• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:92a85830b2abd17265772e3945cff7e1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\nบทที่ 1  บทนำ\n</p>\n<p>\nความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา                  <br />\n         ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งซึ่งแสดงถึงความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อ สื่อสารของคนไทยและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่คนไทยทุกคนควรภูมิใจ และรักษาให้ยั่งยืนตลอดไป การมีภาษาของชาตินอกจากมีไว้เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันให้เข้าใจความ หมาย ความคิด ความ รู้สึกซึ่งมีต่อกันและกันแล้ว ยังทำให้คนในชาติ สำนึกต่อความเป็นไทยอีกด้วย วิธีหนึ่งที่จะถ่ายทอดสู่เยาวชนรุ่นหลังก็คือ ด้วย วิธีการให้การศึกษาในเรื่องนี้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กำหนดให้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นกลุ่มสาระหนึ่งที่เป็นกลุ่ม สาระการเรียนรู้หลักในการพัฒนาให้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ซึ่งมุ่งให้มีทักษะพื้นฐานทั้งในด้านการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน หลักเกณฑ์ทางภาษาและวรรณกรรม โดยมีความเชื่อว่าผู้ เรียนที่มีทักษะทางภาษาไทยดีจะสามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อความคิด  ความเข้าใจ และแสวงหาความรู้ในสรรพวิชาสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้การจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นในระดับประถมศึกษาจะประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใดนั้นย่อมขึ้นอยู่กับทักษะทางภาษาของ ผู้เรียน  และกระบวนการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นสำคัญ ซึ่งถ้าได้มีการให้ความรู้อย่างครบถ้วนต่อเนื่อง  และสม่ำเสมอในทุกด้านแล้วก็จะสามารถสร้างความรู้ความเข้าใจและนำทักษะทางภาษา ไทยไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม  แต่ การที่ผู้เรียนจะเกิดทักษะดังกล่าวได้ดีก็ต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นสำคัญ อีกทั้งครูผู้สอนจะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า  มี ความรู้ มีทักษะและมีเจตคติที่ดีและ ที่ถูกต้องด้วย                   <br />\n        ในเขตพื้นที่ชายแดนภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามลายูถิ่นซึ่งถือว่าเป็นภาษาแม่ ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นจึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในจังหวัด ปัตตานีจึงต้องประสบกับปัญหาการใช้ภาษาไทยหลายด้านสืบต่อกันมา เช่น ฟังไม่เข้าใจ  เด็กพูด ออกเสียงไม่ชัด อ่านไม่ออก เขียน ไม่ได้ การสื่อสารไม่ ชัดเจน เข้าใจความหมายไม่ตรง กัน นอกจากนี้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำให้ครูไม่สามารถทำงานได้เต็มที่มีการปิดเรียนบ่อยๆ ครูมีเวลาอยู่ในโรงเรียนจำกัด ทำให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาไม่ต่อเนื่อง ครูผู้สอนใช้กิจกรรมการเรียนที่ไม่หลากหลาย ส่วนใหญ่ มักใช้เทคนิควิธีทีเหมือนกับการจัดการเรียนรู้ในเขตภูมิภาคอื่น การจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสอนตามทีหนังสือเรียนกำหนด ซึ่งมีเนื้อหามาก ครูกลัวว่าจะสอนไม่ทัน ก็จะรีบสอนเพื่อให้จบทุกหน่วยการเรียน การเน้นเพื่อฝึกฝนทักษะแต่ละด้านใน เชิงบูรณาการจึงมีน้อยกว่าที่ควรจะได้ฝึกฝน จึงทำให้ผู้เรียนด้อยทักษะทางภาษาอันมี ผลต่อการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นด้อยตามไปด้วย <br />\n         จากการวัดประเมินผลและข้อมูลทางด้านการเรียนรู้ภาษาไทยของโรงเรียนบ้านท่ากำชำพบว่ามีนักเรียนอีกเป็นจำนวนมากที่มีพื้นฐานทางภาษาไทยอยู่ในระดับต่ำและต้องได้รับการส่งเสริมโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายวิธีและมีการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องเป็นสำคัญ โรงเรียนบ้านท่ากำชำจึงได้เล็งเห็นความ สำคัญและความจำเป็นในเรื่องนี้เป็นเรื่องหลักจึงได้จัดให้มีโครงการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในระดับช่วงชั้นที่ 1 และช่วงชั้นที่ 2 ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักคือครูผู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 <br />\nทุกคนที่อยู่ในโรงเรียนบ้านท่ากำชำ ได้รับการพัฒนาอย่างถูกวิธีและต่อเนื่อง จึงได้กำหนดกิจกรรมเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่องและครบวงจร คือจัดให้มีการสำรวจข้อมูลพื้นฐานทางการเรียนรู้ภาษาไทย โดยเน้นความสามารถด้านการอ่านและเขียนเป็นหลัก จัดทำคู่มือการดำเนินงานโครงการการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้โรงเรียนบ้านท่ากำชำ จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนอย่างต่อเนื่องตลอดปีการศึกษาอย่างหลากหลายวิธีตามสภาพปัญหาของผู้เรียน รวบรวมข้อมูลการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนทุกคน  ภาคเรียนละ 1 ครั้ง และจัดให้มีการประเมินความสามารถด้านการอ่านและเขียนนักเรียนใน ช่วงชั้นที่ 1 และช่วงชั้นที่  2 โดย ดำเนินการประเมินนักเรียนทุนคน โรงเรียนบ้านท่ากำชำ จึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้นในปีการศึกษา  2552  \n</p>\n<p>\n<br />\nวัตถุประสงค์                <br />\n         - เพื่อ พัฒนาความสามารถด้านการอ่านและเขียนของนักเรียนเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน               <br />\n         - เพื่อ พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันของนักเรียนทุกคน           <br />\n         - เพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน              <br />\n         - เพื่อ เผยแพร่ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ให้กับผู้เกี่ยวข้องทุกระดับได้ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาทักษะการอ่านและเขียน  \n</p>\n<p>\n<br />\nการดำเนินงาน                <br />\n        1 กำหนดกิจกรรม/โครงการไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ โรงเรียน โดยโรงเรียนบ้านท่ากำชำ ได้กำหนดโครงการพัฒนาการ อ่านออก  เขียนได้ไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีของโรงเรียนเพื่อให้การดำเนินงานของโครงการเป็นไปอย่างมีระบบ สามารถ ตรวจสอบได้เพื่อให้เห็นพัฒนาการของนักเรียน                <br />\n        2  แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ  โดยมีการประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะทำงานและผู้รับผิดชอบของแต่ละกลุ่ม โดยแยก เป็นช่วงชั้น  เช่น ครูช่วงชั้นที่ 1 ก็ จะรับผิดชอบช่วงชั้นที่ 1เพราะครูจะรู้จักนักเรียนอยู่แล้วในระดับหนึ่งทำให้ง่ายต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน                 <br />\n        3 กำหนดเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม ใช้ คาบซ่อมเสริมของทุกวันมาจัดกิจกรรม ซึ่งมีคาบ ซ่อมเสริม  5 ชั่วโมง/สัปดาห์ และเดิมคาบซ่อมเสริมเป็นคาบสุดท้ายของทุกวันนักเรียนไม่ค่อยมีความพร้อมที่จะเรียน ทางฝ่ายวิชาการ จึงได้จัดตารางเรียนให้คาบซ่อมเสริมมาอยู่ใน  2 คาบแรกของวันจันทร์ 2 คาบแรกของวัน พุธ และ 1คาบแรกของวันศุกร์ เพื่อให้นัก เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนมากที่สุด                  <br />\n        4  จัดทำ/จัดหาหลักสูตรที่ใช้สอนโดยครูที่รับผิดชอบของแต่ละกลุ่มกำหนดเป้าหมายของ ผู้เรียนจัดทำกำหนดการสอน พิจารณา/จัดหาหลักสูตรและเนื้อหาที่ใช้สอนให้เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน<br />\n        5 สำรวจ นักเรียนอ่านออก เขียนไม่ได้  และคัด กรองนักเรียน โดยการสำรวจนักเรียนในแต่ละห้องแล้วแยกนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม ที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้  กลุ่มอ่าน  เขียนได้บ้าง และ กลุ่มที่อ่านออก  เขียนได้<br />\n        6  แบ่ง กลุ่มนักเรียน นำข้อมูลที่ได้มาแบ่งกลุ่มนักเรียนดังนี้                    <br />\n          นักเรียนช่วง ชั้นที่  1  ชั้น ป.1  จะอยู่กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้ เพราะนักเรียนยังไม่มี พื้นฐานด้านการอ่าน และการเขียน  ชั้น ป.2-ป.3 จะแบ่งนักเรียนเป็นสองกลุ่มคือ  กลุ่ม อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้  และกลุ่มอ่าน  ออกเขียนได้<br />\n          นักเรียนช่วงชั้น ที่ 2 ชั้น ป.4 -  ป.6  จะแบ่งนักเรียนเป็น  3  กลุ่ม คือ  กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียน ไม่ได้   กลุ่มอ่าน  เขียนได้บ้าง  และกลุ่มอ่านออก  เขียนได้    <br />\n          สรุปจะได้ นักเรียนทั้งหมด  6 กลุ่ม คือ                   <br />\n            -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้ ช่วงชั้นที่  1                     <br />\n            -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง    ช่วงชั้นที่  1                       <br />\n            -   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้    ช่วงชั้นที่  1                    <br />\n            -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้   ช่วงชั้นที่  2                          <br />\n            -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง          ช่วงชั้นที่  2                        <br />\n            -   กลุ่มอ่านออก เขียนได้           ช่วงชั้นที่  2                <br />\n         7  วิเคราะห์นักเรียนเป็นราย บุคคลโดยการวิเคราะห์สภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละคน เพื่อรู้สภาพปัญหาของนักเรียนซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการแก้ปัญหาและจัดกิจกรรม การเรียนการสอน              <br />\n         8  จัดกิจกรมการเรียนรู้  โดยนำผล การวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล มากำหนดเป็นกิจกรรมการเรียน รู้ ซึ่งจะเน้นคำพื้นฐานที่ สพฐ.  กำหนด             <br />\n         9  บันทึกพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในด้านการอ่าน  การ เขียน ทุกๆสัปดาห์ โดยหลังจากผู้เรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์จะบันทึกพัฒนาการของผู้เรียนทุกคน<br />\n        10  วัดและประเมินผลเป็นระยะๆ  โดย วัดผลประเมินผลทุกสัปดาห์  และรวบรวบข้อมูลทุกเดือน<br />\n        11  ส่งต่อนักเรียนที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้นโดยส่งต่อไปยังกลุ่มที่มีความสามารถในด้านการอ่านและการเขียนสูงขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง <br />\n        12 สรุปผลการ ดำเนินงาน  \n</p>\n<p>\n<br />\nผลที่คาดว่าจะได้รับ              <br />\n        1. นักเรียนโรงเรียนบ้านท่ากำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับการพัฒนาการด้านการอ่าน การเขียนดีขึ้น สังเกตได้จากจำนวนนักเรียนที่มีการส่งต่อ หรือย้ายกลุ่มจากกลุ่มที่อ่านไม่ออก เขียน ไม่ได้ ไปยังกลุ่มกลุ่มที่อ่านออก เขียนได้  มีมากขึ้นเป็นลำดับ ซึ่งจะส่งผลให้นัก เรียนสามารถเรียนรู้ในวิชาต่างๆได้ดีขึ้น  ทำ ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นด้วย              <br />\n        2. ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6มีข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการพัฒนาการสอนภาษาไทย ในปีการศึกษา  2552              <br />\n        3. โรงเรียนบ้านท่ากำชำมีข้อมูลความสามารถด้านการอ่านและเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6              <br />\n        4. ผู้เกี่ยว ข้องทุกระดับและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานีเขต 1ได้ใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาการสอนภาษาไทยในปีการศึกษา 2553  \n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p>\nบทที่ 2 \n</p>\n<p>\nเอกสารที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับกิจกรรมพัฒนาการอ่านออก เขียนได้                                    \n</p>\n<p>\n<br />\n                       ปัจจุบันได้มีการศึกษาเกี่ยวกับการอ่านอย่างกว้างขวางมาก และมีการกล่าวถึงความหมายของการอ่านในลักษณะต่างๆดังนี้ แบทเลอร์และเคลย์กล่าวว่า การอ่านคือการถ่ายทอดความหมายจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง โดยอาศัยภาษาเป็นสื่อ โดยผู้เขียนถ่ายทอดความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจตามความคิดและเจตนาของผู้เขียน ซึ่งการอ่านนี้เป็นกระบวนการเรียนรู้เช่นเดียวกับการพูด การออกเสียงเป็นคำๆ หรือหลายคำ ซึ่งรวมกันเข้าเป็นประโยคที่มีความหมายเมื่อเราอ่านนั้น มิได้จำกัดแต่การอ่านเพียงอย่างเดียว แต่การพูดเป็นรากฐานของการอ่าน ก็เริ่มด้วยวิธีนี้เช่นกัน ( นิตยา ประพฤติกิจ.2538.2 ) ศรีรัตน์ เจิงกลิ่นจันทร์ ( 2538.2 )  กล่าวว่า การอ่านเป็นการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิด และนำความคิดนั้นไปใช้ประโยชน์ ตัวอักษรเป็นเครื่องหมายแทนคำพูด เพราะฉะนั้นหัวใจของการอ่านจึงอยู่ที่การเข้าใจความหมายของคำ สรุปได้ว่า การอ่านคือ การรับการถ่ายทอดความหมายจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยใช้ ตัวอักษรเป็นสื่อความคิดและเจตนาของผู้เขียน หรือการทำความเข้าใจกับสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนต้องการ การอ่านเป็นการตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะต่างๆ ตลอดจนความก้าวหน้าทางวิชาชีพ เกิดความคิดสร้างสรรค์ ความเพลิดเพลิน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทำให้มนุษย์ทันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวต่างๆของโลก สามารถแก้ปัญหาทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และปัญหาส่วนตัวได้ ( กานต์มณี ศักดิ์เจริญ.2529:332 ) การอ่านเป็นทักษะที่ต้องฝึกเช่นเดียวกับทักษะอื่นๆ เด็กมีทักษะในการอ่านไว มีสมาธิในการอ่านต่อเนื่องจับประเด็นความได้ชัดเจน มีอารมณ์และจินตนาการร่วมอยู่ด้วย ทำให้เกิดความชำนาญในการรับรู้ทางด้านการคิดเป็น การสรุป การตอบโต้ ทำให้เกิดความคิดเป็นระบบ และการรับรู้เป็นระบบ การแสดงออกและการสื่อสารต่อผู้อื่นต่อโลกภายนอกก็ชัดเจนเป็นระบบ ซึ่งอนุภาพของการอ่านหนังสือจะนำเด็กไปสู่เส้นทางของการเป็นคนฉลาด ( นิดดา หงส์วิวัฒน์. 2537:7-8 )       \n</p>\n<p>\n ความพร้อมของการอ่าน                                               ขั้นตอนพัฒนาการทางภาษาและการเรียนรู้ภาษาของเด็กโลแกน และโลแกน ( เยาวพา เดชะคุปต์. 2528 : 40 ; อ้างอิงมาจาก Logan and Logan.1974:207) ได้แบ่งพัฒนาการทางภาษาออกเป็น 7 ขั้นดังนี้ <br />\n         1 ระยะเปะปะ อายุแรกเกิดถึง 6 เดือน ในระยะนี้เด็กจะเปล่งเสียงดังๆ ที่ยังไม่มีความหมายการเปล่งเสียงของเด็กเพื่อบอกความต้องการของเขา\n</p>\n<p>\n         2 ระยะแยกแยะ อายุ 6 เดือนถึง 1 ปี เด็กจะเริ่มเข้าสู่ระยะที่สอง ซึ่งเด็กสามารถแยกแยะเสียงต่างๆที่เราได้ยิน แล้วเด็กจะรู้สึกพอใจที่ส่งเสียงถ้าเสียงใดที่เขาเปล่งออกมาได้รับการตอบสนองในทางบวก เขาก็จะเปล่งเสียงนั้นซ้ำอีก ในบางครั้งเด็กจะเลียนเสียงสูงๆต่ำๆที่มีคนพูดคุยกับเขา\n</p>\n<p>\n         3 ระยะเลียนแบบ อายุ 1-2 ปี ในระยะนี้เด็กจะเริ่มเลียนเสียงต่างๆที่เขาได้ยิน เช่นเสียงของพ่อแม่ ผู้ใหญ่ใกล้ชิด เสียงที่เปล่งออกมาอย่างไม่มีความหมายจะค่อยๆหายไป และเด็กจะเริ่มฟังเสียงที่ได้รับการตอบสนองซึ่งนับว่าพัฒนาการทางภาษาจะเริ่มต้นอย่างแท้จริงในระยะนี้\n</p>\n<p>\n         4 ระยะขยาย อายุ 2-4 ขวบ ในระยะนี้เด็กจะหัดพูด โดยเริ่มจากการหัดเรียกชื่อ คน สัตว์ และสิ่งของที่อยู่ใกล้ตัว เขาจะเริ่มเข้าใจถึงกาใช้สัญลักษณ์ในการสื่อความหมาย ซึ่งเป็นการสื่อความหมายในโลกของผู้ใหญ่ การพูดของเด็กในระยะแรกๆจะเป็นการออกเสียงในคำนามต่างๆเป็นส่วนใหญ่ เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ฯลฯ และคำคุณศัพท์ต่างๆที่เขาเห็น รู้สึก ได้ยิน\n</p>\n<p>\n         5 ระยะโครงสร้าง อายุ 4-5 ขวบ ในระยะนี้เด็กจะพัฒนาความสามารถในการรับรู้และการสังเกต เด็กจะเริ่มเล่นสนุกกับคำและรู้จักคิดคำและประโยคของตนเอง โดยอาศัยการผูกคำวลี และประโยคที่เขาได้ยินคนอื่นพูด เด็กจะเริ่มคิดกฎเกณฑ์ การประสมคำและหาความหมายของคำและวลี โดยเด็กจะเริ่มรู้สึกสนุกกับการเปล่งเสียงโดยเขาจะเล่นเป็นเกมกับเพื่อนหรือสมาชิกในครอบครัว\n</p>\n<p>\n         6 ระยะตอบสนอง อายุ 5-6 ขวบ ในระยะนี้ความสามารถในการคิดและพัฒนาการทางภาษาของเด็กจะสูงขึ้น เขาจะเริ่มพัฒนาภาษาไปสู่ภาษาที่เป็นแบบแผนมากขึ้น และการใช้ภาษานั้นกับสิ่งต่างๆรอบตัว พัฒนาการทางภาษาของเด็กวัยนี้จะเริ่มต้นเมื่อเข้าเรียนในชั้นอนุบาล โดยเด็กจะเริ่มใช้ไวยากรณ์อย่างง่ายได้ รู้จักใช้คำเกี่ยวข้องกับบ้านและโรงเรียน ภาษาที่เด็กใช้ในการสื่อความหมายในระยะนี้จะเกิดจากสิ่งที่เขามองเห็นและรับรู้\n</p>\n<p>\n         7 ระยะสร้างสรรค์ อายุ 6 ปีขึ้นไป ในระยะนี้ได้แก่ระยะเด็กเริ่มเข้าสู่โรงเรียน เด็กจะเล่นสนุกกับคำ และหาวิธีสื่อความหมายด้วยตัวเลข เด็กในระยะนี้จะพัฒนา วิเคราะห์ และ สร้างสรรค์ ทักษะการสื่อความหมายโดยใช้ถ้อยคำสำนวนเปรียบเทียบ และภาษาที่พูดเป็นนามธรรมมากขึ้น และเขารู้สึกสนุกกับการแสดงความคิดเห็นโดยการพูดและการเขียน                    \n</p>\n<p>\nปัจจัยส่งเสริมการอ่าน    <br />\n         สมิธและจอห์นสัน ได้อธิบายถึงองค์ประกอบต่างๆ ที่มีต่อการส่งเสริมและพัฒนาการด้านการอ่านของเด็กไว้ดังนี้\n</p>\n<p>\n         1 ระดับสติปัญญา การอ่านเป็นงานประเภทหนึ่งที่เด็กต้องพัฒนาให้เกิดความสำเร็จ การพัฒนาด้านการอ่านนี้ พบว่า เด็กบางคนทำได้ดีกว่าเด็กบางคนทั้งนี้เนื่องจากสติปัญญานั่นเอง\n</p>\n<p>\n         2 ทักษะขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะและความพร้อม การเริ่มต้นสอนอ่าน ต้องคำนึงถึงความพร้อม ความสารมารถของเด็กควบคู่ไปด้วย เพราะการอ่านต้องใช้ทักษะต่างๆที่เป็นทักษะย่อยประกอบกัน เช่น การใช้สายตา การใช้อวัยวะในการอ่านเสียง\n</p>\n<p>\n         3 แรงจูงใจ แรงจูงใจทำให้เด็กอ่าน มีแรงจูงใจภายในและภายนอก แรงจูงใจภายในเกิดจากการค้นพบคุณค่าของการอ่านด้วยตนเอง ส่วนแรงจูงใจภายนอกมาจาก พ่อแม่ ครู อาจารย์ และเพื่อนๆ ในรูปของการให้รางวัล คำชมเชย การรายงาน การแนะนำด้านการอ่าน\n</p>\n<p>\n         4 สภาพร่างกาย เด็ดที่มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ จะเขียนหนังสือได้ดีกว่าเด็กที่เจ็บป่วยเป็นประจำ\n</p>\n<p>\n         5 สภาพอารมณ์ ทุกคนไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครองหรือครู ต่างตระหนักถึงความสำคัญการอ่านและพยายามคาดหวังให้เด็กเป็นคนที่อ่านหนังสือเก่งและคล่อง แรงกดดันความคาดหวัง การทะเลาะเบาะแว้งกันในครอบครัว การหย่าร้างของพ่อแม่ ความวิตกกังวลต่างๆทำให้สภาพอารมณ์ขาดความมั่นคงและเข้ามารบกวนสมาธิในการอ่าน\n</p>\n<p>\n        6 สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกในโรงเรียน จะมีผลต่อการอ่านของเด็ก เด็กที่มาจากครอบครัวรักการอ่าน อ่านหนังสือเป็นประจำคุณค่าของการอ่าน จะรอบรู้และมีความชำนาญกว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่ไม่สนใจในการอ่าน\n</p>\n<p>\n        7 การจัดโปรแกรมการอ่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการอ่านได้แสดงความเห็นว่า การจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่องของการอ่านนั้น จะมีอิทธิพลต่อการอ่านมาก                 \n</p>\n<p>\nกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน <br />\n               บันลือ พฤกษะวัน ( 2524:134-135 ) ได้กล่าวว่า ความรับผิดชอบในหน้าที่ของครูเกี่ยวกับการสอนการอ่านนั้นหาสิ้นสุดลงที่การสอนให้นักเรียนอ่านหนังสือได้เท่านั้น หน้าที่อีกส่วนหนึ่งก็คือ การส่งเสริมให้เด็กอ่านหนังสือตามลังได้ เพื่อเป็นการส่งเสริมทักษะทางภาษา ความสนใจ นิสัยรักการอ่าน ครูมีวิธีการส่งเสริมการอ่านของเด็กได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n       1 การจัดสภาพแวดล้อมในการอ่าน ให้มีหนังสือดีๆ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดสำหรับการอ่าน ครูและเด็ก ควรแสดงหนังสือต่างๆที่จะให้เด็กทราบและสนใจติดตามว่าหนังสือดี หนังสือใหม่ที่น่าสนใจสำหรับเด็ก\n</p>\n<p>\n       2 ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการอ่านหนังสือโดยตรง ได้แก่ การอ่านให้เด็กฟัง หรืออ่านบางส่วนบางตอน และมีส่วนร่วมในการแสดงออกด้วย โดยการอ่านเสียงดังแล้วให้นักเรียนดูภาพ ชวนสนทนาเรื่องราวไปด้วย\n</p>\n<p>\n       3 จัดกิจกรรมในการส่งเสริมการอ่านให้กับเด็ก             แนวความคิดของฮัลล์สามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอน ได้ดังนี้ (ปรียาพร ,2546:71 )              <br />\n       1. ผู้สอนควรสร้างแรงขับในตัวผู้เรียนให้เกิดขึ้นมากๆ และเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมตามที่ต้องการแล้ว ผู้สอนต้องรีบเสริมแรงทันทีจึงจะทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เข้มข้นและคงทนถาวรอยู่เรื่อยๆ เช่น บอกผู้เรียนว่าถ้าส่งงานตรงเวลาจะมีคะแนนพิเศษให้ เมื่อผู้เรียนส่งงานตรงเวลาในแต่ละครั้ง ผู้สอนควรให้คะแนนพิเศษทันที \n</p>\n<p>\n        2. เมื่อผู้เรียนเกิดความเหนื่อยล้าในบทเรียน เช่น ต้องเรียนเป็นเวลาติดต่อกัน 3 คาบเรียน ควรจะมีเวลาพักให้กับผู้เรียน เพื่อผ่อนคลายความเหนื่อล้าด้วย \n</p>\n<p>\n        3. เมื่อผู้เรียนใกล้จะเรียนรู้และมีความตั้งใจมาก ควรจะให้การเสริมแรงถี่ขึ้น เช่น คำชม คำพูดที่ให้กำลังใจ จะทำให้เกิดการเรียนรู้เร็วขึ้น \n</p>\n<p>\n        4. ควรให้ผู้เรียนพยายามเรียนรู้ด้วยตัวเอง จะทำให้เข้าใจในสิ่งที่เรียนมากขึ้น และสามารถตอบสนองได้ หลายรูปแบบ\n</p>\n<p>\n        5. ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดีต้องพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ คือ ความสามารถของผู้เรียนแต่ละบุคคล การสร้างแรงจูงใจโดยการสร้างแรงขับ การใช้การเสริมแรง การสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้นมากๆในบทเรียน เมื่อเรียนรู้แล้วต้องให้ผู้เรียนคิดหรือกระทำบ่อยๆ เพื่อป้องกันการลืม และพยายามให้ผู้เรียนรู้จักถ่ายโยงการเรียนรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกัน จากบทเรียนหนึ่งไปสู่อีกบทเรียนหนึ่ง                 \n</p>\n<p>\n<br />\nขั้นตอนการพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้ <br />\n            1.ประเมินการอ่าน การเขียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล <br />\n            2.นำผลการประเมินนักเรียน มาวิเคราะห์สภาพปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ของนักเรียน วิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการวิเคราะห์สภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละคน  เพื่อรู้สภาพปัญหาของนักเรียน ซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการแก้ปัญหาและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  <br />\n           3.แบ่งกลุ่มนักเรียนตามสภาพปัญหาของนักเรียน เป็น  3  กลุ่ม คือ กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้   กลุ่มอ่าน  เขียนได้บ้าง   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้<br />\n           4.ครูแต่ละกลุ่มจัดทำกำหนดการสอนและแผนการจักกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม<br />\n           5.ครูมีการจัดหาสื่อและพัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้แก้ปัญหาการอ่าน การเขียนโดยภาพรวมทั้งหมดของโรงเรียน เพื่อลดอัตราการการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ <br />\n           6.จัดกิจกรรมพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้  โดยนำสื่อและวัตกรรมที่ได้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนของนักเรียนที่ปัญหาการอ่าน การเขียนทั้งระบบของโรงเรียน ซึ่งจะเน้นคำพื้นฐานที่ สพฐ.  กำหนด<br />\nึ           7.บันทึกพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในด้านการอ่าน  การเขียน ทุกๆสัปดาห์  โดยหลังจากผู้เรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ จะบันทึกพัฒนาการของผู้เรียนทุกคน<br />\n          8.วัดและประเมินผลเป็นระยะๆ  โดยวัดผลประเมินผลทุกสัปดาห์  และรวบรวมข้อมูลทุกเดือน  แจ้งให้ผู้เรียนทราบชี้แจงแก้ไขข้อบกพร่อง   ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเเบบบูรณาการเพื่อพัฒนาการการอ่านและการเขียน <br />\n          9.ส่งต่อนักเรียนที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น โดยส่งต่อไปยังกลุ่มที่มีความสามารถในด้านการอ่าน และการเขียนสูงขึ้น  เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง<br />\n          10.สรุป รายงานผลการแก้ไขและพัฒนาการอ่าน การเขียน เพื่อเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนเพื่อจัดการความรู้ต่อไป\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nแนวปฏิบัติในโรงเรียนตามสาระการเรียนรู้ <br />\n          โรงเรียนบ้านท่ากำชำจึงได้กำหนดโครงการ  อ่านออกเขียนได้   ไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ปี 2552  ของโรงเรียนและได้ปรับแนวคิดเรื่องเวลาจากเดิมใช้คาบวิชาภาษาไทย  มาใช้เวลาของคาบซ่อมเสริมของทุกวันมาจัดกิจกรรมแทน  และได้ลดเวลาเรียนคาบช่วงบ่ายทุกคาบ จากคาบละ 1 ชั่วโมง เป็นคาบละ 50 นาที เพื่อเอาไปรวมกับคาบซ่อมเสริมให้ได้วันละ  1  ชั่วโมง  เนื่องจากปกติคาบซ่อมเสริมจัดได้แค่  30  นาที /วัน  เนื่องจากติดปัญหาเรื่องความปลอดภัยและการเดินทางออกจากพื้นที่ของครู  ทำให้มีคาบซ่อมเสริม  5  ชั่วโมง/สัปดาห์  และเดิมคาบซ่อมเสริมเป็นคาบสุดท้ายของทุกวันนักเรียนไม่ค่อยมีความพร้อมที่จะเรียน  ทางฝ่ายวิชาการจึงได้จัดตารางเรียนให้คาบซ่อมเสริมมาอยู่ใน  2  คาบแรกของวันจันทร์   2   คาบแรกของวันพุธ และ  1  คาบแรกของวันศุกร์  เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมที่จะเรียนมากที่สุด   ในด้านการแบ่งนักเรียน  มีการแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มแบบใหม่โดยยึดช่วงชั้นของนักเรียนเป็นเกณฑ์ดังนี้ \n</p>\n<p>\n          นักเรียนช่วงชั้นที่  1    ชั้น ป.1  จะอยู่กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  เพราะนักเรียนยังไม่มีพื้นฐานด้านการอ่าน และการเขียน  ส่วนชั้น ป.2 -  ป.3  จะแบ่งนักเรียนเป็นสองกลุ่มคือ  กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  และกลุ่มอ่าน  ออกเขียนได้             นักเรียนช่วงชั้นที่  2   ชั้น ป.4 -  ป.6   จะแบ่งนักเรียนเป็น  3  กลุ่ม คือ  กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  กลุ่มอ่าน    เขียน ได้บ้าง  กลุ่มอ่าน  ออกเขียนได้          สรุปจะได้นักเรียนทั้งหมด  6  กลุ่ม คือ                 <br />\n            -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  ช่วงชั้นที่  1  \n</p>\n<p>\n           -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง  ช่วงชั้นที่  1  \n</p>\n<p>\n           -   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้  ช่วงชั้นที่  1                   <br />\n           -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  ช่วงชั้นที่  2  \n</p>\n<p>\n           -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง  ช่วงชั้นที่  2   <br />\n      -   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้    ช่วงชั้นที่  2\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nบทที่ 3 \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nวิธีการดำเนินการ แผนการเรียน         \n</p>\n<p>\n          การดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่ากำชำ  ได้จัดทำเป็นกำหนดการจัดกิจกรรมการเรียนเป็นรายสัปดาห์  โดยครูประจำกลุ่มจะเป็นผู้เขียนกำหนดการจัดกิจกรรมการเรียน  ส่งให้ฝ่ายวิชาการและผู้บริหารก่อนที่จะนำมาใช้จัดกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม  โดยกิจกรรมส่วนใหญ่จะเน้นการเล่นเกมและการให้ใบงานให้นักเรียนได้ฝึกทำเป็นประจำ  โดยใบงานส่วนหนึ่งครูคิดขึ้นเอง  หรือครูในโรงเรียนช่วยกันคิดและเผยแพราในโรงเรียน  และอีกส่วนหนึ่งได้มาจากหนังสือ  แบบฝึก  การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในงานต่างๆ  ซึ่งครูประจำกลุ่มแต่ละกลุ่มจะนำมาประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม\n</p>\n<p>\n<br />\nกิจกรรมการเรียนรู้  /  นำไปใช้               \n</p>\n<p>\n<br />\n               ในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกและส่งเสริมทักษะการอ่าน  การเขียนนั้น  โรงเรียนบ้านท่ากำชำ ได้กำหนดแนวทาง และลำดับขั้นตอนในการพัฒนาทักษะการอ่าน  การเขียนนักเรียน โดยให้ครูประจำกลุ่มได้ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับแนวทางที่โรงเรียนได้กำหนดดังนี้\n</p>\n<p>\n             ลำดับขั้นตอนการพัฒนานักเรียนกลุ่มอ่านออก  เขียนได้ช่วงชั้นที่  1                                                \n</p>\n<p>\nลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการอ่าน การฟัง                                                                                                                                                            ขั้นที่ 1  รู้จักวรรณยุกต์และสระ                                                                                                                          ขั้นที่ 2  อ่านออกเสียงสระ  ตัวสะกด  และวรรณยุกต์ได้ถูกต้องอ่านอ่าน                                                                                                                                                                       <br />\n                                        ขั้นที่ 3  อ่าน  เขียนสะกดคำสั้นๆ และเข้าใจข้อความ                                   \n</p>\n<p>\n                                        ขั้นที่ 4  อ่านประโยคสั้นๆ  เข้าใจความหมายของประโยค  และแต่งประโยคได้                                                                                                                                                   \n</p>\n<p>\n                                        ขั้นที่ 5  อ่านเรื่องสั้นๆ เข้าใจ แล้วสามารถจับใจความของเรื่องที่อ่านได้ \n</p>\n<p>\n          \n</p>\n<p>\n                ลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการเขียน                                                                                                <br />\n                              ขั้นที่ 1  เขียนวรรณยุกต์และสระ ได้ถูกต้อง                                                                 \n</p>\n<p>\n                 ขั้นที่ 2  เขียนตามคำบอกได้                                                                                              \n</p>\n<p>\n                 ขั้นที่ 3  หาความหมายของคำที่กำหนดให้ได้                                                           \n</p>\n<p>\n                 ขั้นที่ 4  แต่งประโยคจากภาพที่กำหนด/หัวข้อที่กำหนดได้                                  \n</p>\n<p>\n                 ขั้นที่ 5  แต่งประโยคจากภาพที่กำหนด/หัวข้อที่กำหนด  แล้วนำประโยคมาเชื่อมกันได้                    \n</p>\n<p>\n<br />\n                   ลำดับขั้นตอนการพัฒนานักเรียนกลุ่มอ่านออก  เขียนได้ช่วงชั้นที่  2                                                                                                      ลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการอ่าน การฟัง                                                                                       <br />\n                                       ขั้นที่ 1  อ่านออกเสียงตัวสะกด  และวรรณยุกต์ได้ถูก ต้อง                                                           \n</p>\n<p>\n                                      ขั้นที่ 2  อ่านข้อความสั้นๆ และเข้าใจข้อความที่อ่าน                                                                              ขั้นที่ 3  ฟังเรื่องสั้นๆ  จับใจความของเรื่องที่ฟังได้  ตั้งคำถาม  ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังได้                                                                                                                                                                    ขั้นที่ 4  อ่านเรื่องสั้นๆ  จับใจความของเรื่องได้  ตั้งคำถาม  ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้                                                                                                                                                                  ขั้นที่ 5  เมื่ออ่านเรื่องสั้นๆแล้วสามารถสรุปเรื่องที่อ่านได้  ตั้งคำถาม  ตอบคำถามจากเรื่องได้                                                                                                                                                     ลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการเขียน                                                                                                                                              ขั้นที่ 1  เขียนคำที่กำหนดให้ได้                                                                                                                   ขั้นที่ 2  หาความหมายของคำที่กำหนดให้                                                                                              ขั้นที่ 3  แต่งประโยคจากคำที่กำหนด                                                                                                         ขั้นที่ 4  แต่งประโยคจากภาพที่กำหนด/หัวข้อที่กำหนด  แล้วนำประโยคมาเชื่อมกันได้                                                                                                                                                                      <br />\n                                     ขั้นที่ 5  เขียนเรียงความจากภาพที่กำหนด  /  จากหัวข้อเรียงความที่กำหนดให้\n</p>\n<p>\n    \n</p>\n<p>\nการัดและประเมินผล                                                       \n</p>\n<p>\n                 การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่ากำชำ จะมีการวัดผลและประเมินผลความก้าวหน้าของนักเรียนในทุกสัปดาห์ที่มีการจัดกิจกรรม  มีการบันทึกพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในด้านการอ่าน  การเขียน   โดยหลังจากผู้เรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์   มีการวัดผลประเมินผลเป็นระยะๆ  โดยวัดผลประเมินผลทุกสัปดาห์  แล้วรวบรวบข้อมูลทุกเดือน เพื่อสรุปผลพัฒนาการของผู้เรียน  และส่งต่อนักเรียนที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น โดยส่งต่อไปยังกลุ่มที่มีความสามารถในด้านการอ่าน และการเขียนสูงขึ้น  เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง\n</p>\n<p>\n<br />\nสรุปและข้อเสนอแนะ                                 \n</p>\n<p>\n           นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่าน  การเขียนดีขึ้น  สังเกตได้จากจำนวนนักเรียนที่มีการส่งต่อ  หรือย้ายกลุ่มจากกลุ่มที่อ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  ไปยังกลุ่มกลุ่มที่อ่านออก  เขียนได้  มีมากขึ้นเป็นลำดับ  ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ในวิชาต่างๆได้ดีขึ้น  ทำให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นด้วย เปรียบเทียบผลที่ได้รับจากก่อนจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม  ปรากฏผลดังตาราง <br />\n \n</p>\n<p>\n<br />\nซึ่งพอสรุปผลการดำเนินงานได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n       1 นักเรียนได้รับการส่งต่อไปอยู่กลุ่มที่มีทักษะสูงขึ้น\n</p>\n<p>\n       2 นักเรียนมีพัฒนาการในด้านการอ่านการเขียนดีขึ้น  ชายคิดเป็นร้อยละ   46.15   หญิงคิดเป็นร้อยละ  68.42\n</p>\n<p>\n       3 นักเรียนสามารถออกเสียงภาษาไทยได้ชัดเจนยิ่งขึ้น\n</p>\n<p>\n       4 นักเรียนมีสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nภาคผนวก\n</p>\n<p>\n   ประวัติ <br />\n               ชื่อ – สกุล  นายมะลาเซ็น     อาสัน      อายุ   34     ปี  \n</p>\n<p>\n         อายุราชการ  3   ปี      คุณวุฒิสูงสุด  วิทยาศาสตร์บัณฑิต  (วท.บ.)              วิชาเอก  เทคโนโลยีการเกษตร  จากสถาบันการศึกษา   สถาบันราชภัฏภูเก็ต                ตำแหน่ง   ครู  คศ.1       ตำแหน่งเลขที่  3396                    ดำรงตำแหน่งที่สถานศึกษา  โรงเรียนบ้านท่ากำชำ   อำเภอ   หนองจิก        สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี เขต 1                       เริ่มรับราชการในตำแหน่ง     ครูผู้ช่วย    เมื่อวันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2548\n</p>\n<p>\n<br />\nประวัติการศึกษา <br />\n               พ.ศ. 2531   จบประถมศึกษาปีที่   6   โรงเรียนบ้านสามยอด   อำเภอโคกโพธิ์  จังหวัดปัตตานี     \n</p>\n<p>\n        พ.ศ. 2534   จบมัธยมศึกษาตอนต้น   โรงเรียนซอลีฮียะห์  อัดดีนียะห์    จังหวัด  ปัตตานี <br />\n              พ.ศ. 2537   จบมัธยมศึกษาตอนต้นปลาย   โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ    จังหวัดยะลา   \n</p>\n<p>\n       พ.ศ. 2539   จบอณุปริญญา  สาขาเทคโนโลยีการเกษตร  สถาบันราชภัฎภูเก็ต   จังหวัดภูเก็ต        \n</p>\n<p>\n       พ.ศ. 2541   จบปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีการเกษตร  (วท.บ) สถาบันราชภัฎภูเก็ต  จังหวัดภูเก็ต <br />\n            พ.ศ. 2545   จบประกาศนียบัตรวิชาชีพครู  (ป.วค.)   มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช \n</p>\n<p>\n                \n</p>\n<p>\nข้อมูลโรงเรียน                                   โรงเรียนบ้านท่ากำชำ  ตั้งอยู่ หมู่ที่  1 ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสไปรษณีย์   94170   เปิดสอนตั้งแต่ชั้นเด็กเล็ก ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปี พ.ศ. 2549 ข้าพเจ้าได้รับแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่ากำชำ ในปีต่อมาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้เรียกร้องให้โรงเรียนขยายชั้นเรียนในชั้นอนุบาล 1 และประถมศึกษาปีที่ 5- 6 ทางโรงเรียนจึงดำเนินการขออนุญาตไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและได้รับอนุญาตให้ขยายชั้นเรียนและเปิดทำการสอน ตามลำดับดังนี้ ปีการศึกษา  2550  เปิดทำการสอนระดับชั้นอนุบาล 1  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่  4   มี นักเรียนจำนวนทั้งสิ้น  75  คน ข้าราชการครูจำนวน  4  คน  ครูอัตราจ้าง  2  คน  นักการภารโรง 1  คน และในปีนี้ทางคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาและได้มีมติร่วมกันในการขอเปิดเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6  โดยเริ่มเปิดเรียนในปีการศึกษา 2551 ปีการศึกษา  2551  เปิดทำการสอนระดับชั้นอนุบาล 1  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่  5  มี นักเรียนจำนวนทั้งสิ้น  88  คน ข้าราชการครู  3  คน  พนักงานราชการ  2  คน  วิทยากรสอนศาสนา  1  คน  นักการภารโรง 1  คน ปีการศึกษา  2552  เปิดทำการสอนระดับชั้นอนุบาล 1  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  มีนักเรียนจำนวน ทั้งสิ้น 112  คน ข้าราชการครูจำนวน  4  คน พนักงานราชการ 3 คน นักการภารโรง 1  คน\n</p>\n', created = 1719636835, expire = 1719723235, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:92a85830b2abd17265772e3945cff7e1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6a6995ee426a5ba6583cc59c8f26a631' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nวิธีการจัดหน้าคือ แต่ละหัวข้อให้เคาะ Enter 2 ครั้งจะทำให้หน้าบล็อกดูดีขึ้นค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719636835, expire = 1719723235, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6a6995ee426a5ba6583cc59c8f26a631' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8c952dca740399d79969b059f16b865f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>copy มาวางแล้วเป็นแบบนี้ ไม่รู้ทำไม เออแล้วก็รูปแบบรายงานตอนไปอบรม บอกให้้เขียนรายงานเชิงบรรยายตามหัวข้อที่กำหนด แต่เมื่อส่งตรวจกลับให้แก้เป็นรูปแบบคล้ายๆ 5 บท ทำให้ครูสับสนมากๆ</p>\n', created = 1719636835, expire = 1719723235, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8c952dca740399d79969b059f16b865f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อปฏิรูปการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนใต้ ครูมะลาเซ็น อาสัน

รูปภาพของ chay

บทที่ 1  บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา                 
         ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งซึ่งแสดงถึงความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อ สื่อสารของคนไทยและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่คนไทยทุกคนควรภูมิใจ และรักษาให้ยั่งยืนตลอดไป การมีภาษาของชาตินอกจากมีไว้เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันให้เข้าใจความ หมาย ความคิด ความ รู้สึกซึ่งมีต่อกันและกันแล้ว ยังทำให้คนในชาติ สำนึกต่อความเป็นไทยอีกด้วย วิธีหนึ่งที่จะถ่ายทอดสู่เยาวชนรุ่นหลังก็คือ ด้วย วิธีการให้การศึกษาในเรื่องนี้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กำหนดให้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นกลุ่มสาระหนึ่งที่เป็นกลุ่ม สาระการเรียนรู้หลักในการพัฒนาให้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ซึ่งมุ่งให้มีทักษะพื้นฐานทั้งในด้านการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน หลักเกณฑ์ทางภาษาและวรรณกรรม โดยมีความเชื่อว่าผู้ เรียนที่มีทักษะทางภาษาไทยดีจะสามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อความคิด  ความเข้าใจ และแสวงหาความรู้ในสรรพวิชาสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ นอกจากนี้การจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นในระดับประถมศึกษาจะประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใดนั้นย่อมขึ้นอยู่กับทักษะทางภาษาของ ผู้เรียน  และกระบวนการเรียนการสอนภาษาไทยเป็นสำคัญ ซึ่งถ้าได้มีการให้ความรู้อย่างครบถ้วนต่อเนื่อง  และสม่ำเสมอในทุกด้านแล้วก็จะสามารถสร้างความรู้ความเข้าใจและนำทักษะทางภาษา ไทยไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม  แต่ การที่ผู้เรียนจะเกิดทักษะดังกล่าวได้ดีก็ต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นสำคัญ อีกทั้งครูผู้สอนจะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า  มี ความรู้ มีทักษะและมีเจตคติที่ดีและ ที่ถูกต้องด้วย                  
        ในเขตพื้นที่ชายแดนภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามลายูถิ่นซึ่งถือว่าเป็นภาษาแม่ ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นจึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในจังหวัด ปัตตานีจึงต้องประสบกับปัญหาการใช้ภาษาไทยหลายด้านสืบต่อกันมา เช่น ฟังไม่เข้าใจ  เด็กพูด ออกเสียงไม่ชัด อ่านไม่ออก เขียน ไม่ได้ การสื่อสารไม่ ชัดเจน เข้าใจความหมายไม่ตรง กัน นอกจากนี้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำให้ครูไม่สามารถทำงานได้เต็มที่มีการปิดเรียนบ่อยๆ ครูมีเวลาอยู่ในโรงเรียนจำกัด ทำให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาไม่ต่อเนื่อง ครูผู้สอนใช้กิจกรรมการเรียนที่ไม่หลากหลาย ส่วนใหญ่ มักใช้เทคนิควิธีทีเหมือนกับการจัดการเรียนรู้ในเขตภูมิภาคอื่น การจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสอนตามทีหนังสือเรียนกำหนด ซึ่งมีเนื้อหามาก ครูกลัวว่าจะสอนไม่ทัน ก็จะรีบสอนเพื่อให้จบทุกหน่วยการเรียน การเน้นเพื่อฝึกฝนทักษะแต่ละด้านใน เชิงบูรณาการจึงมีน้อยกว่าที่ควรจะได้ฝึกฝน จึงทำให้ผู้เรียนด้อยทักษะทางภาษาอันมี ผลต่อการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นด้อยตามไปด้วย
         จากการวัดประเมินผลและข้อมูลทางด้านการเรียนรู้ภาษาไทยของโรงเรียนบ้านท่ากำชำพบว่ามีนักเรียนอีกเป็นจำนวนมากที่มีพื้นฐานทางภาษาไทยอยู่ในระดับต่ำและต้องได้รับการส่งเสริมโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายวิธีและมีการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องเป็นสำคัญ โรงเรียนบ้านท่ากำชำจึงได้เล็งเห็นความ สำคัญและความจำเป็นในเรื่องนี้เป็นเรื่องหลักจึงได้จัดให้มีโครงการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในระดับช่วงชั้นที่ 1 และช่วงชั้นที่ 2 ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักคือครูผู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6
ทุกคนที่อยู่ในโรงเรียนบ้านท่ากำชำ ได้รับการพัฒนาอย่างถูกวิธีและต่อเนื่อง จึงได้กำหนดกิจกรรมเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่องและครบวงจร คือจัดให้มีการสำรวจข้อมูลพื้นฐานทางการเรียนรู้ภาษาไทย โดยเน้นความสามารถด้านการอ่านและเขียนเป็นหลัก จัดทำคู่มือการดำเนินงานโครงการการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้โรงเรียนบ้านท่ากำชำ จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนอย่างต่อเนื่องตลอดปีการศึกษาอย่างหลากหลายวิธีตามสภาพปัญหาของผู้เรียน รวบรวมข้อมูลการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนทุกคน  ภาคเรียนละ 1 ครั้ง และจัดให้มีการประเมินความสามารถด้านการอ่านและเขียนนักเรียนใน ช่วงชั้นที่ 1 และช่วงชั้นที่  2 โดย ดำเนินการประเมินนักเรียนทุนคน โรงเรียนบ้านท่ากำชำ จึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้นในปีการศึกษา  2552  


วัตถุประสงค์               
         - เพื่อ พัฒนาความสามารถด้านการอ่านและเขียนของนักเรียนเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน              
         - เพื่อ พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันของนักเรียนทุกคน          
         - เพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน             
         - เพื่อ เผยแพร่ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ให้กับผู้เกี่ยวข้องทุกระดับได้ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาทักษะการอ่านและเขียน  


การดำเนินงาน               
        1 กำหนดกิจกรรม/โครงการไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ โรงเรียน โดยโรงเรียนบ้านท่ากำชำ ได้กำหนดโครงการพัฒนาการ อ่านออก  เขียนได้ไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีของโรงเรียนเพื่อให้การดำเนินงานของโครงการเป็นไปอย่างมีระบบ สามารถ ตรวจสอบได้เพื่อให้เห็นพัฒนาการของนักเรียน               
        2  แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ  โดยมีการประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะทำงานและผู้รับผิดชอบของแต่ละกลุ่ม โดยแยก เป็นช่วงชั้น  เช่น ครูช่วงชั้นที่ 1 ก็ จะรับผิดชอบช่วงชั้นที่ 1เพราะครูจะรู้จักนักเรียนอยู่แล้วในระดับหนึ่งทำให้ง่ายต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน                
        3 กำหนดเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม ใช้ คาบซ่อมเสริมของทุกวันมาจัดกิจกรรม ซึ่งมีคาบ ซ่อมเสริม  5 ชั่วโมง/สัปดาห์ และเดิมคาบซ่อมเสริมเป็นคาบสุดท้ายของทุกวันนักเรียนไม่ค่อยมีความพร้อมที่จะเรียน ทางฝ่ายวิชาการ จึงได้จัดตารางเรียนให้คาบซ่อมเสริมมาอยู่ใน  2 คาบแรกของวันจันทร์ 2 คาบแรกของวัน พุธ และ 1คาบแรกของวันศุกร์ เพื่อให้นัก เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนมากที่สุด                 
        4  จัดทำ/จัดหาหลักสูตรที่ใช้สอนโดยครูที่รับผิดชอบของแต่ละกลุ่มกำหนดเป้าหมายของ ผู้เรียนจัดทำกำหนดการสอน พิจารณา/จัดหาหลักสูตรและเนื้อหาที่ใช้สอนให้เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน
        5 สำรวจ นักเรียนอ่านออก เขียนไม่ได้  และคัด กรองนักเรียน โดยการสำรวจนักเรียนในแต่ละห้องแล้วแยกนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม ที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้  กลุ่มอ่าน  เขียนได้บ้าง และ กลุ่มที่อ่านออก  เขียนได้
        6  แบ่ง กลุ่มนักเรียน นำข้อมูลที่ได้มาแบ่งกลุ่มนักเรียนดังนี้                   
          นักเรียนช่วง ชั้นที่  1  ชั้น ป.1  จะอยู่กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้ เพราะนักเรียนยังไม่มี พื้นฐานด้านการอ่าน และการเขียน  ชั้น ป.2-ป.3 จะแบ่งนักเรียนเป็นสองกลุ่มคือ  กลุ่ม อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้  และกลุ่มอ่าน  ออกเขียนได้
          นักเรียนช่วงชั้น ที่ 2 ชั้น ป.4 -  ป.6  จะแบ่งนักเรียนเป็น  3  กลุ่ม คือ  กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียน ไม่ได้   กลุ่มอ่าน  เขียนได้บ้าง  และกลุ่มอ่านออก  เขียนได้   
          สรุปจะได้ นักเรียนทั้งหมด  6 กลุ่ม คือ                  
            -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้ ช่วงชั้นที่  1                    
            -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง    ช่วงชั้นที่  1                      
            -   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้    ช่วงชั้นที่  1                   
            -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้   ช่วงชั้นที่  2                         
            -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง          ช่วงชั้นที่  2                       
            -   กลุ่มอ่านออก เขียนได้           ช่วงชั้นที่  2               
         7  วิเคราะห์นักเรียนเป็นราย บุคคลโดยการวิเคราะห์สภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละคน เพื่อรู้สภาพปัญหาของนักเรียนซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการแก้ปัญหาและจัดกิจกรรม การเรียนการสอน             
         8  จัดกิจกรมการเรียนรู้  โดยนำผล การวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล มากำหนดเป็นกิจกรรมการเรียน รู้ ซึ่งจะเน้นคำพื้นฐานที่ สพฐ.  กำหนด            
         9  บันทึกพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในด้านการอ่าน  การ เขียน ทุกๆสัปดาห์ โดยหลังจากผู้เรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์จะบันทึกพัฒนาการของผู้เรียนทุกคน
        10  วัดและประเมินผลเป็นระยะๆ  โดย วัดผลประเมินผลทุกสัปดาห์  และรวบรวบข้อมูลทุกเดือน
        11  ส่งต่อนักเรียนที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้นโดยส่งต่อไปยังกลุ่มที่มีความสามารถในด้านการอ่านและการเขียนสูงขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง
        12 สรุปผลการ ดำเนินงาน  


ผลที่คาดว่าจะได้รับ             
        1. นักเรียนโรงเรียนบ้านท่ากำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับการพัฒนาการด้านการอ่าน การเขียนดีขึ้น สังเกตได้จากจำนวนนักเรียนที่มีการส่งต่อ หรือย้ายกลุ่มจากกลุ่มที่อ่านไม่ออก เขียน ไม่ได้ ไปยังกลุ่มกลุ่มที่อ่านออก เขียนได้  มีมากขึ้นเป็นลำดับ ซึ่งจะส่งผลให้นัก เรียนสามารถเรียนรู้ในวิชาต่างๆได้ดีขึ้น  ทำ ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นด้วย             
        2. ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6มีข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการพัฒนาการสอนภาษาไทย ในปีการศึกษา  2552             
        3. โรงเรียนบ้านท่ากำชำมีข้อมูลความสามารถด้านการอ่านและเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6             
        4. ผู้เกี่ยว ข้องทุกระดับและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานีเขต 1ได้ใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาการสอนภาษาไทยในปีการศึกษา 2553  


 

บทที่ 2 

เอกสารที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับกิจกรรมพัฒนาการอ่านออก เขียนได้                                    


                       ปัจจุบันได้มีการศึกษาเกี่ยวกับการอ่านอย่างกว้างขวางมาก และมีการกล่าวถึงความหมายของการอ่านในลักษณะต่างๆดังนี้ แบทเลอร์และเคลย์กล่าวว่า การอ่านคือการถ่ายทอดความหมายจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง โดยอาศัยภาษาเป็นสื่อ โดยผู้เขียนถ่ายทอดความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจตามความคิดและเจตนาของผู้เขียน ซึ่งการอ่านนี้เป็นกระบวนการเรียนรู้เช่นเดียวกับการพูด การออกเสียงเป็นคำๆ หรือหลายคำ ซึ่งรวมกันเข้าเป็นประโยคที่มีความหมายเมื่อเราอ่านนั้น มิได้จำกัดแต่การอ่านเพียงอย่างเดียว แต่การพูดเป็นรากฐานของการอ่าน ก็เริ่มด้วยวิธีนี้เช่นกัน ( นิตยา ประพฤติกิจ.2538.2 ) ศรีรัตน์ เจิงกลิ่นจันทร์ ( 2538.2 )  กล่าวว่า การอ่านเป็นการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิด และนำความคิดนั้นไปใช้ประโยชน์ ตัวอักษรเป็นเครื่องหมายแทนคำพูด เพราะฉะนั้นหัวใจของการอ่านจึงอยู่ที่การเข้าใจความหมายของคำ สรุปได้ว่า การอ่านคือ การรับการถ่ายทอดความหมายจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งโดยใช้ ตัวอักษรเป็นสื่อความคิดและเจตนาของผู้เขียน หรือการทำความเข้าใจกับสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนต้องการ การอ่านเป็นการตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะต่างๆ ตลอดจนความก้าวหน้าทางวิชาชีพ เกิดความคิดสร้างสรรค์ ความเพลิดเพลิน รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทำให้มนุษย์ทันต่อเหตุการณ์ ความเคลื่อนไหวต่างๆของโลก สามารถแก้ปัญหาทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และปัญหาส่วนตัวได้ ( กานต์มณี ศักดิ์เจริญ.2529:332 ) การอ่านเป็นทักษะที่ต้องฝึกเช่นเดียวกับทักษะอื่นๆ เด็กมีทักษะในการอ่านไว มีสมาธิในการอ่านต่อเนื่องจับประเด็นความได้ชัดเจน มีอารมณ์และจินตนาการร่วมอยู่ด้วย ทำให้เกิดความชำนาญในการรับรู้ทางด้านการคิดเป็น การสรุป การตอบโต้ ทำให้เกิดความคิดเป็นระบบ และการรับรู้เป็นระบบ การแสดงออกและการสื่อสารต่อผู้อื่นต่อโลกภายนอกก็ชัดเจนเป็นระบบ ซึ่งอนุภาพของการอ่านหนังสือจะนำเด็กไปสู่เส้นทางของการเป็นคนฉลาด ( นิดดา หงส์วิวัฒน์. 2537:7-8 )       

 ความพร้อมของการอ่าน                                               ขั้นตอนพัฒนาการทางภาษาและการเรียนรู้ภาษาของเด็กโลแกน และโลแกน ( เยาวพา เดชะคุปต์. 2528 : 40 ; อ้างอิงมาจาก Logan and Logan.1974:207) ได้แบ่งพัฒนาการทางภาษาออกเป็น 7 ขั้นดังนี้
         1 ระยะเปะปะ อายุแรกเกิดถึง 6 เดือน ในระยะนี้เด็กจะเปล่งเสียงดังๆ ที่ยังไม่มีความหมายการเปล่งเสียงของเด็กเพื่อบอกความต้องการของเขา

         2 ระยะแยกแยะ อายุ 6 เดือนถึง 1 ปี เด็กจะเริ่มเข้าสู่ระยะที่สอง ซึ่งเด็กสามารถแยกแยะเสียงต่างๆที่เราได้ยิน แล้วเด็กจะรู้สึกพอใจที่ส่งเสียงถ้าเสียงใดที่เขาเปล่งออกมาได้รับการตอบสนองในทางบวก เขาก็จะเปล่งเสียงนั้นซ้ำอีก ในบางครั้งเด็กจะเลียนเสียงสูงๆต่ำๆที่มีคนพูดคุยกับเขา

         3 ระยะเลียนแบบ อายุ 1-2 ปี ในระยะนี้เด็กจะเริ่มเลียนเสียงต่างๆที่เขาได้ยิน เช่นเสียงของพ่อแม่ ผู้ใหญ่ใกล้ชิด เสียงที่เปล่งออกมาอย่างไม่มีความหมายจะค่อยๆหายไป และเด็กจะเริ่มฟังเสียงที่ได้รับการตอบสนองซึ่งนับว่าพัฒนาการทางภาษาจะเริ่มต้นอย่างแท้จริงในระยะนี้

         4 ระยะขยาย อายุ 2-4 ขวบ ในระยะนี้เด็กจะหัดพูด โดยเริ่มจากการหัดเรียกชื่อ คน สัตว์ และสิ่งของที่อยู่ใกล้ตัว เขาจะเริ่มเข้าใจถึงกาใช้สัญลักษณ์ในการสื่อความหมาย ซึ่งเป็นการสื่อความหมายในโลกของผู้ใหญ่ การพูดของเด็กในระยะแรกๆจะเป็นการออกเสียงในคำนามต่างๆเป็นส่วนใหญ่ เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ฯลฯ และคำคุณศัพท์ต่างๆที่เขาเห็น รู้สึก ได้ยิน

         5 ระยะโครงสร้าง อายุ 4-5 ขวบ ในระยะนี้เด็กจะพัฒนาความสามารถในการรับรู้และการสังเกต เด็กจะเริ่มเล่นสนุกกับคำและรู้จักคิดคำและประโยคของตนเอง โดยอาศัยการผูกคำวลี และประโยคที่เขาได้ยินคนอื่นพูด เด็กจะเริ่มคิดกฎเกณฑ์ การประสมคำและหาความหมายของคำและวลี โดยเด็กจะเริ่มรู้สึกสนุกกับการเปล่งเสียงโดยเขาจะเล่นเป็นเกมกับเพื่อนหรือสมาชิกในครอบครัว

         6 ระยะตอบสนอง อายุ 5-6 ขวบ ในระยะนี้ความสามารถในการคิดและพัฒนาการทางภาษาของเด็กจะสูงขึ้น เขาจะเริ่มพัฒนาภาษาไปสู่ภาษาที่เป็นแบบแผนมากขึ้น และการใช้ภาษานั้นกับสิ่งต่างๆรอบตัว พัฒนาการทางภาษาของเด็กวัยนี้จะเริ่มต้นเมื่อเข้าเรียนในชั้นอนุบาล โดยเด็กจะเริ่มใช้ไวยากรณ์อย่างง่ายได้ รู้จักใช้คำเกี่ยวข้องกับบ้านและโรงเรียน ภาษาที่เด็กใช้ในการสื่อความหมายในระยะนี้จะเกิดจากสิ่งที่เขามองเห็นและรับรู้

         7 ระยะสร้างสรรค์ อายุ 6 ปีขึ้นไป ในระยะนี้ได้แก่ระยะเด็กเริ่มเข้าสู่โรงเรียน เด็กจะเล่นสนุกกับคำ และหาวิธีสื่อความหมายด้วยตัวเลข เด็กในระยะนี้จะพัฒนา วิเคราะห์ และ สร้างสรรค์ ทักษะการสื่อความหมายโดยใช้ถ้อยคำสำนวนเปรียบเทียบ และภาษาที่พูดเป็นนามธรรมมากขึ้น และเขารู้สึกสนุกกับการแสดงความคิดเห็นโดยการพูดและการเขียน                    

ปัจจัยส่งเสริมการอ่าน   
         สมิธและจอห์นสัน ได้อธิบายถึงองค์ประกอบต่างๆ ที่มีต่อการส่งเสริมและพัฒนาการด้านการอ่านของเด็กไว้ดังนี้

         1 ระดับสติปัญญา การอ่านเป็นงานประเภทหนึ่งที่เด็กต้องพัฒนาให้เกิดความสำเร็จ การพัฒนาด้านการอ่านนี้ พบว่า เด็กบางคนทำได้ดีกว่าเด็กบางคนทั้งนี้เนื่องจากสติปัญญานั่นเอง

         2 ทักษะขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะและความพร้อม การเริ่มต้นสอนอ่าน ต้องคำนึงถึงความพร้อม ความสารมารถของเด็กควบคู่ไปด้วย เพราะการอ่านต้องใช้ทักษะต่างๆที่เป็นทักษะย่อยประกอบกัน เช่น การใช้สายตา การใช้อวัยวะในการอ่านเสียง

         3 แรงจูงใจ แรงจูงใจทำให้เด็กอ่าน มีแรงจูงใจภายในและภายนอก แรงจูงใจภายในเกิดจากการค้นพบคุณค่าของการอ่านด้วยตนเอง ส่วนแรงจูงใจภายนอกมาจาก พ่อแม่ ครู อาจารย์ และเพื่อนๆ ในรูปของการให้รางวัล คำชมเชย การรายงาน การแนะนำด้านการอ่าน

         4 สภาพร่างกาย เด็ดที่มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ จะเขียนหนังสือได้ดีกว่าเด็กที่เจ็บป่วยเป็นประจำ

         5 สภาพอารมณ์ ทุกคนไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครองหรือครู ต่างตระหนักถึงความสำคัญการอ่านและพยายามคาดหวังให้เด็กเป็นคนที่อ่านหนังสือเก่งและคล่อง แรงกดดันความคาดหวัง การทะเลาะเบาะแว้งกันในครอบครัว การหย่าร้างของพ่อแม่ ความวิตกกังวลต่างๆทำให้สภาพอารมณ์ขาดความมั่นคงและเข้ามารบกวนสมาธิในการอ่าน

        6 สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกในโรงเรียน จะมีผลต่อการอ่านของเด็ก เด็กที่มาจากครอบครัวรักการอ่าน อ่านหนังสือเป็นประจำคุณค่าของการอ่าน จะรอบรู้และมีความชำนาญกว่าเด็กที่มาจากครอบครัวที่ไม่สนใจในการอ่าน

        7 การจัดโปรแกรมการอ่าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการอ่านได้แสดงความเห็นว่า การจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่องของการอ่านนั้น จะมีอิทธิพลต่อการอ่านมาก                 

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
               บันลือ พฤกษะวัน ( 2524:134-135 ) ได้กล่าวว่า ความรับผิดชอบในหน้าที่ของครูเกี่ยวกับการสอนการอ่านนั้นหาสิ้นสุดลงที่การสอนให้นักเรียนอ่านหนังสือได้เท่านั้น หน้าที่อีกส่วนหนึ่งก็คือ การส่งเสริมให้เด็กอ่านหนังสือตามลังได้ เพื่อเป็นการส่งเสริมทักษะทางภาษา ความสนใจ นิสัยรักการอ่าน ครูมีวิธีการส่งเสริมการอ่านของเด็กได้ดังนี้

       1 การจัดสภาพแวดล้อมในการอ่าน ให้มีหนังสือดีๆ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดสำหรับการอ่าน ครูและเด็ก ควรแสดงหนังสือต่างๆที่จะให้เด็กทราบและสนใจติดตามว่าหนังสือดี หนังสือใหม่ที่น่าสนใจสำหรับเด็ก

       2 ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการอ่านหนังสือโดยตรง ได้แก่ การอ่านให้เด็กฟัง หรืออ่านบางส่วนบางตอน และมีส่วนร่วมในการแสดงออกด้วย โดยการอ่านเสียงดังแล้วให้นักเรียนดูภาพ ชวนสนทนาเรื่องราวไปด้วย

       3 จัดกิจกรรมในการส่งเสริมการอ่านให้กับเด็ก             แนวความคิดของฮัลล์สามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอน ได้ดังนี้ (ปรียาพร ,2546:71 )             
       1. ผู้สอนควรสร้างแรงขับในตัวผู้เรียนให้เกิดขึ้นมากๆ และเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมตามที่ต้องการแล้ว ผู้สอนต้องรีบเสริมแรงทันทีจึงจะทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เข้มข้นและคงทนถาวรอยู่เรื่อยๆ เช่น บอกผู้เรียนว่าถ้าส่งงานตรงเวลาจะมีคะแนนพิเศษให้ เมื่อผู้เรียนส่งงานตรงเวลาในแต่ละครั้ง ผู้สอนควรให้คะแนนพิเศษทันที 

        2. เมื่อผู้เรียนเกิดความเหนื่อยล้าในบทเรียน เช่น ต้องเรียนเป็นเวลาติดต่อกัน 3 คาบเรียน ควรจะมีเวลาพักให้กับผู้เรียน เพื่อผ่อนคลายความเหนื่อล้าด้วย 

        3. เมื่อผู้เรียนใกล้จะเรียนรู้และมีความตั้งใจมาก ควรจะให้การเสริมแรงถี่ขึ้น เช่น คำชม คำพูดที่ให้กำลังใจ จะทำให้เกิดการเรียนรู้เร็วขึ้น 

        4. ควรให้ผู้เรียนพยายามเรียนรู้ด้วยตัวเอง จะทำให้เข้าใจในสิ่งที่เรียนมากขึ้น และสามารถตอบสนองได้ หลายรูปแบบ

        5. ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดีต้องพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ คือ ความสามารถของผู้เรียนแต่ละบุคคล การสร้างแรงจูงใจโดยการสร้างแรงขับ การใช้การเสริมแรง การสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้นมากๆในบทเรียน เมื่อเรียนรู้แล้วต้องให้ผู้เรียนคิดหรือกระทำบ่อยๆ เพื่อป้องกันการลืม และพยายามให้ผู้เรียนรู้จักถ่ายโยงการเรียนรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกัน จากบทเรียนหนึ่งไปสู่อีกบทเรียนหนึ่ง                 


ขั้นตอนการพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้
            1.ประเมินการอ่าน การเขียนของนักเรียนเป็นรายบุคคล
            2.นำผลการประเมินนักเรียน มาวิเคราะห์สภาพปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ของนักเรียน วิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการวิเคราะห์สภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละคน  เพื่อรู้สภาพปัญหาของนักเรียน ซึ่งจะทำให้ง่ายต่อการแก้ปัญหาและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 
           3.แบ่งกลุ่มนักเรียนตามสภาพปัญหาของนักเรียน เป็น  3  กลุ่ม คือ กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้   กลุ่มอ่าน  เขียนได้บ้าง   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้
           4.ครูแต่ละกลุ่มจัดทำกำหนดการสอนและแผนการจักกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม
           5.ครูมีการจัดหาสื่อและพัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้แก้ปัญหาการอ่าน การเขียนโดยภาพรวมทั้งหมดของโรงเรียน เพื่อลดอัตราการการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
           6.จัดกิจกรรมพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้  โดยนำสื่อและวัตกรรมที่ได้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนของนักเรียนที่ปัญหาการอ่าน การเขียนทั้งระบบของโรงเรียน ซึ่งจะเน้นคำพื้นฐานที่ สพฐ.  กำหนด
ึ           7.บันทึกพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในด้านการอ่าน  การเขียน ทุกๆสัปดาห์  โดยหลังจากผู้เรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ จะบันทึกพัฒนาการของผู้เรียนทุกคน
          8.วัดและประเมินผลเป็นระยะๆ  โดยวัดผลประเมินผลทุกสัปดาห์  และรวบรวมข้อมูลทุกเดือน  แจ้งให้ผู้เรียนทราบชี้แจงแก้ไขข้อบกพร่อง   ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเเบบบูรณาการเพื่อพัฒนาการการอ่านและการเขียน
          9.ส่งต่อนักเรียนที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น โดยส่งต่อไปยังกลุ่มที่มีความสามารถในด้านการอ่าน และการเขียนสูงขึ้น  เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
          10.สรุป รายงานผลการแก้ไขและพัฒนาการอ่าน การเขียน เพื่อเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนเพื่อจัดการความรู้ต่อไป

 


แนวปฏิบัติในโรงเรียนตามสาระการเรียนรู้
          โรงเรียนบ้านท่ากำชำจึงได้กำหนดโครงการ  อ่านออกเขียนได้   ไว้ในแผนปฏิบัติราชการ ปี 2552  ของโรงเรียนและได้ปรับแนวคิดเรื่องเวลาจากเดิมใช้คาบวิชาภาษาไทย  มาใช้เวลาของคาบซ่อมเสริมของทุกวันมาจัดกิจกรรมแทน  และได้ลดเวลาเรียนคาบช่วงบ่ายทุกคาบ จากคาบละ 1 ชั่วโมง เป็นคาบละ 50 นาที เพื่อเอาไปรวมกับคาบซ่อมเสริมให้ได้วันละ  1  ชั่วโมง  เนื่องจากปกติคาบซ่อมเสริมจัดได้แค่  30  นาที /วัน  เนื่องจากติดปัญหาเรื่องความปลอดภัยและการเดินทางออกจากพื้นที่ของครู  ทำให้มีคาบซ่อมเสริม  5  ชั่วโมง/สัปดาห์  และเดิมคาบซ่อมเสริมเป็นคาบสุดท้ายของทุกวันนักเรียนไม่ค่อยมีความพร้อมที่จะเรียน  ทางฝ่ายวิชาการจึงได้จัดตารางเรียนให้คาบซ่อมเสริมมาอยู่ใน  2  คาบแรกของวันจันทร์   2   คาบแรกของวันพุธ และ  1  คาบแรกของวันศุกร์  เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมที่จะเรียนมากที่สุด   ในด้านการแบ่งนักเรียน  มีการแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มแบบใหม่โดยยึดช่วงชั้นของนักเรียนเป็นเกณฑ์ดังนี้ 

          นักเรียนช่วงชั้นที่  1    ชั้น ป.1  จะอยู่กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  เพราะนักเรียนยังไม่มีพื้นฐานด้านการอ่าน และการเขียน  ส่วนชั้น ป.2 -  ป.3  จะแบ่งนักเรียนเป็นสองกลุ่มคือ  กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  และกลุ่มอ่าน  ออกเขียนได้             นักเรียนช่วงชั้นที่  2   ชั้น ป.4 -  ป.6   จะแบ่งนักเรียนเป็น  3  กลุ่ม คือ  กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  กลุ่มอ่าน    เขียน ได้บ้าง  กลุ่มอ่าน  ออกเขียนได้          สรุปจะได้นักเรียนทั้งหมด  6  กลุ่ม คือ                
            -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  ช่วงชั้นที่  1  

           -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง  ช่วงชั้นที่  1  

           -   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้  ช่วงชั้นที่  1                  
           -   กลุ่มอ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  ช่วงชั้นที่  2  

           -   กลุ่มอ่าน   เขียนได้บ้าง  ช่วงชั้นที่  2  
      -   กลุ่มอ่านออก  เขียนได้    ช่วงชั้นที่  2

 

 

 

บทที่ 3 

 


วิธีการดำเนินการ แผนการเรียน         

          การดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่ากำชำ  ได้จัดทำเป็นกำหนดการจัดกิจกรรมการเรียนเป็นรายสัปดาห์  โดยครูประจำกลุ่มจะเป็นผู้เขียนกำหนดการจัดกิจกรรมการเรียน  ส่งให้ฝ่ายวิชาการและผู้บริหารก่อนที่จะนำมาใช้จัดกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม  โดยกิจกรรมส่วนใหญ่จะเน้นการเล่นเกมและการให้ใบงานให้นักเรียนได้ฝึกทำเป็นประจำ  โดยใบงานส่วนหนึ่งครูคิดขึ้นเอง  หรือครูในโรงเรียนช่วยกันคิดและเผยแพราในโรงเรียน  และอีกส่วนหนึ่งได้มาจากหนังสือ  แบบฝึก  การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในงานต่างๆ  ซึ่งครูประจำกลุ่มแต่ละกลุ่มจะนำมาประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม


กิจกรรมการเรียนรู้  /  นำไปใช้               


               ในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกและส่งเสริมทักษะการอ่าน  การเขียนนั้น  โรงเรียนบ้านท่ากำชำ ได้กำหนดแนวทาง และลำดับขั้นตอนในการพัฒนาทักษะการอ่าน  การเขียนนักเรียน โดยให้ครูประจำกลุ่มได้ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับแนวทางที่โรงเรียนได้กำหนดดังนี้

             ลำดับขั้นตอนการพัฒนานักเรียนกลุ่มอ่านออก  เขียนได้ช่วงชั้นที่  1                                                

ลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการอ่าน การฟัง                                                                                                                                                            ขั้นที่ 1  รู้จักวรรณยุกต์และสระ                                                                                                                          ขั้นที่ 2  อ่านออกเสียงสระ  ตัวสะกด  และวรรณยุกต์ได้ถูกต้องอ่านอ่าน                                                                                                                                                                      
                                        ขั้นที่ 3  อ่าน  เขียนสะกดคำสั้นๆ และเข้าใจข้อความ                                   

                                        ขั้นที่ 4  อ่านประโยคสั้นๆ  เข้าใจความหมายของประโยค  และแต่งประโยคได้                                                                                                                                                   

                                        ขั้นที่ 5  อ่านเรื่องสั้นๆ เข้าใจ แล้วสามารถจับใจความของเรื่องที่อ่านได้ 

          

                ลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการเขียน                                                                                               
                              ขั้นที่ 1  เขียนวรรณยุกต์และสระ ได้ถูกต้อง                                                                 

                 ขั้นที่ 2  เขียนตามคำบอกได้                                                                                              

                 ขั้นที่ 3  หาความหมายของคำที่กำหนดให้ได้                                                           

                 ขั้นที่ 4  แต่งประโยคจากภาพที่กำหนด/หัวข้อที่กำหนดได้                                  

                 ขั้นที่ 5  แต่งประโยคจากภาพที่กำหนด/หัวข้อที่กำหนด  แล้วนำประโยคมาเชื่อมกันได้                    


                   ลำดับขั้นตอนการพัฒนานักเรียนกลุ่มอ่านออก  เขียนได้ช่วงชั้นที่  2                                                                                                      ลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการอ่าน การฟัง                                                                                      
                                       ขั้นที่ 1  อ่านออกเสียงตัวสะกด  และวรรณยุกต์ได้ถูก ต้อง                                                           

                                      ขั้นที่ 2  อ่านข้อความสั้นๆ และเข้าใจข้อความที่อ่าน                                                                              ขั้นที่ 3  ฟังเรื่องสั้นๆ  จับใจความของเรื่องที่ฟังได้  ตั้งคำถาม  ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังได้                                                                                                                                                                    ขั้นที่ 4  อ่านเรื่องสั้นๆ  จับใจความของเรื่องได้  ตั้งคำถาม  ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้                                                                                                                                                                  ขั้นที่ 5  เมื่ออ่านเรื่องสั้นๆแล้วสามารถสรุปเรื่องที่อ่านได้  ตั้งคำถาม  ตอบคำถามจากเรื่องได้                                                                                                                                                     ลำดับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการเขียน                                                                                                                                              ขั้นที่ 1  เขียนคำที่กำหนดให้ได้                                                                                                                   ขั้นที่ 2  หาความหมายของคำที่กำหนดให้                                                                                              ขั้นที่ 3  แต่งประโยคจากคำที่กำหนด                                                                                                         ขั้นที่ 4  แต่งประโยคจากภาพที่กำหนด/หัวข้อที่กำหนด  แล้วนำประโยคมาเชื่อมกันได้                                                                                                                                                                     
                                     ขั้นที่ 5  เขียนเรียงความจากภาพที่กำหนด  /  จากหัวข้อเรียงความที่กำหนดให้

    

การัดและประเมินผล                                                       

                 การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการอ่านออก  เขียนได้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่ากำชำ จะมีการวัดผลและประเมินผลความก้าวหน้าของนักเรียนในทุกสัปดาห์ที่มีการจัดกิจกรรม  มีการบันทึกพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในด้านการอ่าน  การเขียน   โดยหลังจากผู้เรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์   มีการวัดผลประเมินผลเป็นระยะๆ  โดยวัดผลประเมินผลทุกสัปดาห์  แล้วรวบรวบข้อมูลทุกเดือน เพื่อสรุปผลพัฒนาการของผู้เรียน  และส่งต่อนักเรียนที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น โดยส่งต่อไปยังกลุ่มที่มีความสามารถในด้านการอ่าน และการเขียนสูงขึ้น  เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง


สรุปและข้อเสนอแนะ                                 

           นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่าน  การเขียนดีขึ้น  สังเกตได้จากจำนวนนักเรียนที่มีการส่งต่อ  หรือย้ายกลุ่มจากกลุ่มที่อ่านไม่ออก  เขียนไม่ได้  ไปยังกลุ่มกลุ่มที่อ่านออก  เขียนได้  มีมากขึ้นเป็นลำดับ  ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ในวิชาต่างๆได้ดีขึ้น  ทำให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นด้วย เปรียบเทียบผลที่ได้รับจากก่อนจัดกิจกรรมและหลังการจัดกิจกรรม  ปรากฏผลดังตาราง
 


ซึ่งพอสรุปผลการดำเนินงานได้ดังนี้

       1 นักเรียนได้รับการส่งต่อไปอยู่กลุ่มที่มีทักษะสูงขึ้น

       2 นักเรียนมีพัฒนาการในด้านการอ่านการเขียนดีขึ้น  ชายคิดเป็นร้อยละ   46.15   หญิงคิดเป็นร้อยละ  68.42

       3 นักเรียนสามารถออกเสียงภาษาไทยได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

       4 นักเรียนมีสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น

 

 


ภาคผนวก

   ประวัติ
               ชื่อ – สกุล  นายมะลาเซ็น     อาสัน      อายุ   34     ปี  

         อายุราชการ  3   ปี      คุณวุฒิสูงสุด  วิทยาศาสตร์บัณฑิต  (วท.บ.)              วิชาเอก  เทคโนโลยีการเกษตร  จากสถาบันการศึกษา   สถาบันราชภัฏภูเก็ต                ตำแหน่ง   ครู  คศ.1       ตำแหน่งเลขที่  3396                    ดำรงตำแหน่งที่สถานศึกษา  โรงเรียนบ้านท่ากำชำ   อำเภอ   หนองจิก        สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี เขต 1                       เริ่มรับราชการในตำแหน่ง     ครูผู้ช่วย    เมื่อวันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2548


ประวัติการศึกษา
               พ.ศ. 2531   จบประถมศึกษาปีที่   6   โรงเรียนบ้านสามยอด   อำเภอโคกโพธิ์  จังหวัดปัตตานี     

        พ.ศ. 2534   จบมัธยมศึกษาตอนต้น   โรงเรียนซอลีฮียะห์  อัดดีนียะห์    จังหวัด  ปัตตานี
              พ.ศ. 2537   จบมัธยมศึกษาตอนต้นปลาย   โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ    จังหวัดยะลา   

       พ.ศ. 2539   จบอณุปริญญา  สาขาเทคโนโลยีการเกษตร  สถาบันราชภัฎภูเก็ต   จังหวัดภูเก็ต        

       พ.ศ. 2541   จบปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีการเกษตร  (วท.บ) สถาบันราชภัฎภูเก็ต  จังหวัดภูเก็ต
            พ.ศ. 2545   จบประกาศนียบัตรวิชาชีพครู  (ป.วค.)   มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช 

                

ข้อมูลโรงเรียน                                   โรงเรียนบ้านท่ากำชำ  ตั้งอยู่ หมู่ที่  1 ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสไปรษณีย์   94170   เปิดสอนตั้งแต่ชั้นเด็กเล็ก ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปี พ.ศ. 2549 ข้าพเจ้าได้รับแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่ากำชำ ในปีต่อมาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้เรียกร้องให้โรงเรียนขยายชั้นเรียนในชั้นอนุบาล 1 และประถมศึกษาปีที่ 5- 6 ทางโรงเรียนจึงดำเนินการขออนุญาตไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและได้รับอนุญาตให้ขยายชั้นเรียนและเปิดทำการสอน ตามลำดับดังนี้ ปีการศึกษา  2550  เปิดทำการสอนระดับชั้นอนุบาล 1  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่  4   มี นักเรียนจำนวนทั้งสิ้น  75  คน ข้าราชการครูจำนวน  4  คน  ครูอัตราจ้าง  2  คน  นักการภารโรง 1  คน และในปีนี้ทางคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาและได้มีมติร่วมกันในการขอเปิดเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6  โดยเริ่มเปิดเรียนในปีการศึกษา 2551 ปีการศึกษา  2551  เปิดทำการสอนระดับชั้นอนุบาล 1  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่  5  มี นักเรียนจำนวนทั้งสิ้น  88  คน ข้าราชการครู  3  คน  พนักงานราชการ  2  คน  วิทยากรสอนศาสนา  1  คน  นักการภารโรง 1  คน ปีการศึกษา  2552  เปิดทำการสอนระดับชั้นอนุบาล 1  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  มีนักเรียนจำนวน ทั้งสิ้น 112  คน ข้าราชการครูจำนวน  4  คน พนักงานราชการ 3 คน นักการภารโรง 1  คน

รูปภาพของ nina

วิธีการจัดหน้าคือ แต่ละหัวข้อให้เคาะ Enter 2 ครั้งจะทำให้หน้าบล็อกดูดีขึ้นค่ะ

 

รูปภาพของ chay

copy มาวางแล้วเป็นแบบนี้ ไม่รู้ทำไม เออแล้วก็รูปแบบรายงานตอนไปอบรม บอกให้้เขียนรายงานเชิงบรรยายตามหัวข้อที่กำหนด แต่เมื่อส่งตรวจกลับให้แก้เป็นรูปแบบคล้ายๆ 5 บท ทำให้ครูสับสนมากๆ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 291 คน กำลังออนไลน์