• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:14791450cdd6b14531d4f2fe5fc8e7c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 18pt\">กากน้ำตาล (</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 18pt\">Molasse)<o:p></o:p></span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #333333\"><span style=\"font-size: small\">คุณสมบัติ</span></span></b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333\"><span style=\"font-size: small\"> <br />\n          <span lang=\"TH\">เป็นของเหลวสีดำที่เหนียวข้น ซึ่งไม่สามารถจะตกผลึกน้ำตาลได้อีก</span>  <span lang=\"TH\">เป็นเนื้อของสิ่งที่ไม่ใช่น้ำตาลที่ละลายปนอยู่ในน้ำอ้อย ซึ่งประกอบไปด้วยน้ำตาลซูโครส น้ำตาลอินเวอร์ท (</span>invert sugar) <span lang=\"TH\">และสารเคมี เช่น ปูนขาว ซึ่งใช้ในการตกตะกอนให้น้ำอ้อยใส ส่วนประกอบของกากน้ำตาลจะปรวนแปรไม่แน่นอน แล้วแต่ว่าได้มาจากอ้อยพันธุ์ไหนและผ่านกรรมวิธีอย่างไร แต่มักจะหนีไม่พ้นน้ำตาลซูโครส น้ำตาลอินเวอร์ทกับน้ำ ปัจจุบันนี้ โรงงานน้ำตาลทันสมัย มีความสามารถในการสกัดน้ำตาลออกจากกากน้ำตาลได้มากขึ้นแต่ก็ไม่หมดเสียทีเดียว เพราะถ้าสกัดให้ออกหมดจริงจะสิ้นค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้นจึงมีน้ำตาลซูโครสบางส่วนที่สูญเสียไปกับกากน้ำตาล ซึ่งมักจะสูญเสียไปมากกว่าสูญเสียไปทางอื่น โดยทั่วๆไปจะมีซูโครสปนอยู่ในกากน้ำตาลเฉลี่ย</span> 7.5 <span lang=\"TH\">เปอร์เซ็นต์ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">ส่วนประกอบของกากน้ำตาลหรือโมลาส</span></b><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<table width=\"75%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"1\" class=\"MsoNormalTable\" style=\"margin: auto auto auto 72.75pt; width: 75%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background: #dadada; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000000\">น้ำ</span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><br />\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ซูโครส</span><br />\n <span lang=\"TH\">ริดิวซิงชูการ์</span> <br />\n <span lang=\"TH\">น้ำตาลที่ใช้หมักเชื้อ</span><br />\n <span lang=\"TH\">เถ้าซัลเฟต</span> <br />\n <span lang=\"TH\">ยางและแป้ง</span> <br />\n <span lang=\"TH\">ขี้ผึ้ง</span> <o:p></o:p></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000000\">20.65 <br />\n 36.66<br />\n 13.00<br />\n 50.10<br />\n 15.00<br />\n 3.43<br />\n 0.38 <o:p></o:p></span></span></td>\n<td vAlign=\"top\" style=\"background: #dadada; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000000\">ไนโตรเจน</span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000000\"> <br />\n <span lang=\"TH\">ซิลิกาในรูป </span>SiO2<br />\n <span lang=\"TH\">ฟอสเฟต</span> P2O5<br />\n <span lang=\"TH\">โปแตสเซี่ยม </span>K2O<br />\n <span lang=\"TH\">แคลเซียม </span>CaO<br />\n <span lang=\"TH\">แมกนีเซียม </span>MgO <o:p></o:p></span></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000000\">0.95<br />\n 0.46<br />\n 0.12<br />\n 4.19<br />\n 1.35<br />\n 1.12 <o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333\"><o:p><span style=\"font-size: small\"> </span></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #333333\"><span style=\"font-size: small\">การใช้ประโยชน์</span></span></b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333\"><span style=\"font-size: small\"> <br />\n          <span lang=\"TH\">อุตสาหกรรมการผลิตเหล้าและแอลกอฮอล์ เป็นแหล่งใหญ่ที่ต้องการกากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบสำคัญในอุตสาหกรรม ผลผลิตที่ได้จากการหมักกากน้ำตาล ได้แก่ เอทิลแอลกอฮอล์ บิวธิลแอลกอฮอล์ อาซีโตน กรดซิตริก กลีเซอรอล (</span>glycerol) <span lang=\"TH\">และยีสต์</span>  <span lang=\"TH\">เอทิลแอลกอฮอล์ใช้ทำกรดอาซีติค เอธีลอีเธอร์ ฯลฯ สารประกอบอื่นที่ได้จากการหมักกากน้ำตาล ได้แก่ เอธิลอาซีเตท บิวธิลอา-ซีเตท อามีลอาซีเตท น้ำส้มสายชู และคาร์บอนไดออกไซด์แข็ง นอกจากนั้นถ้านำกากน้ำตาลที่ทำให้บริสุทธิ์ไปหมักและกลั่นจะได้ เหล้ายิน</span> (gin) <span lang=\"TH\">ส่าเหล้าหรือยีสต์ที่ตายแล้ว เป็นผลพลอยได้ซึ่งนำไปทำอาหารสัตว์ นอกจากนี้กากน้ำตาลยังใช้ทำยีสต์สำหรับทำขนมปังและเหล้าได้ด้วย</span>  <span lang=\"TH\">ยีสต์บางชนิดที่ให้โปรตีนสูงคือ </span><i>Torulopsis utilis </i><span lang=\"TH\">ก็สามารถเลี้ยงขึ้นมาได้จากกากน้ำตาล กากน้ำตาลสามารถนำมาทำกรดเป็นแลคติคได้ แม้ว่าจะทำได้น้อยมาก ในอดีตชาวปศุสัตว์ใช้กากน้ำตาลผสมลงในอาหารสัตว์ แต่ก็มีขีดจำกัด กล่าวคือ วัวตัวหนึ่งไม่ควรรับกากน้ำตาล เข้าไปเกิน</span> <st1:metricconverter ProductID=\"1.5 ปอนด์\" w:st=\"on\">1.5 <span lang=\"TH\">ปอนด์</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> สัตว์ชอบกินกากน้ำตาลคลุกกับหญ้าเพราะช่วยทำให้รสชาติดี รวมทั้งการใส่กากน้ำตาลในไซเลจ (</span>silage)<span lang=\"TH\">อีกด้วย มีผู้วิจัยทดลองใส่แอมโมเนียลงในกากน้ำตาล พบว่า สามารถผลิตโปรตีนได้และสัตว์สามารถกินกากน้ำตาลนี้เข้าไปและทำให้สร้างโปรตีนขึ้นในร่างกายสัตว์ได้ จึงเป็นสิ่งที่ประหลาดที่กากน้ำตาลเป็นสารคาร์โบไฮเดรต สามารถถูกสัตว์เปลี่ยนไปเป็นโปรตีนได้ผลดี ส่วนประกอบสำคัญของน้ำอ้อยอีกชนิดหนึ่งก็คือ กรดอโคนิติค ซึ่งจะผสมรวมอยู่ในกากน้ำตาล ซึ่งเราสามารถแยกได้โดยการตกตะกอนด้วยเกลือแคลเซียม กรดอโคนิติคนี้มีความสำคัญในการผลิตยางสังเคราะห์ พลาสติก เรซิน และสาร ชักเงา ประโยชน์สุดท้ายของกากน้ำตาลก็คือ การใช้ทำปุ๋ยหรือปรับคุณภาพดิน กากน้ำตาลมีส่วนประกอบของโพแทสเซียม อินทรีย์วัตถุ และธาตุรองอื่นๆ อีกมาก นอกจากนั้นยังเหมาะสำหรับปรับสภาพดินทราย หรือดินเลวที่ไม่มีการเกาะตัว เนื่องจากขาดอินทรีย์วัตถุอีกด้วย ประโยชน์สุดท้ายใช้ผสมกับชานอ้อยสำหรับทำถ่านใช้ในครัวเรือน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: red; font-size: 14pt\">ปัญหาของกากน้ำตาล เกิดจากการนำไปหมักกับพืชผักผลไม้ใช้ระยะเวลาสั้น ๆ อาจจะเป็น </span><span style=\"font-family: Tahoma; color: red; font-size: 14pt\">7 <span lang=\"TH\">วัน </span>15 <span lang=\"TH\">วัน แล้วนำไปใช้ ก็จะทำให้เกิดปัญหา กับดิน หรือเกษตรกรบางท่านผสมกากน้ำตาลกับน้ำหมักชีวภาพแล้วฉีดพ่น หรือรดพืชผักผลไม้เลย ก็จะทำให้เกิดปัญหาแก่ดินอีกเช่นกัน หากต้องการใช้กากน้ำตาล ในการหมักน้ำเอนไซม์สำหรับพืชก็ต้องนำน้ำเอนไซม์ มาหมักกับกากน้ำตาลในอัตราส่วน</span> <o:p></o:p></span></p>\n<div align=\"center\">\n<table width=\"80%\" cellPadding=\"0\" border=\"0\" class=\"MsoNormalTable\" style=\"margin: auto auto auto 36pt; width: 80%; background: gray\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">เอนไซม์ </span><span style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">1 <span lang=\"TH\">ส่วน + กากน้ำตาล </span>1 <span lang=\"TH\">ส่วน + น้ำมะพร้าว </span>1 <span lang=\"TH\">ส่วน + เปลือกสับปะรด </span>1 <span lang=\"TH\">ส่วน </span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><br />\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">เป็นเวลา </span>3-6 <span lang=\"TH\">เดือน</span></b><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">เพื่อสลายปูนขาวที่ติดมากับกากน้ำตาล ซึ่งเป็นตัวทำให้ดินแข็งกระด้าง เกิดการอุดตันของชั้นดิน และชั้นน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดเชื้อราดำที่ราก ของพืช เกิดรากเน่า</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">กากน้ำตาลจะสลายได้เร็วหรือช้า ขึ้นอยู่ที่ความเปรี้ยวของการหมัก การที่เราใส่น้ำมะพร้าวลงไป เพราะเป็นน้ำตาลกลูโคส และฟรุกโตส เป็น อาหารของยีสต์<span>  </span>ส่วนเปลือกสับปะรด จะมีจุลินทรีย์ที่ตาสับปะรดจำนวนมากกว่าผลไม้อื่น เมื่อนำมาใช้ในการหมักจะทำให้เกิดน้ำส้มสายชูได้เร็ว จึงช่วยใน การสลายกากน้ำตาลได้เร็วยิ่งขึ้น</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><span><span style=\"color: #000000\"> </span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"color: #0000a0\">การขยายเอนไซม์ที่หมักจากกากน้ำตาล</span></b><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></p>\n<div align=\"center\">\n<table width=\"80%\" cellPadding=\"0\" border=\"0\" class=\"MsoNormalTable\" style=\"margin: auto auto auto 36pt; width: 80%; background: gray\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">นำเอนไซม์ </span><span style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">2 <span lang=\"TH\">ปี </span>1 <span lang=\"TH\">ส่วน + กากน้ำตาล </span>1 <span lang=\"TH\">ส่วน + น้ำ </span>10 <span lang=\"TH\">ส่วน</span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><br />\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">ขยายต่อได้ทุก </span>2 <span lang=\"TH\">เดือน</span></b><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">จะได้น้ำเอนไซม์สำหรับฉีดไล่แมลงศัตรูพืช และโรคพืช โดยนำน้ำเอนไซม์ </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">1 <span lang=\"TH\">ส่วน ต่อน้ำ </span>100 <span lang=\"TH\">ส่วน ผสมกันแล้วฉีดพ่น ใช้บำบัดน้ำเสีย ให้เป็นน้ำสะอาดได้อีกด้วย<span>   </span>เอนไซม์ที่หมักจากกากน้ำตาลขยายทุก </span>2 <span lang=\"TH\">เดือนให้ได้ถึง </span>6 <span lang=\"TH\">ปี หรือยิ่งนานยิ่งดี ยิ่งจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">ตัวอย่างของเกษตรกรสวนส้ม คือ คุณ<st1:personname ProductID=\"กำพล ธัญญธาร\" w:st=\"on\">กำพล ธัญญธาร</st1:personname> เป็นเจ้าของสวนส้ม </span><st1:metricconverter ProductID=\"100 ไร่\" w:st=\"on\"><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">100 <span lang=\"TH\">ไร่</span></span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">มีส้ม </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">5,000 <span lang=\"TH\">ต้น จังหวัดปทุมธานี โทร.(</span>02)901045, 9059081, (01)8011644 <span lang=\"TH\">คุณกำพล และกลุ่มเพื่อน ๆ ได้ไปอบรมเกี่ยวกับเกษตร อินทรีย์ แล้วนำกลับมาใช้ที่สวนส้มของตนเองโดยใช้น้ำสกัดชีวภาพ </span>1 <span lang=\"TH\">ส่วน + กากน้ำตาล </span>1 <span lang=\"TH\">ส่วน + น้ำ </span>100 <span lang=\"TH\">ส่วน</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">ฉีดพ่นใบ ดอก ผลของส้ม โดยหวังว่าคงจะเร่งใบ เร่งดอก เร่งผลผลิต แต่กลับกลายมีเพลี้ยขึ้นต้นส้มเต็มไปหมด แล้วมดก็ตามมามากมาย<span>  </span>ดอกส้มที่คิดว่าจะติดผลมาก แรกก็ดูจะคิดดี แต่พอทิ้งไว้สัก </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">2-3 <span lang=\"TH\">วัน ดอกก็ร่วง นำไปรดโคนต้น ก็เกิดดินแข็งกระด้างเป็นดาน รดน้ำไม่ลง จึงต้องรีบหยุดใช้ รวมทั้งสมาชิกเพื่อน ๆ ของ คุณกำพลด้วย<span>  </span>ตอนนี้ คุณกำพลมีน้ำหมักหัวปลา ที่หมักไว้กับกากน้ำตาล ก็นำมาหมักใหม่ โดยใช้อัตราส่วน</span> <o:p></o:p></span></span></p>\n<div align=\"center\">\n<table width=\"80%\" cellPadding=\"0\" border=\"0\" class=\"MsoNormalTable\" style=\"margin: auto auto auto 36pt; width: 80%; background: gray\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">น้ำหมักหัวปลา </span><st1:metricconverter ProductID=\"6 กก.\" w:st=\"on\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">6 <span lang=\"TH\">กก.</span></span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\"> + น้ำเอนไซม์ </span><st1:metricconverter ProductID=\"6 กก.\" w:st=\"on\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">6 <span lang=\"TH\">กก.</span></span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\"> + น้ำ </span><st1:metricconverter ProductID=\"60 ลิตร\" w:st=\"on\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\">60 <span lang=\"TH\">ลิตร</span></span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: white; font-size: 14pt\"> </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><br />\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">หมักทิ้งไว้ </span>3 <span lang=\"TH\">เดือน</span></b><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">จึงจะนำมาใช้ได้ สังเกตดูว่ามีกลิ่นเปรี้ยว หรือความหนืดของกากน้ำตาหายไป จึงนำมาใช้ได้</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">ยังมีสวนส้ม ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระอธิการนพดุล โทร.(</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\">01)4859595 <span lang=\"TH\">สวนส้มจังหวัดระยอง โทร.(</span>01)3400269 <span lang=\"TH\">ก็ได้ผลกระทบจากการใช้ น้ำหนัก ที่ไม่สลายกากน้ำตาลให้สิ้นสุดขบวนการก่อนนำไปใช้</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 14pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n', created = 1720389038, expire = 1720475438, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:14791450cdd6b14531d4f2fe5fc8e7c3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสลายพิษกากน้ำตาล

กากน้ำตาล (Molasse)คุณสมบัติ
          เป็นของเหลวสีดำที่เหนียวข้น ซึ่งไม่สามารถจะตกผลึกน้ำตาลได้อีก  เป็นเนื้อของสิ่งที่ไม่ใช่น้ำตาลที่ละลายปนอยู่ในน้ำอ้อย ซึ่งประกอบไปด้วยน้ำตาลซูโครส น้ำตาลอินเวอร์ท (invert sugar) และสารเคมี เช่น ปูนขาว ซึ่งใช้ในการตกตะกอนให้น้ำอ้อยใส ส่วนประกอบของกากน้ำตาลจะปรวนแปรไม่แน่นอน แล้วแต่ว่าได้มาจากอ้อยพันธุ์ไหนและผ่านกรรมวิธีอย่างไร แต่มักจะหนีไม่พ้นน้ำตาลซูโครส น้ำตาลอินเวอร์ทกับน้ำ ปัจจุบันนี้ โรงงานน้ำตาลทันสมัย มีความสามารถในการสกัดน้ำตาลออกจากกากน้ำตาลได้มากขึ้นแต่ก็ไม่หมดเสียทีเดียว เพราะถ้าสกัดให้ออกหมดจริงจะสิ้นค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้นจึงมีน้ำตาลซูโครสบางส่วนที่สูญเสียไปกับกากน้ำตาล ซึ่งมักจะสูญเสียไปมากกว่าสูญเสียไปทางอื่น โดยทั่วๆไปจะมีซูโครสปนอยู่ในกากน้ำตาลเฉลี่ย 7.5 เปอร์เซ็นต์
ส่วนประกอบของกากน้ำตาลหรือโมลาส

น้ำ
ซูโครส
ริดิวซิงชูการ์
น้ำตาลที่ใช้หมักเชื้อ
เถ้าซัลเฟต
ยางและแป้ง
ขี้ผึ้ง
20.65
36.66
13.00
50.10
15.00
3.43
0.38
ไนโตรเจน
ซิลิกาในรูป SiO2
ฟอสเฟต P2O5
โปแตสเซี่ยม K2O
แคลเซียม CaO
แมกนีเซียม MgO
0.95
0.46
0.12
4.19
1.35
1.12

 การใช้ประโยชน์
          อุตสาหกรรมการผลิตเหล้าและแอลกอฮอล์ เป็นแหล่งใหญ่ที่ต้องการกากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบสำคัญในอุตสาหกรรม ผลผลิตที่ได้จากการหมักกากน้ำตาล ได้แก่ เอทิลแอลกอฮอล์ บิวธิลแอลกอฮอล์ อาซีโตน กรดซิตริก กลีเซอรอล (glycerol) และยีสต์  เอทิลแอลกอฮอล์ใช้ทำกรดอาซีติค เอธีลอีเธอร์ ฯลฯ สารประกอบอื่นที่ได้จากการหมักกากน้ำตาล ได้แก่ เอธิลอาซีเตท บิวธิลอา-ซีเตท อามีลอาซีเตท น้ำส้มสายชู และคาร์บอนไดออกไซด์แข็ง นอกจากนั้นถ้านำกากน้ำตาลที่ทำให้บริสุทธิ์ไปหมักและกลั่นจะได้ เหล้ายิน (gin) ส่าเหล้าหรือยีสต์ที่ตายแล้ว เป็นผลพลอยได้ซึ่งนำไปทำอาหารสัตว์ นอกจากนี้กากน้ำตาลยังใช้ทำยีสต์สำหรับทำขนมปังและเหล้าได้ด้วย  ยีสต์บางชนิดที่ให้โปรตีนสูงคือ Torulopsis utilis ก็สามารถเลี้ยงขึ้นมาได้จากกากน้ำตาล กากน้ำตาลสามารถนำมาทำกรดเป็นแลคติคได้ แม้ว่าจะทำได้น้อยมาก ในอดีตชาวปศุสัตว์ใช้กากน้ำตาลผสมลงในอาหารสัตว์ แต่ก็มีขีดจำกัด กล่าวคือ วัวตัวหนึ่งไม่ควรรับกากน้ำตาล เข้าไปเกิน 1.5 ปอนด์ สัตว์ชอบกินกากน้ำตาลคลุกกับหญ้าเพราะช่วยทำให้รสชาติดี รวมทั้งการใส่กากน้ำตาลในไซเลจ (silage)อีกด้วย มีผู้วิจัยทดลองใส่แอมโมเนียลงในกากน้ำตาล พบว่า สามารถผลิตโปรตีนได้และสัตว์สามารถกินกากน้ำตาลนี้เข้าไปและทำให้สร้างโปรตีนขึ้นในร่างกายสัตว์ได้ จึงเป็นสิ่งที่ประหลาดที่กากน้ำตาลเป็นสารคาร์โบไฮเดรต สามารถถูกสัตว์เปลี่ยนไปเป็นโปรตีนได้ผลดี ส่วนประกอบสำคัญของน้ำอ้อยอีกชนิดหนึ่งก็คือ กรดอโคนิติค ซึ่งจะผสมรวมอยู่ในกากน้ำตาล ซึ่งเราสามารถแยกได้โดยการตกตะกอนด้วยเกลือแคลเซียม กรดอโคนิติคนี้มีความสำคัญในการผลิตยางสังเคราะห์ พลาสติก เรซิน และสาร ชักเงา ประโยชน์สุดท้ายของกากน้ำตาลก็คือ การใช้ทำปุ๋ยหรือปรับคุณภาพดิน กากน้ำตาลมีส่วนประกอบของโพแทสเซียม อินทรีย์วัตถุ และธาตุรองอื่นๆ อีกมาก นอกจากนั้นยังเหมาะสำหรับปรับสภาพดินทราย หรือดินเลวที่ไม่มีการเกาะตัว เนื่องจากขาดอินทรีย์วัตถุอีกด้วย ประโยชน์สุดท้ายใช้ผสมกับชานอ้อยสำหรับทำถ่านใช้ในครัวเรือน
 ปัญหาของกากน้ำตาล เกิดจากการนำไปหมักกับพืชผักผลไม้ใช้ระยะเวลาสั้น ๆ อาจจะเป็น 7 วัน 15 วัน แล้วนำไปใช้ ก็จะทำให้เกิดปัญหา กับดิน หรือเกษตรกรบางท่านผสมกากน้ำตาลกับน้ำหมักชีวภาพแล้วฉีดพ่น หรือรดพืชผักผลไม้เลย ก็จะทำให้เกิดปัญหาแก่ดินอีกเช่นกัน หากต้องการใช้กากน้ำตาล ในการหมักน้ำเอนไซม์สำหรับพืชก็ต้องนำน้ำเอนไซม์ มาหมักกับกากน้ำตาลในอัตราส่วน

เอนไซม์ 1 ส่วน + กากน้ำตาล 1 ส่วน + น้ำมะพร้าว 1 ส่วน + เปลือกสับปะรด 1 ส่วน


เป็นเวลา 3-6 เดือน
เพื่อสลายปูนขาวที่ติดมากับกากน้ำตาล ซึ่งเป็นตัวทำให้ดินแข็งกระด้าง เกิดการอุดตันของชั้นดิน และชั้นน้ำใต้ดิน ทำให้เกิดเชื้อราดำที่ราก ของพืช เกิดรากเน่า กากน้ำตาลจะสลายได้เร็วหรือช้า ขึ้นอยู่ที่ความเปรี้ยวของการหมัก การที่เราใส่น้ำมะพร้าวลงไป เพราะเป็นน้ำตาลกลูโคส และฟรุกโตส เป็น อาหารของยีสต์  ส่วนเปลือกสับปะรด จะมีจุลินทรีย์ที่ตาสับปะรดจำนวนมากกว่าผลไม้อื่น เมื่อนำมาใช้ในการหมักจะทำให้เกิดน้ำส้มสายชูได้เร็ว จึงช่วยใน การสลายกากน้ำตาลได้เร็วยิ่งขึ้น การขยายเอนไซม์ที่หมักจากกากน้ำตาล

นำเอนไซม์ 2 ปี 1 ส่วน + กากน้ำตาล 1 ส่วน + น้ำ 10 ส่วน


ขยายต่อได้ทุก 2 เดือน
จะได้น้ำเอนไซม์สำหรับฉีดไล่แมลงศัตรูพืช และโรคพืช โดยนำน้ำเอนไซม์ 1 ส่วน ต่อน้ำ 100 ส่วน ผสมกันแล้วฉีดพ่น ใช้บำบัดน้ำเสีย ให้เป็นน้ำสะอาดได้อีกด้วย   เอนไซม์ที่หมักจากกากน้ำตาลขยายทุก 2 เดือนให้ได้ถึง 6 ปี หรือยิ่งนานยิ่งดี ยิ่งจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างของเกษตรกรสวนส้ม คือ คุณกำพล ธัญญธาร เป็นเจ้าของสวนส้ม 100 ไร่มีส้ม 5,000 ต้น จังหวัดปทุมธานี โทร.(02)901045, 9059081, (01)8011644 คุณกำพล และกลุ่มเพื่อน ๆ ได้ไปอบรมเกี่ยวกับเกษตร อินทรีย์ แล้วนำกลับมาใช้ที่สวนส้มของตนเองโดยใช้น้ำสกัดชีวภาพ 1 ส่วน + กากน้ำตาล 1 ส่วน + น้ำ 100 ส่วน ฉีดพ่นใบ ดอก ผลของส้ม โดยหวังว่าคงจะเร่งใบ เร่งดอก เร่งผลผลิต แต่กลับกลายมีเพลี้ยขึ้นต้นส้มเต็มไปหมด แล้วมดก็ตามมามากมาย  ดอกส้มที่คิดว่าจะติดผลมาก แรกก็ดูจะคิดดี แต่พอทิ้งไว้สัก 2-3 วัน ดอกก็ร่วง นำไปรดโคนต้น ก็เกิดดินแข็งกระด้างเป็นดาน รดน้ำไม่ลง จึงต้องรีบหยุดใช้ รวมทั้งสมาชิกเพื่อน ๆ ของ คุณกำพลด้วย  ตอนนี้ คุณกำพลมีน้ำหมักหัวปลา ที่หมักไว้กับกากน้ำตาล ก็นำมาหมักใหม่ โดยใช้อัตราส่วน

น้ำหมักหัวปลา 6 กก. + น้ำเอนไซม์ 6 กก. + น้ำ 60 ลิตร


หมักทิ้งไว้ 3 เดือน
จึงจะนำมาใช้ได้ สังเกตดูว่ามีกลิ่นเปรี้ยว หรือความหนืดของกากน้ำตาหายไป จึงนำมาใช้ได้ ยังมีสวนส้ม ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระอธิการนพดุล โทร.(01)4859595 สวนส้มจังหวัดระยอง โทร.(01)3400269 ก็ได้ผลกระทบจากการใช้ น้ำหนัก ที่ไม่สลายกากน้ำตาลให้สิ้นสุดขบวนการก่อนนำไปใช้    

สร้างโดย: 
janyatrue

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 403 คน กำลังออนไลน์