถึงจะอย่างไรก็ตาม ความคล้ายคลึงกันของสมาชิกในครอบครัวอาจมีขึ้นได้  >_<   อสุจิมีโครโมโซม X หรื Y ซึ่งเป็นตัวกำหนดเพศของทารกค่ะ  เซลล์ของร่างกายมีจำนวนโครโมโซม 46 แท่งค่ะ   เซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มีนิวเคลียส จึงไม่มียีนอยู่ค่ะ   อายุยืนยาวสามารถถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรม หรือ ยีน หมายถึง การส่งทอดข้อมูลข่าวสารของเซลล์ จากรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่นหนึ่งโดยผ่านโครโมโซม นะคะ  สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆจะมีจำนวนโครโมโซมบรรจุอยู่ในเซลล์เป็นจำนวนเฉพาะไม่เหมือนกันยกตัวอย่างเช่น       เซลล์ของมนุษย์ ที่มี 46 โครโมโซม   เซลล์ของลิงซิมแปนซีมี 48 โครโมโซม   เซลล์ของต้นสนมี 22 โครโมโซม   ส่วนเซลล์ของปลาทอง มีถึง 94 โครโมโซม        

                  โครโมโซมเป็นที่รวบรวมของข้อมูลภาษาทางพันธุกรรม หรือ ยีน ซึ่งมันเก็บรวบรวมไว้เป็นรหัสซึ่งเขียนขึ้นด้วยกรด

ที่มีชื่อว่า "นิวคลีอิค"  เรียงต่อกันเป็นคำและประโยค 


 

 

           

       

    ภาพ:พันธุกรรม.jpg

 

 

 

  

 

 

ชื่นชม ยินดี

 

 

 


        

รูปภาพของ knw32802

>< '
ความรู้หลากหลายมาก !

ฝากด้วย ๆๆ ' (((:

http://www.thaigoodview.com/node/63146

http://www.thaigoodview.com/node/63145

http://www.thaigoodview.com/node/62855

รูปภาพของ knw33316

^^ เม้นให้ค่ะ

 

 

ฝากด้วยนะคะ ^^ :

การคลอดแบบผ่าตัด...เริ่มต้นชีวิตใหม่ด้วย'ใบมีด'
http://www.thaigoodview.com/node/62923

 

รูปภาพของ knw32792

อ่ะ เม้นๆๆๆ ^^"

รูปภาพของ knw32794

เอามาย่อต่อก่อนน๊าา - -*

 ฝากด้วย

อาณาจักรของพืชจร้า >>>  http://www.thaigoodview.com/node/62858

เหงื่อ เหงื่อ และเหงื่อ!!! >>>  http://www.thaigoodview.com/node/62854 

รูปภาพของ knw32793

รูปเยอะดี ชอบๆๆ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 234 คน กำลังออนไลน์