• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e6d9b662acf7394df572c85e1a958578' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6600\">รายงานการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนา<br />\nการศึกษาเพื่อปฏิรูปการศึกษา<br />\n  3 จังหวัดชายแดนใต้ </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6600\">นางลำดวน   บัวหอม<br />\nผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปะดะดอ </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2<br />\nสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />\nกระทรวงศึกษาธิการ</strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\">พลังร่วมสร้างคน                                                        <br />\nโรงเรียนบ้านปะดะดอ  อ. ตากใบ จ. นราธิวาส </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>ประวัติส่วนตัว</strong><br />\n      ชื่อ – สกุล    นางลำดวน    บัวหอม        ผู้อำนวยการโรงเรียนปะดะดอ         <br />\n      วันเดือนปีเกิด   วันที่  7    กันยายน   2502  <br />\n      ภูมิลำเนา/ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 72/1 หมู่ 2 ต. ศาลาใหม่ อ. ตากใบ จ. นราธิวาส</span></span></p>\n<p><strong>ประวัติการศึกษา</strong><br />\n1) ประถมศึกษา ร.ร.บ้านศาลาใหม่   อ. ตากใบ  จ. นราธิวาส<br />\n2) มัธยมศึกษา ร. ร ตากใบ  อ. ตากใบ  จ. นราธิวาส<br />\n3) อนุปริญญา ( ป.วช.  ) วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส  จ. นราธิวาส<br />\n4) อนุปริญญา ( พ.ม )  ศึกษาด้วยตนเอง <br />\n5) ปริญญาตรี   ( ค.บ. ) วิทยาลัยราชภัฎยะลา  จ. ยะลา<br />\n6) ปริญญาโท ( ศษ.ม )การบริหารการศึกษา  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี</p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><strong>ประวัติการรับราชการตั้งแต่ต้น - ปัจจุบัน<br />\n</strong>1)   ครู 1 โรงเรียนบ้านคลองตัน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส  เริ่มบรรจุเมื่อ  22 พฤศจิกายน  2525   <br />\n2)   อาจารย์ 1 โรงเรียนบ้านคลองตัน   วันที่  1   ตุลาคม     2532<br />\n3)   อาจารย์ 2 โรงเรียนบ้านคลองตัน  วันที่  1    ตุลาคม     2538  <br />\n4)   ครู คศ.2   โรงเรียนบ้านคลองตัน  วันที่ 24  ธันวาคม   2547<br />\n5)   ครู คศ.2   โรงเรียนวัดชลธาราสิงเห( เสาร์ศึกษาคาร) วันที่  1  มิถุนายน  2548<br />\n6)   ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนูโร๊ะ อ.แว้ง จ. นราธิวาส  วันที่  24  มกราคม   2550<br />\n7)   ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปะดะดอ  อ. ตากใบ  จ. นราธิวาส 23 ธันวาคม 2551- ปัจจุบัน                         <br />\nคติในการทำงาน      “ จริงจัง   มุ่งมั่น   พัฒนา ” </span></p>\n<p>1.1 ข้อมูลโรงเรียน<br />\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong>ประวัติสถานศึกษา<br />\n ที่ตั้ง<br />\n</strong>      โรงเรียนบ้านปะดะดอตั้ง  หมู่ที่ 3  ตำบลนานาค  อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส  รหัสไปรษณีย์  96110 ห่างจากโรงเรียนตากใบ (โรงเรียนแม่ข่าย) ที่ว่าการอำเภอตากใบ  16 กิโลเมตร  และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต  2  (อำเภอสุไหงโก-ลก) ระยะทาง  20  กิโลเมตร <br />\n</span><span style=\"color: #ff6600\"><strong>ที่ดินที่ตั้งโรงเรียน <br />\n</strong>             ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอมีเนื้อที่ตามหนังสือที่ดินน.ส.3 ก.ทั้งสิ้น4ไร่2งาน 66ตารางวาตั้งในพื้นที่ราบลุ่มทุกปีในฤดูฝนน้ำจะท่วม จึงมีระบบชลประทานเข้ามาจัดการเรื่องน้ำ<br />\n</span><span style=\"color: #ff6600\"><strong>การจัดการเรียนการสอน<br />\n</strong>             โรงเรียนบ้านปะดะดอโรงเรียนระดับประถมศึกษาเปิดทำการสอนเมื่อวันที่  13  พฤษภาคม  พ.ศ. 2501  โดยกำนัน  เจ๊ะอูมา  โซ๊ะรี  ให้ใช้ที่ดิน  3 งาน  35  ตารางวา  เพื่อสร้างอาคารเรียนโดยความร่วมมือการสร้างการสร้างจากราษฎรโดยมีนายทองเล็ก  เดิมหมวก เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่  เป็นคนแรกและ ปี  พ.ศ. 2505 นายเจ๊ะอูมา โซ๊ะรี กำนันตำบลนานาคพร้อมด้วยราษฎรร่วมกันบริจาคที่ดินแปลงใหม่ 4 ไร่ 66  ตารางวา สร้างอาคารเรียนในที่ใหม่ตรงข้ามที่ดินเดิม<br />\n <strong>การจัดการศึกษา</strong><br />\n ปีการศึกษา  2501    เริ่มเปิดทำการสอน<br />\n ปีการศึกษา  2524  เปิดทำการสอน  ชั้นเด็กเล็ก  และชั้นประถมศึกษา<br />\n ปัจจุบันเปิดทำการสอน 2 ระดับ  คือระดับชันอนุบาล  และประถมศึกษา</span></p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><strong>1.2  ข้อมูลนักเรียน<br />\n ด้านปริมาณ</strong><br />\nปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ข้อมูลจำนวนนักเรียน  ปี2552<br />\nนักเรียนชั้นอนุบาล 1 – ป.6   ชาย  98   คน หญิง  112 คน  รวม 210  คน</span></p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><strong>1.3 ข้อมูลครูและบุคลากร<br />\nอัตรากำลังครูและบุคลากรของโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ปี2552</strong><br />\n1) ผู้บริหารสถานศึกษา                    1        คน<br />\n2) ครู                                         7        คน<br />\n3) พนักงานราชการ                         4        คน<br />\n4) ลูกจ้างประจำ                            2        คน<br />\n              รวมบุคลากรจำนวนทั้งสิ้น     14     คน<br />\n        </span><span style=\"color: #ff6600\"><strong>ปัญหาการเรียนการสอนที่พบสืบเนื่องมาจากสาเหตุดังนี้<br />\n</strong>1) ปัญหาทางภูมิศาสตร์ ที่ลุ่มน้ำท่วมขังเป็นเวลานานในทุกปีส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />\n2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ความยากจน  และครอบครัวต้องไปทำงานชายแดนต่างประเทศ   ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา<br />\n3) ด้านภาษา  การใช้ภาษาถิ่น  มากกว่าภาษาไทย  ส่งผลถึงการอ่านเขียนภาษาไทย<br />\n4) ปัญหาด้านความไม่สงบชายแดนภาคใต้ส่งผลให้มีการหยุดเรียน เกิดปัญหาการอ่าน     การเขียน  การพูดภาษาไทย  และการติดต่อสื่อสาร<br />\n5) ปัญหาการขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา<br />\n6) ปัญหาด้านโรคติดต่อ โดยแมลงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก , โรคชิคุนกุนย่า)<br />\n7) ปัญหาการเดินทาง มาปฏิบัติราชการ อยู่ในพื้นที่ สีแดง มีความเสี่ยงสูง (1 ใน 7 โรงเรียน )<br />\n8) ปัญหาบุคลากรย้ายเข้าและย้ายออกจำนวนมาก<br />\n9) ผู้บริหารสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบ่อย<br />\n10) ปัญหาเรื่องน้ำดื่ม  น้ำใช้  น้ำบริโภค (บ่อบาดาลไม่มีน้ำ)<br />\n             <br />\n</span><span style=\"color: #ff6600\"><strong>แนวทางการบริหารจัดการศึกษา<br />\n</strong>            1) บรรยากาศการบริหาร<br />\n           ผู้บริหารมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้  รวมทั้งกระตุ้นส่งเสริมให้มีการวิจัยในชั้นเรียน และใช้กระบวนการวิจัยในกระบวนการเรียนรู้  จัดประชุมสัมมนาหรือส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องนอกจากนี้ผู้บริหารประสานความร่วมมือกับชุมชน ผู้ปกครอง ผู้นำท้องถิ่น และแหล่งวิทยาการในชุมชน เพื่อระดมทรัพยากร และใช้ประโยชน์จากแหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและตามความสนใจของผู้เรียน<br />\n             โรงเรียนบ้านปะดะดอ เป็นโรงเรียนที่มีผู้บริหารสถานศึกษาเน้นการกระจายอำนาจไปยังคณะบุคคล ในระดับสถานศึกษา และชุมชนโดยให้คณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพิจารณาและเห็นชอบ ในกิจกรรมที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์โดยรวมแก่ชุมชน  เน้นความโปร่งใส เป็นธรรม และสร้างความสามัคคีในองค์กร  เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีพัฒนาการตามความต้องการ  รวมทั้งจัดบรรยากาศในสถานศึกษา  ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน  รวมทั้งการประสานความร่วมมือกับแหล่งเรียนรู้ในชุมชน  และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ และยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้  และเต็มศักยภาพ<br />\n             ในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาจัดเนื้อหาสาระ กิจกรรมสอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล  โดยผสมผสานความรู้ด้านต่างๆ อย่างสมดุล รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร<br />\n              การสร้างบรรยากาศการบริหารแบบมีส่วนร่วม   เปิดโอกาสให้ครู  ผู้ปกครองและผู้นำชุมชน มีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มุ่งผลลัพธ์ที่นำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ  ใช้แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ จัดระบบการประเมินผู้เรียนที่เน้นการประเมินตามสภาพจริง ด้านพัฒนาการ การสังเกตพฤติกรรม ความประพฤติ การร่วมกิจกรรม  สร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงานของครูที่ปรับเปลี่ยนวิธีสอนใหม่ๆและนำไปสู่การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อมาตรฐานวิชาชีพต่อไป<br />\n             กล่าวโดยสรุปบรรยากาศการบริหารโรงเรียนบ้านปะดะดอขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่นโครงสร้างการบริหาร กระบวนการบริหาร การใช้เทคนิควิธี การจัดสภาพแวดล้อม การมีมนุษยสัมพันธ์ของผู้บริหารตามสถานการณ์ที่เหมาะสม มีการมอบหมายงาน การกำกับ ดูแล ติดตามและประเมินผล  มีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีผลงานที่ปรากฏ    ผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจในงานที่กระทำอยู่ก็จะนำไปสู่การทำงานที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ซึ่งก่อให้เกิดความกระตือรือร้นที่จะทำงานให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ดังมีผลงานในเชิงประจักษ์            <br />\n             ดังนั้นจะเห็นว่าการสร้างบรรยากาศการบริหารที่ดีและการสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นแก่บุคลากรทุกฝ่ายทุกคนในโรงเรียน จึงมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอันจะส่งผลให้เกิดคุณภาพทางการศึกษา ที่จะช่วยนำโรงเรียนไปสู่เป้าหมายความสำเร็จของการจัดการศึกษาในอนาคต <br />\n             2  ความรู้สึกและความประทับใจของการบริหาร และพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการ<br />\n       2.1  ความรู้สึกและความประทับใจต่อคุณภาพของการบริหาร<br />\n                ศักยภาพการบริหารงาน โดยภาพรวมสามารถพัฒนาองค์กร ให้มีการพัฒนาที่ก้าวหน้าขึ้นจากเดิมได้เป็นอย่างดียิ่ง  ทั้งในด้านผู้เรียน  ด้านครู  ด้านบริหาร  และด้านชุมชนและท้องถิ่น<br />\n              เทคนิคในการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา  ใช้หลักการทำงานแบบวงจรเดมมิ่ง ( PDCA Deming Cycle ) ซึ่งประกอบด้วย 4  ขั้นตอน คือ<br />\n                 P      :    Plan      มีการวางแผนและกำหนดวัตถุประสงค์ของการทำงาน<br />\n                 D     :    Do         มีการทำงานตามแผน<br />\n                 C     :    Check    มีการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานตามแผน<br />\n                 A      :    Act        มีการดำเนินการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามแผน<br />\n                 ผลการปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลา  2  ปีที่ผ่านมาได้มีการวางแผนการดำเนินงาน  ทำงานตามแผน มีการตรวจสอบและประเมินตามแผนอย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานดำเนินไปสู่ความสำเร็จ  โดยมีการกระจายอำนาจ ร่วมกับหัวหน้างานทั้ง 4  ฝ่ายงานคืองานบริหารวิชาการ  บริหารงานบุคคล งานบริหารงบประมาณ และงานบริหารทั่วไป  ส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความสำเร็จในระดับภาคใต้ จากมูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลนในพระบรมราชินูปถัมภ์ (มนข. ) และมีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน<br />\n                จากการบริหารงานโดยการกระจายอำนาจ และยึดหลักธรรมาภิบาล ได้รับความพึงพอใจมากโดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษา โรงเรียนเป็นศูนย์รวมระหว่างองค์กรของรัฐ และประชาชน  ส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วม และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนดังกล่าวลดความหวาดระแวงจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารทุกขั้นตอน ซึ่งสอดคล้องกับหลักการบริหารบ้านเมืองที่ดีซึ่งโรงเรียนบ้านปะดะดอมีการบริหารงานสนองความพึงพอใจกันทุกภาคส่วน<br />\n1.4 สรุปผลงานเกียรติยศ ดีเด่นรอบ 5 ปี ( 2548 – 2552 )<br />\n  1) พ.ศ. 2548 -2550  สำเร็จหลักสูตร ธรรมศึกษาชั้น เอก จาก สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ<br />\n  2) พ.ศ.2548 ชนะเลิศ เรียงความประเภทประชาชน3 จังหวัดภาคใต้ เรื่องฮาราปันบารูสู่ใต้สันติกองทัพภาค 4ส่วนหน้า ค่ายอิงคยุทธ์ปัตตานี จ. ปัตตานี<br />\n  3) พ.ศ. 2548  รับรางวัล  เมืองไทย เมืองคนดี จากสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส<br />\n  4) พ.ศ. 2548  รับเกียรติบัตร รางวัลคุรุสดุดี  จาก สำนักงานคุรุสภา  กรุงเทพฯ<br />\n  5) พ.ศ. 2549 ชนะเลิศประกวดบทความสนง.ตำรวจแห่งชาติ(ประชาชนต้องการอะไรจากตำรวจ)<br />\n  6) พ.ศ. 2550 รับโล่ และเกียรติบัตร ศิษย์เก่าดีเด่นจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ.ยะลา <br />\n  </span><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\">7) พ.ศ. 2551 โรงเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศระดับภาคใต้ จากมูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ( มนข. )<br />\n  8) พ.ศ. 2551 ได้รับงบสนับสนุนการศึกษา การระดมทรัพยากรทางการศึกษาบริษัทบ้านปู จำกัด มหาชน กรุงเทพฯ เป็นจำนวนเงิน 175,000  บาท<br />\n  9)  พ.ศ. 2551  ได้รับงบบริจาคจำนวนเงิน  50,000  บาทจากมูลนิธิซเมนต์ไทย และมูลนิธิ มนข.   กรุงเทพฯ<br />\n  10) พ.ศ. 2552  ได้รับงบบริจาคจำนวนเงิน  130,000  บาทจากบริษัท ที โอ เอ เพ้นท์ ประเทศไทยจำกัด<br />\n1.5 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการศึกษา<br />\n                การบริหารงานกิจการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย  ระเบียบ  ข้อบังคับ  นโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา<br />\n                นางลำดวน  บัวหอมในฐานะที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษาที่เปรียบเสมือนเป็น“ผู้จัดการ”ให้ครูและบุคลากรอื่นๆดำเนินการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นไปตามจุดหมายของการศึกษา  ความคาดหวังของสังคมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่นโดยที่เป็นผู้มีคุณลักษณะสำคัญในการปฏิบัติงาน  ดังนี้<br />\n1.  ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการโดยเป็นผู้นำในการพัฒนาวิชาชีพการบริหาร<br />\n2.  เป็นผู้ที่มีความสามารถในการตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมทุกด้านในหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา ทั้งด้านการเรียนการสอน กิจกรรมเสริม ตลอดจนด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาครู ผู้เรียนและชุมชน<br />\n3.  เป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถพัฒนาตนเองให้เต็มขีดความสามารถของแต่ละบุคคล<br />\n4.  เป็นผู้มีความสามารถในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งให้เกิดผลคุ้มค่าต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สังคมและสิ่งแวดล้อม <br />\n5.  เป็นผู้มีความสามารถในการพัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับโดยการคิดค้นผลิตสื่อเครื่องมือเทคนิควิธีในการบริหารการศึกษาโดยผู้ร่วมงานมีส่วนร่วม<br />\n6.  เป็นผู้มีความสามารถในการปฏิบัติงานขององค์กรโดยเน้นผลถาวร ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดไว้จริง โดยผู้ปฏิบัติงานดำเนินการเอง<br />\n7. เป็นผู้มีความสามารถในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งให้เกิดผลคุ้มค่าต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา  สังคมและสิ่งแวดล้อม<br />\n8.  เป็นผู้มีความสามารถในการพัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับโดยการคิดค้นผลิตสื่อเครื่องมือเทคนิควิธีในการบริหารการศึกษาโดยผู้ร่วมงานมีส่วนร่วม<br />\n9.  เป็นผู้มีความสามารถในการปฏิบัติงานขององค์กรโดยเน้นผลถาวร  ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดไว้จริงโดยผู้ปฏิบัติงานดำเนินการเอง ตรวจสอบ ประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงานด้วยตนเองและปรับปรุงงานได้เอง  จนสามารถนำไปสู่ผลได้จริง  อย่างภาคภูมิใจ<br />\n10.  เป็นผู้มีความสามารถในการรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ  โดยการรายงานผลที่เกิดจากการปฏิบัติจริง  มีรายละเอียดที่ลึกซึ้ง  มีการเสนอแนะวิธีการปรับปรุงการปฏิบัติให้ได้ผลดีกว่าเดิมจากผลเสียและข้อจำกัดที่พบ  และมีข้อเสนอแนะในการนำไปปรับใช้ในสภาวะต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม<br />\n11.  เป็นผู้มีความสามารถในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีจนผู้อื่นเกิดศรัทธาและปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่เลือกสรรแล้วจนเป็นปกตินิสัย<br />\n 12.  เป็นผู้มีความสามารถในการร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์  โดยการเป็นผู้นำในการพัฒนาชุมชนและร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ<br />\n 13.  เป็นผู้มีความสามารถในการนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ในการจัดกิจกรรมการพัฒนาได้อย่างเป็นปกติวิสัยและสามารถให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ร่วมงาน  หน่วยงานและชุมชนได้อย่างเป็นระบบ<br />\n 14.  เป็นผู้มีความสามารถเป็นผู้นำและสร้างผู้นำ  โดยการร่วมกันสร้างแนวทางหรือวัฒนธรรมการทำงานที่ดีขององค์กร<br />\n 15.  เป็นผู้มีความสามารถในการสร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์  โดยการดำเนินกิจกรรมขององค์กรได้อย่างสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต </span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\">               ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา<br />\n               จัดโครงสร้างการบริหารงาน 4  ฝ่ายงาน  งานบริหารวิชาการ งานบริหารทั่วไป  งานบริหารงานงบประมาณ  งานบริหารงานบุคคล  การดำเนินงานในแต่ละฝ่ายในรายการปฏิบัติมีการดำเนินการที่ได้ผลดียิ่ง<br />\n            1) ด้านการบริหารวิชาการ<br />\n1. การพัฒนาหลักสูตรสอดคล้องกับความต้องการท้องถิ่นโดยมีคนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม<br />\n2. มีการจัดทำหลักสูตรสอดคล้องวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา<br />\n3. มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม<br />\n4. มีการจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น<br />\n5. มีการจัดทำแผนการเรียนรู้บูรณาการสอดคล้องมาตรฐานการศึกษา<br />\n6. มีการจัดทำสื่อและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน<br />\n7. มีการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ<br />\n8. มีการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ครบถ้วน<br />\n9. มีการปรับเกณฑ์การประเมินคุณภาพให้สูงขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา<br />\n            2) ด้านการบริหารบุคคล<br />\n1. มีสารสนเทศเกี่ยวกับอัตรากำลังครูเป็นปัจจุบันและความต้องการในอนาคต<br />\n2. มีการส่งเสริมครูให้ทำวิจัยชั้นเรียน<br />\n3. มีการติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างเป็นระบบ<br />\n4. มีการยกย่อง สร้างขวัญกำลังใจ ส่งเสริมให้ส่งผลงานทางวิชาการ บุคลากรผู้สร้างคุณงามความดีและประสบผลสำเร็จในวิชาชีพ<br />\n             3) ด้านการบริหารงบประมาณ<br />\n1. มีระบบสารสนเทศ อาทิบัญชี การเงินพัสดุครุภัณฑ์ที่มีคุณภาพและเป็นปัจจุบัน<br />\n2. มีการระดมทรัพยากรทางการศึกษา<br />\n3. มีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบงบประมาณ และปรับปรุง/โครงการอย่างเป็นระบบ<br />\n4. ให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินผลงานโครงการหลังสิ้นสุดงานโครงการ<br />\n              4) ด้านการบริหารทั่วไป<br />\n1. การบริหารงานธุรการเป็นไปอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง<br />\n2. จัดระบบงานสารบรรณมีประสิทธิภาพ เป็นระบบและมีข้อมูล<br />\n3. บริเวณโรงเรียน อาคารเรียนสะอาดเป็นระเบียบบรรยากาศร่มรื่นต้นไม้สดชื่น<br />\n4. การประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา<br />\n5. โรงเรียนมาระบบเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียน<br />\n6. มีการจัดทำประกันคุณภาพการศึกษา<br />\n7. มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพของสถานศึกษา<br />\n8. มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา<br />\n9. มีการประเมินตนเองตามมาตรฐานที่กำหนด<br />\n10. มีการจัดทำรายงานการประเมินตนเองหรือรายงานประจำปีเสนอผู้เกี่ยวข้อง<br />\n              การบริหารที่ดี เปรียบเสมือน เรือย่อมมีหางเสือ ย่อมกำหนดทิศทาง ที่จะนำพาองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษาหลักการข้างต้นเป็นหลักใหญ่ที่จะนำพาองค์กรสถานศึกษาสู่ความสำเร็จนวัตกรรมที่สถานศึกษาพัฒนาขึ้นได้ผลดีจนถือว่าเป็นการปฏิบัติที่เป็นเลิศได้ เพื่อพัฒนาการ  บริหารจัดการศึกษาให้สามารถพัฒนาผู้เรียน ให้เป็น คนดี  คนเก่ง มีความสุข สนุกกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตนวัตกรรมการศึกษาที่เป็นผลสำเร็จในการบริหารจัดการศึกษา คือ การแก้ปัญหาการอ่านเขียนภาษาไทยโดยร่วมกับมูลนิธิสุข – แก้ว  แก้วแดง  การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในจังหวัดชายแดนภาคใต้  ปี พ.ศ. 2552  ส่งผลให้ผู้เรียนมาความพร้อมในการอ่าน เขียนภาษาไทย เป็นเครื่องมือสื่อสารได้ดี<br />\n            </span><span style=\"color: #ff6600\"><strong>กล่าวโดยสรุป<br />\n</strong>            กิจกรรมของนักเรียนที่สะท้อนจากการเขียนความรู้สึกต่อการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน ในด้านความประทับใจ พบว่า ส่วนใหญ่ประทับใจคุณลักษณะของครูผู้สอน คือ ครูใจดี มีความเป็นกันเอง ใจเย็น เอาใจใส่นักเรียน รู้สึกอบอุ่น และยิ้มแย้มแจ่มใส ในด้านสิ่งที่เรียนรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน พบว่า ส่วนใหญ่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ คือ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารได้ถูกต้อง ในด้านความต้องการที่ให้ครูผู้สอนปรับปรุงหรือพัฒนา พบว่า ส่วนใหญ่ต้องการให้ครูผู้สอนปรับปรุง คือ ให้มีการใช้สื่อที่หลากหลายและเหมาะสมกับนักเรียน<br />\n             ความเห็นด้านการสอนของครูผู้สอนโดยภาพรวม พบว่า ครูผู้สอนในโรงเรียนของบ้าน<br />\nปะดะดอ  ส่วนใหญ่มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับดี คือ มีจำนวนครูร้อยละ 80 – 89  มีพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมที่เปิดโอกาสให้   ผู้เรียนรู้วิธีการทำงานร่วมกัน<br />\n การมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียนโดยภาพรวมทุกโรงเรียน  บุคลากรของโรงเรียนมีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับดี โดยมีการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีจำนวนสูงสุดทุกโรงเรียน ได้แก่ กำหนดขอบข่ายของงานและแบ่งงานกันรับผิดชอบ<br />\n ความคิดเห็นของผู้ปกครองและชุมชน ที่มีต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม ปรากฏว่าผู้    ปกครองและชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอยู่ในระดับดี กล่าวคือ สิ่งที่ผู้ปกครอง  ชุมชน มีความพึงพอใจมากที่สุด  ได้แก่ โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชน โรงเรียนมีบรรยากาศการทำงานที่   ยิ้มแย้มแจ่มใส คณะครูมีความกระตือรือร้นทุ่มเทในการทำงาน และพัฒนาผู้เรียนอย่างจริงจัง<br />\n              ผลงานของโรงเรียนที่เกิดขึ้น ได้แก่  มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา   ผลงานเกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคนในโรงเรียนและตัวแทนผู้ปกครอง และผลงานการรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี ส่งผลต่อผู้เรียนเป็นคนดี  เก่ง และมีความสุข<br />\n             </span><span style=\"color: #ff6600\"><strong>  ข้อเสนอแนะด้านการบริหารเบื้องต้นในการพัฒนาผู้บริหาร<br />\n</strong>              ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน  เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาการ<br />\nเรียนการสอน  การใช้หลักสูตร ใช้สื่อที่เหมาะสม  โดยมีผู้บริหารเป็นคณะกรรมการอำนวยการ และหัวหน้างานบริหารวิชาการทั้งระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบร่วมกันกับหัวหน้างกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8  กลุ่มสาระ  และพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นให้หลากหลาย  ที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน  มีการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  มีวิธีสอนที่หลากวิธีการและเทคนิคการสอนได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างต่อเนื่อง<br />\n              ผู้บริหาร กำกับติดตามอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ  รวมจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้  รวมทั้งการสร้างขวัญกำลังใจในการทำงานให้มีในรูปแบบที่หลากหลายและต่อเนื่อง<br />\n1.6 ความต้องการแก้ไขปรับปรุง<br />\n       1)  ปัญหาด้านการเรียนการสอน  เรื่องการใช้ภาษาไทย  สืบเนื่องปัญหาจากเหตุผลที่กล่าวข้างต้น  ส่งผลเสียต่อการเรียนการสอนอย่างมาก  ได้พยายามจัดซื้อ จัดหาสื่อ  เพื่อแก้ปัญหา  การใช้ภาษาไทยให้ดีขึ้นกว่าเดิม<br />\n       2)  การทำงานร่วมกับ บุคคลอื่นนั้น  ต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ เพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งผลงาน  ถึงแม้บางครั้ง  ต้องเจอปัญหานานัปการ  แต่ต้องมีความอดทน การทำงานให้สำเร็จต้องอาศัยหลักการบริหารจัดการ  เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ  การบริหารงานใช้หลัก ฝ่ายงานเป็นฐาน  โดยมอบหมายงานเป็นฝ่าย  และในฝ่ายมีผู้รับผิดชอบ  และรับนโยบายจากผู้บริหารโดยตรง<br />\n      3)  การวางแผนเป็นปัจจัยสำคัญ  การวางแผนที่ดีต้องมีข้อมูลที่ชัดเจน และถูกต้อง  ฉะนั้นก่อนวางแผนต้องศึกษาข้อมูล  เพื่อประกอบการวางแผน  นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์  แยกแยะ  จัดหมวดหมู่ ในการวางแผน  เพื่อประสิทธิภาพของงาน  แนวคิดทฤษฎีที่ใช้  กระบวนการทำงานโดยใช้วงจรคุณภาพการบริหารวงจรเดมมิ่ง   ซึ่งมีการวางแผน  ปฏิบัติตามแผน  ปรับปรุง แก้ไข  พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น<br />\n      4) การดำเนินงานภายในโรงเรียน  ได้ร่วมซักถามปัญหา  เพื่อต้องการแก้ปัญหาให้การจัดการศึกษามีความก้าวหน้า   มีคุณภาพการศึกษาดีขึ้น  โดยขั้นตอนแรกซักถามปัญหา  เมื่อทราบปัญหาว่านักเรียนมีปัญหาด้านการใช้ภาษาไทย   คณะครูต่างระดมพลังสมองแก้ปัญหา  โดยเสนอทางเลือก  หลากหลายทางเลือก   และเลือกทางเลือกที่ปฏิบัติได้  มีมติเป็นเอกฉันท์<br />\n           <strong>สรุป</strong> การทำงานทุกอย่างต้องมีอุปสรรค หากว่า ไม่แก้ปัญหา  ยิ่งพอกพูนขึ้นอย่างยากที่จะแก้ไข   ฉะนั้นการร่วมมือร่วมใจกัน เป็นสิ่งสำคัญ  ปัญหาจะลุล่วงไปด้วยดี<br />\n</span><span style=\"color: #ff6600\"><strong>1.7 ผลที่เกิดขึ้น<br />\n          ความสำเร็จของตนเอง</strong> <br />\n1) โรงเรียนได้รับคัดเลือก “ การเนินโครงการ มนข. 80 พรรษา เทิดพระเกียรติ สนอง  เศรษฐกิจพอเพียง ”  พ.ศ. 2551  จาก มูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลนในพระบรมราชินูปถัมภ์  กรุงเทพฯ  เป็นตัวแทนภาคใต้<br />\n2) นักเรียนสอบได้รับทุนเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนเวียงสุวรรณวิทยาคม  1  คนปีการศึกษา  2551 ( ทุนจาก ศอ.บต. ระดับ ม.1 -  ม.6 ) <br />\n3) โรงเรียนได้รับคัดเลือกจากสพฐ. ให้สถานีโทรทัศน์ช่อง 11  จัดทำการจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้สื่อมัลติมีเดีย(ใช้โปรแกรม Power piont)  ซึ่ง   ได้ดำเนินการถ่ายทำเมื่อ  25  พฤษภาคม 2552  (ปีการศึกษา 2551)<br />\n4)    ความสำเร็จของนักเรียน<br />\n8 ม.ค. 2552 ชนะเลิศประกวดร้องเพลงลูกทุ่งหญิง / ชายวันเด็ก โรงเรียนในกลุ่มนานาค<br />\n8 ม.ค. 2552 รองชนะเลิศประกวดร้องเพลงสตริงหญิง วันเด็ก โรงเรียนในกลุ่มนานาค<br />\n22 ม.ค.2552 ชนะเลิศร้องเพลงอานาซิส ณ รร.จริยธรรมอิสลาม โรงเรียนใน สพท.นธ.๒<br />\n22 ก.ค. 2552 ชนะเลิศ กีฬาสัมพันธ์ 3  โรงเรียน โรงเรียนในกลุ่มนานาค<br />\n11  ก.ย.2552 ชนะเลิศ โรงเรียนคู่ขนานตาดีกาดีเด่น ระดับสพท.นธ.2 สพท.นธ. 2  29 ก.ย.2552 นักเรียนชนะเลิศเล่านิทานภาษาอังกฤษ<br />\n( Storty Telling) ระดับศูนย์เครือข่าย   อ.ตากใบ<br />\nสรุปบทเรียนที่ได้<br />\n           1) ผู้เรียนมีการสรุปองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น  <br />\n           2) ผู้เรียนร่วมมือ  โดยพลังร่วมสร้างความภาคภูมิใจให้ทุกคน<br />\n           2) ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น  และความตระหนักในหน้าที่รับผิดชอบ <br />\nประโยชน์ที่ได้รับ<br />\n           1) ที่เกิดกับตนเอง<br />\n              ผู้เรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน  มีความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น  พร้อมทำกิจกรรมที่จัดให้อย่างจริงจัง ไม่ปฏิเสธงานรับผิดชอบ<br />\n           2) แนวทางการพัฒนาผู้เรียน<br />\n               ส่งเสริมการปฏิบัติจริง    ประกอบด้วยทีมทำ    ทีมนำ  โดยหาผู้นำ  ผู้ตามที่ดี  และเสนอแนวทางการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้   ในรูปแบบ การพูดเสียงตามสาย  การร้องเพลง  การเล่านิทาน   การเล่านิทาน เป็นต้น   การทำอะไรที่ซ้ำซาก  บ่อยๆ  จะส่งผลให้มีความชำนาญยิ่งขึ้น  และกล้าแสดงออก  แต่ทุกครั้ง  ที่นักเรียนทำดี  ต้องเสริมแรงด้วยคำชมเชย แสดงอัธยาศัยที่ดีงาม<br />\n           3) ผู้สอนตระหนักในหน้าที่รับผิดชอบมากขึ้น  ร่วมกิจกรรมหน้าที่รับผิดชอบอย่างเต็มใจ<br />\n           4) การเผยแพร่กับบุคคลอื่นในโรงเรียนเครือข่าย และโรงเรียนใกล้เคียง เป็นแนวทางในการดำเนินให้ก้าวหน้าต่อไปในอนาคต </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">......................................................................................................................................................................................</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">รายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน (ชุดที่ ๑ รายโรง )<br />\nโครงการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">๑. ชื่อโรงเรียน(เจ้าบ้าน)  โรงเรียนบ้านปะดะดอ  เขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส  เขต ๒ จังหวัดนราธิวาส<br />\n๒. ชื่อโรงเรียนผู้มาเยี่ยมเยียน  <br />\n       โรงเรียนบ้านสะหริ่ง  <br />\n       โรงเรียนวัดสิทธิสารประดิษฐ์<br />\n       โรงเรียนเทศบาล  ๓  สุไหงโก-ลก<br />\n       โรงเรียนอนุบาลบ้านสมถวิล<br />\n       โรงเรียนอิสลามวิทยาทาน<br />\n       โรงเรียนนูรุดดิน<br />\n๓. วันที่  ๓๐  เดือนกรกฎาคม  พ.ศ. ๒๕๕๒  ที่มาเยี่ยมเยียน<br />\n๔. ๑   สภาพทั่วไป  (บรรยายลักษณะสภาพทั่วไปของโรงเรียนเจ้าบ้าน) <br />\nโรงเรียนบ้านปะดะดอตั้งอยู่หมู่ที่  ๓  ตำบล นานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ชั้น อนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีครูและบุคลากรทั้งหมด  ๑๔  คน เป็นชาย ๔ คน หญิง  ๑๐ คน นับถือศาสนาพุทธ  ๔  คน    อิสลาม  ๑๐  คน   นักเรียนทั้งหมด  ๒๑๖  คน  เป็นชาย  ๑๐๑   คน   หญิง    ๑๑๕    คน อนุบาล  ๕๑  คน   ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๑-๖  จำนวน  ๑๖๕ คน  นับถือศาสนาอิสลาม ๑๐๐%<br />\n              ในปีการศึกษา ๒๕๔๙ ผลการสอบ NT  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖  ดังนี้  ภาษาไทย  ๔๗.๖๗  %คณิตศาสตร์  ๔๖.๐๐  % วิทยาศาสตร์  ๓๑.๘๓%   ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) 47๔๗.๗%ในปีการศึกษา ๒๕๔๙  โรงเรียนบ้านปะดะดอ ก็ประสบปัญหาดังกล่าวเช่นกัน กล่าวคือในข้อมูลของการสอบ NT  ปีการศึกษา ๒๕๔๙ ในวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ ๔๗.๖๗ ( สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต ๒,๒๕๔๙ ) และปีการศึกษา  2550 เมื่อมีการปรับเปลี่ยนครูบุคลากรผลการสอบ NT  ปีการศึกษา ๒๕๕๐  เฉลี่ยยังลดลงคิดเป็นร้อยละ ๒๕ โรงเรียนจึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่มีคุณภาพ โดยใช้เทคนิคการจัดการความรู้นักเรียนเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  จำนวน  ๒๔ คน มีอัตราการเรียนต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ โดยเรียนต่อในโรงเรียนของรัฐ  จำนวน  ๕  คน  คิดเป็นร้อยละ   ๒๐.๘๓  เรียนต่อโรงเรียนเอกชน ๗  คน  คิดเป็นร้อยละ  ๒๙.๑๗    เรียนต่อโรงเรียนปอเนาะ  ๑๐  คน  คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๖๗  มีพื้นฐานความรู้อ่อนมาก ความก้าวร้าวและทะเลาะวิวาทน้อย การเล่นการพนันน้อยชู้สาวไม่มี  ความไม่มีวินัย/ไม่รับผิดชอบปานกลาง กินหล้าสูบบุหรี่ไม่มี หนีเรียน เล็กน้อย  การเบี่ยงเบนทางเพศไม่มีนอกจากนี้ยังมีปัญหาอื่นๆที่เห็นว่าสำคัญและผลต่อการพัฒนาการเรียนคือการไม่เห็นความสำคัญของการเรียนขาดความสนใจ ตั้งใจในการเรียนไม่มีจุดมุ่งหมายในการเรียน มีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เรียน  การขาดเรียนบ่อยๆ<br />\n                    ครูประจำการ  ๖ คน พนักงานราชการ ๖  คน   วิทยากรสอนอิสลามศึกษา ๑ คน  นักการภารโรง ๑  คน  มีครูช่วยราชการ ๓ คนไม่มีครูย้ายเข้าย้ายออก ครูที่ต้องการเพิ่มตามกลุ่มสาระมีดังนี้คือ ภาษาไทย  คอมพิวเตอร์ <br />\n                  โรงเรียนมีสื่อ คอมพิวเตอร์ จำนวน  ๓ เครื่อง ที่ใช้เฉพาะการเรียนการสอนยังไม่มีเป็นทางการ มีโทรศัพท์เพื่อใช้ติดต่อราชการจำนวน  ๑ หมายเลข มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูงจำนวน ๑ เครื่อง และเชื่อมต่อโทรศัพท์พื้นฐานจำนวน ๑ เครื่อง ปัจจุบันการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่ยังต้องเสียค่าใช้จ่ายค่าโทรศัพท์พื้นฐาน ซึ่งเป็นอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนเพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน<br />\nแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยทั่วไป  สอนให้นักเรียนรู้จักสระ พยัญชนะ<br />\nสอนการแจกลูกคำ  อ่านคำและรู้ความหมายของคำโดยใช้สื่อ  อ่านเนื้อเรื่องที่กำหนดให้  ตอบคำถามจากเรื่องโดยตอบปากเปล่า  เขียนตามคำบอก  แต่งประโยค  แต่งเรื่องใหม่โดยนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน  ประเมินผลผ่านหรือไม่ผ่าน  สรุป นำกลับไปทำซ้ำ ถ้าไม่สำเร็จ<br />\n               ปัญหาสำคัญของผู้บริหารในการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการสอนภาษาไทย<br />\nครูไม่เปลี่ยนพฤติกรรมการสอน  ยังใช้วิธีการสอนไม่หลากหลาย  ครูผู้สอนไม่ได้จบเอกภาษาไทยสื่อ  อุปกรณ์ ไม่เพียงพอ และไม่นำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้เท่าที่ควรโรงเรียนมีสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษาปานกลางสื่อที่โรงเรียนใช้เพื่อใช้ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษา เรียงตามลำดับการใช้งานดังนี้  แบบเรียน  แบบฝึกหัด  แบบฝึก  หนังสือภาพ หนังสืออ่านประกอบ  บัตรคำ บัตรภาพ  ซีดีรอม  ซีดี ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนโดยรวม โรงเรียนมีปัญหาอยู่บ้างได้แก่  การวางแผนการพัฒนาหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ เนื่องจากหลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยทำให้ขาดความมั่นใจในการใช้และพัฒนา<br />\n ปัญหาการจัดการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายประการ ได้แก่ การขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา  กล่าวคือ จากการที่ครูและบุคลากรทางการศึกษาย้ายออกจากพื้นที่จำนวนมาก ทำให้ทางโรงเรียนมีครูอัตราจ้างสอนเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลต่อปัญหาคุณภาพครูผู้สอนปัญหาการบริหารจัดการและคุณภาพการศึกษา  แม้ว่าจะมีการจัดสรรอัตรากำลังให้โรงเรียนเพิ่มขึ้น แต่โรงเรียนส่วนใหญ่ก็ยังประสบปัญหาการขาดแคลนทั้งครูเชิงคุณภาพโดยเฉพาะการสอนภาษาไทยที่เป็นภาษาพื้นฐาน  ซึ่งขาดแคลนทั้งครูชำนาญการและครูที่มีความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้เรียน เช่นครูที่สอนภาษาไทยไม่ชำนาญในการใช้ภาษามาลายูถิ่น  ส่วนครูที่ใช้ภาษามาลายูถิ่นจะไม่ชำนาญในการใช้ภาษาไทย  และปัญหาข้อจำกัดในการใช้ภาษาไทยของชาวมุสลิม  โดยเฉพาะการอ่านออกเขียนได้  เป็นอุปสรรคต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเกือบทุกวิชา  นอกจากนี้ ยังมีปัญหาความซ้ำซ้อนในการศึกษาคือด้วยบริบทของชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ชาวไทยมุสลิมต้องการให้นักเรียนให้นักเรียนเรียนรู้และมีวิถีการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนาอิสลาม  ทำให้นักเรียนไทยมุสลิมต้องให้เวลากับการเรียนมากกว่าปกติเพื่อให้ได้รับความรู้และทักษะประสบการที่สามารถตอบสนองต่อการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนา  ส่งผลให้นักเรียนต้องเรียนหนังสือมากกว่าปกติ  เฉลี่ยแล้วเด็ก 1 คน จะต้องเรียนวิชาศาสนาไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ แม้ว่านักเรียนจะเรียนวิชาศาสนามาแล้วจากโรงเรียนของรัฐแต่ผู้ปกครองก็มักให้บุตรหลานเรียนศาสนาในตาดีกาหรือสถาบันปอเนาะควบคู่ไปด้วยนักเรียนจึงเรียนซ้ำซ้อนทั้งในเวลาปกติที่โรงเรียนของรัฐและตอนบ่ายหรือเสาร์อาทิตย์ในตาดีกาหรือปอเนาะ  เมื่อนักเรียนไปเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามต้องเรียนซ้ำซ้อนอีกเป็น<br />\nครั้งที่ ๓  การใช้เวลาเรียนที่มากกว่าปกติมีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์วิชาสามัญของนักเรียนในภาพรวมทั้งหมด <br />\n๔.๒ ข้อมูลพื้นฐาน<br />\n          ๔.๒.๑ ระดับการศึกษาที่เปิดสอน  ระดับอนุบาล ( อ ๑- อ ๒ )<br />\n                      ระดับประถมศึกษา  ( ป.๑- ป.๖ )<br />\n         ๔.๒.๒  จำนวนนักเรียนปีการศึกษา  ๒๕๕๑  และ  ๒๕๕๒<br />\nชั้น จำนวนนักเรียนในบัญชีเรียกชื่อ<br />\nเรียกชื่อ<br />\n ชาย หญิง รวม<br />\nอนุบาล  ๑ ๑๒ ๑๓ ๒๕<br />\nอนุบาล  ๒ ๑๓ ๑๓ ๒๖<br />\nรวมระดับก่อนประถมศึกษา ๒๕ ๒๖ ๕๑<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๑ ๑๒ ๑๓ ๒๕<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๒ ๙ ๑๖ ๒๕<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๓ ๑๕ ๑๓ ๒๘<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๔ ๑๒ ๑๔ ๒๖<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๕ ๑๒ ๑๕ ๒๗<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๖ ๑๖ ๑๘ ๓๔<br />\nรวมระดับประถมศึกษา ๗๖ ๘๙ ๑๖๕<br />\nรวมทั้งสิ้น ๑๐๑ ๑๑๕ ๒๑๖<br />\n  <br />\n               </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<br />\nจำนวนนักเรียนปีการศึกษา  ๒๕๕๒  จำนวน   ๒๑๐  คน<br />\nชั้น จำนวนนักเรียนในบัญชีเรียกชื่อ<br />\nเรียกชื่อ<br />\n ชาย หญิง รวม<br />\nอนุบาล  ๑ ๑๑ ๑๖ ๒๗<br />\nอนุบาล  ๒ ๑๒ ๑๓ ๒๕<br />\nรวมระดับก่อนประถมศึกษา ๒๓ ๒๙ ๕๒<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๑ ๑๖ ๑๔ ๓๐<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๒ ๑๐ ๑๑ ๒๑<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๓ ๑๐ ๑๕ ๒๕<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๔ ๑๕ ๑๒ ๒๗<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๕ ๑๓ ๑๔ ๒๗<br />\nประถมศึกษาปีที่  ๖ ๑๓ ๑๕ ๒๘<br />\nรวมระดับประถมศึกษา ๗๗ ๘๕ ๑๕๘<br />\nรวมทั้งสิ้น ๑๐๐ ๑๑๐ ๒๑๐\n</p>\n<p>\n          ๔.๒.๓  จำนวนครู  ปีการศึกษา  ๒๕๕๑  และ  ๒๕๕๒<br />\n                       จำนวนครู  ปีการศึกษา  ๒๕๕๑  จำนวน  ๑๓  คน  <br />\nที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง/ระดับ   อายุ วิชาเอก<br />\n   ตัว ราชการ <br />\n๑ นางลำดวน  บัวหอม ผู้อำนวยการระดับ  ๔๙ ๒๖ ศษ.ม/การบริหารการศึกษา<br />\n๒ นางสาวเนตรนภา  นอสืบ ครู  ๓๓ ๕ คบ./ภาษาอังกฤษ<br />\n๓ นายปาต๊ะ  ปะจูสะลา ครู ๓๐ ๔ คบ./คณิตศาสตร์<br />\n๔ นางฐปนี  ธนาวุฒิ ครู ๓๙ ๔ คบ./ภาษาไทย<br />\n๕ นางสาวฆอบีเราะห์  ดอฮะ ครู ๒๖ ๔ คบ./การศึกษาปฐมวัย<br />\n๖ นางสุทธิรัตน์   ชมภูประเภท ครูผู้ช่วย ๓๑ ๑ ปี ๘ เดือน คบ./วิทยาศาสตร์ทั่วไป<br />\n๗ นายสังวาล  บุญหนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๕ คบ./พลศึกษา<br />\n๘ นางสาวสุธีมนต์  ทองเอียด พนักงานราชการ ๓๑ ๔ คบ./ศิลปศึกษา<br />\n๙ นางสาวสีตีนาสรา  สือนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./การปฐมศึกษา<br />\n๑๐ นางสาวสารีป๊ะ  ปิตาราโซ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./สังคมศึกษา<br />\n๑๑ นางสาวโสภนา  ณ  รังษี พนักงานราชการ ๒๙ ๔ คบ./สังคมศึกษา<br />\n๑๒ นางมายีลา  สูหลง พนักงานราชการ ๒๘ ๔ คบ./ธุรกิจศึกษา<br />\n๑๓ นายเจ๊ะเต๊ะ  อาแว ลูกจ้างประจำ ๕๙ ๒๘ -\n</p>\n<p>\n                       จำนวนครู  ปีการศึกษา  ๒๕๕๒ จำนวน  ๑๔  คน  <br />\nที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง/ระดับ   อายุ วิชาเอก<br />\n   ตัว ราชการ <br />\n๑ นางลำดวน  บัวหอม ผู้อำนวยการระดับ  ๔๙ ๒๖ ศษ.ม/การบริหารการศึกษา<br />\n๒ นางสาวเนตรนภา  นอสืบ ครู  ๓๓ ๕ คบ./ภาษาอังกฤษ<br />\n๓ นายปาต๊ะ  ปะจูสะลา ครู ๓๐ ๔ คบ./คณิตศาสตร์<br />\n๔ นางฐปนี  ธนาวุฒิ ครู ๓๙ ๔ คบ./ภาษาไทย<br />\n๕ นางสาวฆอบีเราะห์  ดอฮะ ครู ๒๖ ๔ คบ./การศึกษาปฐมวัย<br />\n๖ นางสุทธิรัตน์   ชมภูประเภท ครูผู้ช่วย ๓๑ ๑ ปี ๘ เดือน คบ./วิทยาศาสตร์ทั่วไป<br />\n๗ นายสังวาล  บุญหนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๕ คบ./พลศึกษา<br />\n๘ นางสาวสุธีมนต์  ทองเอียด พนักงานราชการ ๓๑ ๔ คบ./ศิลปศึกษา<br />\n๙ นางสาวสีตีนาสรา  สือนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./การปฐมศึกษา<br />\n๑๐ นางสาวสารีป๊ะ  ปิตาราโซ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./สังคมศึกษา<br />\n๑๑ นางสาวโสภนา  ณ  รังษี พนักงานราชการ ๒๙ ๔ คบ./สังคมศึกษา<br />\n๑๒ นางมายีลา  สูหลง พนักงานราชการ ๒๘ ๔ คบ./ธุรกิจศึกษา<br />\n๑๓ นายเจ๊ะเต๊ะ  อาแว ลูกจ้างประจำ ๕๙ ๒๘ -<br />\n๑๔ นางสาวธาริกา  กุกามา ครู ๒๖ ๓ วท.บ. ชีววิทยาประยุกต์\n</p>\n<p>\n          ๔.๓  ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกโดย  สมศ. ( ระบุแต่ละมาตรฐานโดยใส่เป็นตัวเลขและข้อเสนอแนะโดยสรุป )\n</p>\n<p>\nโรงเรียนนี้มีครูที่ดำเนินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจำนวนกี่คนและครูเหล่านั้นมีการวิธีดำเนินการอย่างไร<br />\nครูทุกคนดำเนินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยมีวิธีการดำเนินการดังนี้<br />\nด้านวิธีการสอน  แบ่งเป็น  ๓  ด้าน<br />\n  -   สอนในชั้นเรียน<br />\n  -   สอนซ่อมเสริม <br />\n  -   กิจกรรมการเรียนการสอน<br />\n ๑.  สอนในชั้นเรียน<br />\n  ๑.๑.๑   สอนสะกดคำ<br />\n   -  รู้จักรูปและเสียงของพยัญชนะ  สระ  และวรรณยุกต์<br />\n   -  ฝึกแจกแจงลูกประสมคำ  <br />\n   -  สะกดคำ   อ่านคำ  และเขียนตามคำบอก  <br />\n   -  ฝึกเขียนประโยคสั้นๆ<br />\n  ๑.๑.๒   ฝึกการใช้ภาษา ( ฟัง  พูด  อ่าน  เขียน )<br />\n   -  ใช้หนังสือเรียน  เกม  นิทาน  เพลง  <br />\n   -  ทบทวนคำเก่า  สอนคำใหม่ในบทเรียน  <br />\n   -  ฝึกอ่านออกเสียง<br />\n   -  สนทนา  ซักถาม   เล่าเรื่อง  <br />\n   -  แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียน<br />\n  ๑.๑.๓ พัฒนาทักษะการอ่านรายกลุ่ม<br />\n   -  รายกลุ่ม  รายบุคคล  ( นักเรียนเลือกอ่านข้อความสั้นๆ  บันทึกและนำเสนอผลงาน )<br />\n๒.  สอนซ่อมเสริม <br />\n   -  ครูเลือกใช้วิธีการสอน  โดยเน้นกิจกรรมเสริมนอกเวลาเรียนและสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียน ( โดยวิธีการคัดแยกนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ  กลุ่มอ่อน  กลุ่มปานกลาง  กลุ่มเก่ง  )  ทั้ง 2  ช่วงชั้น<br />\n ๓ .   กิจกรรมการเรียนการสอน<br />\n  -  กิจกรรมหน้าเสาธง   ภาษาไทย  ภาษาอังกฤษ และภาษามลายูวันละคำ  (  โดยนักเรียนจะรวบรวมคำศัพท์ในแต่ละวันนำมาจัดทำเป็นรูปเล่ม )<br />\n  -  กิจกรรมท่องจำบทอาขยาน  พยัญชนะ  สระ  และอื่นๆ  <br />\n  -  กิจกรรมอ่านสาระน่ารู้ในช่วงพักกลางวัน  (  โดยนักเรียนจะเป็นผู้ค้นคว้าหาเกร็ดความรู้เพื่อนำมาเสนอแก่เพื่อนๆด้วยตนเอง  )  ผู้รับผิดชอบนักเรียนชั้น  ป3-ป.6\n</p>\n<p>\n<br />\nกิจกรรมการดำเนินงานส่งเสริมการอ่าน<br />\n  ๑. จัดกรรมเสียงตามสาย  มีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน  มีนิสัยรักการอ่าน  โดยให้นักเรียนจัดกิจกรรมเสียงตามสายตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันพฤหัสบดี ในช่วงเวลา  ๑๒.๒๐-๑๒.๓๐ น. โดยการนำเรื่องราวต่างๆที่น่าสนใจมาอ่านให้เพื่อนๆฟังแล้วถามคำถามและตอบคำถามในเนื้อหาที่อ่าน  นักเรียนจะเป็นฝ่ายหาบทความเรื่องราวต่างๆครูคอยช่วยเสนอแนะคำศัพท์จากที่นักเรียนอ่านไม่ออก  <br />\n   ๒. กิจกรรมอ่านภาษาไทย  ภาษามลายู  อังกฤษวันละคำ  มีเป้าหมายคือต้องการให้นักเรียนอ่านภาษาไทย  ภาษามลายู  อังกฤษวันละคำ  ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้ได้ความรู้ทั้ง 3  ภาษา  <br />\n๖. การดำเนินการจัดกลุ่มเสวนาด้วยกระบวนการ  KM  เพื่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ<br />\nคัญของโรงเรียนมีวิธีดำเนินการอย่างไร<br />\n แสวงหาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย<br />\n สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโดยการเรียนรู้จากครูและบุคลากรในโรงเรียนปะดะดอ  อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส  ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ <br />\n-  สอนแบบตัวต่อตัว<br />\n- ใช้ชุดฝึกอ่านสะกดคำ<br />\n- เขียนตามคำบอก<br />\n- คัด  แยกนักเรียนที่มีความสามารถระดับเดียวกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน<br />\n- ให้การเสริมแรงทุกครั้งที่นักเรียนทำได้ดีและมีการให้กำลังใจแก่นักเรียนได้ปรับแก้ไขครั้งต่อไป<br />\n- ให้คะแนนครั้งละมากๆ<br />\n- จัดกิจกรรมการเรียนการสอน  โดยมีเกม  นิทาน  เพลง  สอดแทรกในเนื้อหา  <br />\n- จัดกิจกรรมแสดงบทบาทสมมติในเรื่องราวที่ครูกำหนด<br />\nแสวงการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best  practice ) ในการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน<br />\nรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย<br />\nการจัดเวลาเรียน<br />\n-  กิจกรรมหน้าเสาธงมีการ อ่านภาษาไทย-มลายู วันละคำ<br />\n-  ช่วงเช้ามีการท่องจำ บทอาขยาน   พยัญชนะ  ก-ฮ    สระ  และอื่นๆ<br />\n-  เรียนภาษาไทยเรียนในช่วงเช้า  ช่วงชั้นที่1    สัปดาห์ละ  6  คาบ   ช่วงชั้นที่  2    สัปดาห์ละ  5  คาบ   (คาบละ  50  นาที)<br />\n-  เสียงตามสาย   หลังจากพักรับประทานอาหารเสร็จแล้ว<br />\n-  สอนซ่อมเสริมหลังชั่วโมงเรียน<br />\nการจัดครูเข้าสอน<br />\n- จัดครูสอนภาษาไทยที่มีประสบการณ์คอยแนะนำเป็นพี่เลี้ยง<br />\n-  จัดครูเข้าสอนแบบทีม อาจใช้ครูภาษาไทยร่วมสอนสอนกับครูสาระอื่น<br />\nการจัดชั้นเรียน<br />\n-   จัดแยกชั้นตั้งแต่  ป.1-6  ชั้นละ 1 ห้อง<br />\n-  จัดกลุ่มนักเรียนโดยแบ่งกลุ่มการสอนปะปนกันทั้งอ่อน  ปลานกลาง   เก่ง  <br />\n-  จัดให้มีการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน<br />\nการจัดหน่วยการเรียนรู้ <br />\n- มีการวางแผนการจัดการความรู้ร่วมกันระหว่างครูผู้สอนกับหัวหน้าวิชาการหรือผู้บริหาร จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการเรียนรู้ที่เป็นหน่วย <br />\n-  ให้ครูผู้สอนบันทึกผลการสอนหลังการสอนทุกรั้ง<br />\nเมื่อเรียนจบในแต่ละสัปดาห์ให้ครูผู้สอนร่วมกับหัวหน้าวิชาการหรือผู้บริหารได้  วิเคราะห์  วิพากษ์   สรุปผล เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป<br />\n๖.๑ รูปแบบหรือลักษณะการจัดเช่น  จัดเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวนกี่กลุ่ม  มีครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวนกี่คน  มีการจัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำนวนกี่ครั้งเป็นต้น<br />\n          จัดเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวน  ๘  กลุ่มสาระการเรียนรู้  จำนวน  ๒  ครั้งต่อสัปดาห์<br />\n๖.๒ เนื้อหาสาระการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( เรื่องอะไร  ทำกับใคร  ทำอย่างไร  ทำไมถึงทำ  ทำที่ไหน )<br />\nเรื่องรูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเพื่อให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้โดยเน้นด้านผู้บริหาร  ด้านครู  ด้านนักเรียน  ด้านผู้ปกครอง   และเน้นกิจกรรมการเรียนการสอนดังนี้<br />\n  -   สอนในชั้นเรียน<br />\n  -   สอนซ่อมเสริม <br />\n  -   กิจกรรมเสริมการเรียนการสอน<br />\n๖.๓   ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินจัดกลุ่มเสวนา<br />\n- ครูสามารถนำผลรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปใช้ในแนวทางเดียวกันเพื่อมุ่งผลสูงสุดให้เกิดกับผู้เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ตามโมเดลที่กำหนดร่วมกัน<br />\n - ครูมีการปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน<br />\n - ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย<br />\n - ครูเข้าใจถึงสภาพปัญหาของนักเรียนอย่างแท้จริงแล้วนำมาคิดหาวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับสภาพของนักเรียน<br />\n - ครูมีการผลิตสื่อที่เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน\n</p>\n<p>\n๖.๔  ข้อมูลอื่นๆ ที่น่าสนใจหรือข้อสังเกตที่เป็นประโยชน์<br />\nจากการ  KM<br />\n-  ทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม และกล้าแสดงออกมากขึ้น<br />\n -  นักเรียนมีความสนุกสนานในการเรียนมากขึ้น<br />\n -  ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนมีการโต้ตอบกับผู้สอนมากขึ้น<br />\n -  ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เป็นกระบวนการมากขึ้น<br />\n -  ครูมีความเป็นกันเองกับนักเรียน<br />\n๗.  ผู้บริหารให้การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการจัดกลุ่มเสวนา (  ตามข้อ  ๕  )  เพื่อจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ<br />\nผู้บริหารให้การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการจัดกลุ่มเสวนาโดยการ<br />\n- ประชุมครูเพื่อรับทราบถึงสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยเพื่อระดมความคิดที่จะแก้ไขสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยที่ประสบมาในขณะนั้น<br />\n- สนับสนุนงบประมาณ<br />\n- สนับสนุนด้านสื่อการจัดการเรียนรู้<br />\n- มีการติดตามนิเทศทุกสัปดาห์<br />\n- ให้บริการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาภาษาไทย<br />\n- ผู้บริหารไม่จำกัดรูแบบในการจัดการเรียนการสอน  เปิดโอกาสให้ครูดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนและคอยติดตามนิเทศวิธีการสอนที่เหมาะสมให้แก่ครู<br />\n- สร้างความตระหนักให้ครู  และบุคลากรทุกคนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของวิชาภาษาไทยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้<br />\n- ให้การส่งเสริม  สนับสนุนครูและบุคลากรเข้ารับการอบรม  สัมมนา  ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย  <br />\n- ปลูกฝังให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของภาษาไทยโดยเน้นกิจกรรม  ทักษะด้านภาษาไทย<br />\n- จัดการประชุมกับผู้ปกครองโดยให้ครูประจำชั้นพบปะผู้ปกครองเพื่อรับทราบสภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละคน<br />\n- ให้ครูมีการแจ้งผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n๘.  ผลการเยี่ยมเยียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มเครือข่าย  (  เล่าบรรยากาศ   วิธีรวมกลุ่ม  ระยะทางการเดินทาง  ผลที่ได้รับและข้อสังเกตอื่นๆเป็นต้น  ) <br />\n กลุ่มเครือข่ายจำนวน  ๗  โรง  ให้การต้อนรับเป็นอย่างดีมีความเป็นกันเอง  จัดเตรียมเอกสารข้อ<br />\nมูล  ผลงาน นักเรียน  ครู  จัดบอร์ดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ศึกษาหาความรู้<br />\n วิธีรวมกลุ่มจัดให้ออกเยี่ยมโรงเรียนแต่ละโรงๆละ  ๓  คน  โดยเน้นที่ครูสอนวิชาภาษาไทยออกเยี่ยมโรงเรียนแล้วเสวนากันถึงสภาพปัญหาและวิธีการจัดการของแต่ละโรงที่จะนำมาแก้ไขปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน<br />\n ระยะทางในการเดินทางไม่ไกลจากโรงเรียนมากนักใช้เวลาเดินทาง  ๒๐- ๓๐ นาที เป็นอย่างช้า<br />\nผลที่ได้รับ<br />\nครูได้รับทราบถึงสภาพปัญหาแล้วนำมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน<br />\nครูได้รับทราบถึงการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย<br />\nครูนำวิธีการสอนมาปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของโรงเรียนตนเอง<br />\nมีการสร้างเครือข่ายในการดำเนินงานที่เข้มแข็งมากขึ้นสามารถร่วมงานและปรึกษาหารือเกี่ยวกับการทำงานในด้านต่างๆ ได้<br />\nครูมีจุดมุ่งหมาย   เพื่อผลผลสัมฤทธิ์สู่ผู้เรียนไปในทิศทางเดียวกัน<br />\nข้อสังเกตอื่นๆ เป็นต้น<br />\nความมุ่งมั่น  ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน<br />\nผู้บริหารให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นสำคัญและมุ่งผลประโยชน์ที่จะเกิดกับผู้เรียนให้มากที่สุด<br />\nนักเรียนมีพฤติกรรมกล้าแสดงออกโดยการทักทายพูดคุยและสัมมาคารวะ<br />\nมีการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของโรงเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้<br />\nมีผลงานครูและนักเรียนที่ปรากฏเด่นชัดขึ้นสามารถนำมาผลิตสื่อในการจัดการเรียนรู้\n</p>\n<p>\n                                                                        <br />\n                                                                                                                               \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nรายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน (ชุดที่ ๑ รายโรง )<br />\nโครงการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nโรงเรียนบ้านปะดะดอ<br />\nหมู่ ๓  ตำบลนานาค<br />\nอำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส    เขต  ๒<br />\nสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nแบบบันทึกการดำเนินงาน<br />\nโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อปฏิรูปการศึกษา   3   จังหวัดชายแดนภาคใต้<br />\n............................................................................................<br />\n1.  ชื่อเรื่อง    การแก้ปัญหาการเขียนศัพท์ภาษาอังกฤษอ่อน<br />\n -  ระบุความสำคัญของเรื่อง<br />\n ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดแผนงานการพัฒนาการอ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อให้นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ( ป.4-6 ) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสอบ O-Net และพัฒนาการศึกาให้ดีขึ้นกว่าเดิมถึงดีขึ้นจะสังเกตว่านักเรียนยังอ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมากเป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งในการเรียนแม้ว่าจะไม่ทัดเทียมเท่ากับจังหวัดอื่นๆ\n</p>\n<p>\nจากผลการสอบ  O-Net,  Las  ,Nt  ซึ่งมีผลคะแนนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด  ภาษาอังกฤษนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้คำศัพท์โดยเบื้องต้นเพื่อนำมาใช้ในทักษะ  ฟัง  พูด  อ่าน  เขียน  ซึ่งจะพบว่านักเรียนจำคำพูด  โดยไม่ทราบว่าคำศัพท์เหล่านั้นเขียนว่าอย่างไร \n</p>\n<p>\n ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาวิธีแก้ไขในการที่จะเรียนรู้คำศัพท์ให้ได้มากขึ้น\n</p>\n<p>\n -  แนวทางในการพัฒนา<br />\n 1.  ร่วมกันวางแผนจัดการเรียนการสอน<br />\n 2.  นิเทศการสอน<br />\n 3.  การสอนซ่อมเสริม<br />\n 4 .  ร่วมกันหาวิธีการแก้ไขเมื่อพบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน\n</p>\n<p>\n2.  บทนำ<br />\n -  แนะนำตนเอง  ตำแหน่ง  ประวัติการศึกษา  มากขึ้นและความสำเร็จในอดีต<br />\n ชื่อ     นางสาวเนตรนภา    นอสืบ  <br />\nลำดับที่ สถานศึกษา อำเภอ จังหวัด ตั้งแต่-  ( เดือน  ปี ) วุฒิที่ได้รับ<br />\n1 โรงเรียนวัดสิทธิสารประดิษฐ์ ตากใบ นราธิวาส พ.ค. 2527 -  มี.ค.  2533  ประกาศนียบัตรการประถมศึกษา   ( ป. 6 )<br />\n2 โรงเรียนสุไหงโก-ลก สุไหงโก-ลก นราธิวาส พ.ค. 2533 -  มี.ค.  2539 ประกาศนียบัตรการมัธยมศึกษา   ( ม . 6 )<br />\n3 สถาบันราชภัฏยะลา เมือง ยะลา มิ.ย. 2539 -  มี.ค.  2543 คบ. ภาษาอังกฤษ\n</p>\n<p>\nบรรจุครั้งแรกเป็น  อาจารย์  1  ระดับ  3  เมื่อ  วันทื่  9  เดือนสิงหาคม  พ.ศ.  2547   ณ   โรงเรียนบ้านทุ่งเสือโทน   ตำบล  ชะแล    อำเภอทองผาภูมิ    จังหวัดกาญจนบุรี  <br />\nพื้นที่ที่สอนนั้นประชากรเป็นชาวเขา เผ่ากะเหรี่ยง  มีปัญหาในด้านการใช้ภาษา  การอ่านไม่ออก  และเขียนไม่ได้  <br />\nประวัติการสอน  สอนวิชาภาษาไทยในชั้น <br />\nชื่อโครงการ                                โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระวิชาภาษาอังกฤษ<br />\nแผนงาน                          สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต  พัฒนาคนให้มีความรู้คู่ <br />\n                                                    คุณธรรมและจริยธรรม<br />\nสนองกลยุทธ์   1<br />\nหน่วยงานที่รับผิดชอบ  ฝ่ายวิชาการ<br />\nผู้รับผิดชอบโครงการ  นางสาวเนตรนภา  นอสืบ<br />\nระยะเวลาดำเนินการ  ตลอดปีการศึกษา  2551<br />\n     <br />\n1. หลักการและเหตุผล<br />\n ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดแผนงานการพัฒนาการอ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อให้นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ( ป.4-6 ) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสอบ O-Net ดีขึ้นจึงจัดโครงการนี้ขึ้นมา<br />\n2. วัตถุประสงค์<br />\n 1. เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขให้นักเรียน เขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้   <br />\n                    ถูกต้อง<br />\n 2. เพื่อให้ครูผู้สอนเกิดกำลังใจและมีความมั่นใจในการสอน<br />\n 3. เพื่อเร่งรัดคุณภาพการศึกษาให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน<br />\n3. เป้าหมาย<br />\n 3.1 ด้านปริมาณ<br />\n- นักเรียนชั้น ป.4-6<br />\n 3.2  ด้านคุณภาพ<br />\n- ผลสัมฤทธิ์นักเรียนในกลุ่มสาระภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น\n</p>\n<p>\n4. ขั้นตอนการดำเนินงาน / กิจกรรม  งบประมาณ....1,600.... บาท<br />\nที่        ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม งบ<br />\nประมาณ หมวดรายจ่าย ว.ด.ป หมายเหตุ<br />\n   ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ  <br />\n1 ประชุมครูวางแผนจัดการเรียนการสอน  - - - พ.ค. 51 <br />\n2 ประชุมครูเรื่องการนิเทศการสอน - - - - พ.ค. 51 <br />\n3 จัดหาสื่อสอนซ่อมเสริม 1,000 - - 1,000 มิ.ย.51 <br />\n3 ดำเนินการสอนซ่อมเสริม 500 - - 500 ตลอดปีการศึกษา <br />\n4 ประเมินผล 100 - - 100 มี.ค. 52 <br />\n5 สรุปผล - - - - มี.ค. 52 \n</p>\n<p>\n<br />\n5. การประเมินผล<br />\nผลผลิตและตังบ่งชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้<br />\n1. ด้านปริมาณ<br />\n- นักเรียนชั้น ป.4-6\n</p>\n<p>\n<br />\n2. ด้านคุณภาพ<br />\n- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />\n 1. สังเกตสภาพทั่วไป<br />\n2. สังเกตการสอน<br />\n3. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียน<br />\n4. ดูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - แบบทดสอบ\n</p>\n<p>\n- แบบทดสอบ\n</p>\n<p>\n6. การรายงานผล\n</p>\n<p>\nครั้งที่ <br />\nกิจกรรม ระยะเวลาการรายงาน <br />\nหมายเหตุ<br />\n  โรงเรียน สพท.นธ.2 สังกัดอื่นๆ <br />\n1 จัดป้ายนิเทศ มี.ค. 52   <br />\n2 สรุปผลการนิเทศการสอน มี.ค. 52   <br />\n3 สรุปผลการจัดหาสื่อสอนซ่อมเสริม มี.ค. 52   <br />\n4 ประเมินผล มี.ค. 52 มี.ค. 52  <br />\n5 สรุปผล มี.ค. 52 มี.ค. 52  \n</p>\n<p>\n7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />\n 6.1  นักเรียนพัฒนาการอ่านเขียนภาษาอังกฤษได้ดีข้น<br />\n 6.2  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น\n</p>\n<p>\n             ผู้เสนอโครงการ      ผู้อนุมัติโครงการ\n</p>\n<p>\n<br />\n    (นางสาวเนตรนภา  นอสืบ)         (นายประสิทธิ์  วิจิตรโสภา)<br />\n      ครูโรงเรียนบ้านปะดะดอ               ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปะดะดอ\n</p>\n<p>\n “การเขียนศัพท์ภาษาอังกฤษอ่อน”\n</p>\n<p>\nชื่อเรื่อง   การฝึกเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษจากแบบฝึกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6<br />\nสภาพปัญหา<br />\n จากการทดสอบการเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการเล่นเกม พบว่ามีนักเรียนจำนวน  7  คน อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ คือ คะแนน 5-10 แต่ยังมีนักเรียนจำนวน 26 คน อยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง คะแนน 0-4  ผู้สอนพิจารณาแล้วหากไม่จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพิ่มหรือเสริมให้กับนักเรียนกลุ่มนี้  จะส่งผลให้นักเรียนเหล่านี้มีปัญหาในด้านการเขียนคำศัพท์ให้ถูกต้องซึ่งส่งผลต่อการสอบ O-NET เพราะนักเรียนไม่ทราบความหมายของคำศัพท์<br />\nปัญหา<br />\n มีแนวทางใดที่จะช่วยให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 26 คน เขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้ถูกต้อง<br />\nเป้าหมาย<br />\n เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ จำนวน 26 คน เขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้ถูกต้อง<br />\nวิธีการ<br />\n1. สร้างแบบฝึกการเขียนคำศัพท์<br />\n2. กำหนดการฝึก คือ ในเวลาเรียนทุกวันติดต่อกัน 2 วัน วันละ 20 นาที<br />\n3. สร้างแบบสังเกตพฤติกรรม แบบทดสอบหลังการใช้แบบฝึก แล้วกำหนดเกณฑ์ระดับคุณภาพ<br />\n4. เริ่มฝึกจากการให้นักเรียน 26 คน ท่องคำศัพท์ พร้อมกันทุกคน ครูให้นักเรียนสะกดคำศัพท์ทีละคน จำนวน 10 คำ เป็นคำศัพท์ที่ครูกำหนดให้ หลังจากนั้นทำแบบฝึกรวมเวลาฝึกเขียนคำศัพท์เป็นเวลา 2 วัน<br />\n5. สังเกตพฤติกรรมนักเรียนขณะทำงานและบันทึกลงในแบบสังเกต<br />\n6. ทดสอบนักเรียนด้วยแบบทดสอบเขียนคำศัพท์ตามคำบอก จำนวน 10 คำ และบันทึกผลเพื่อดูความก้าวหน้า<br />\n7. สรุปผลการเขียนคำศัพท์โดยใช้แบบฝึก โดยพิจารณาคะแนนการทดสอบเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และพฤติกรรมในการทำงาน<br />\n \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\">......................................................................................................................................................................................</span><strong> </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>รายงานการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนา<br />\nการศึกษาเพื่อปฏิรูปการศึกษา<br />\n  3 จังหวัดชายแดนใต้เรื่องการศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนประถมในวิชาคอมพิวเตอร์ </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>ผู้วิจัย<br />\nนางนิชาภา  บุญเจริญ   </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2552    สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2<br />\nสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน<br />\nกระทรวงศึกษาธิการ</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>การศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนประถมในวิชาคอมพิวเตอร์</strong><br />\nโรงเรียนบ้านปะดะดอ  อ. ตากใบ จ. นราธิวาส <br />\n<strong>ประวัติส่วนตัว<br />\n</strong>      ชื่อ – สกุล    นางนิชาภา  บุญเจริญ        ครูโรงเรียนบ้านปะดะดอ<br />\n      วันเดือนปีเกิด   วันที่  19    ธันวาคม  2523   <br />\n      ภูมิลำเนา/ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 73/31 หมู่ 4 ต. สุคิริน อ. สุคิริน จ. นราธิวาส  96190</span></p>\n<p><strong>ประวัติการศึกษา</strong><br />\n1) ประถมศึกษา ร.ร  สุคิริน<br />\n2) มัธยมศึกษา  ร.ร สุคิรินวิทยา     <br />\n3) อนุปริญญา ( อว.ทบ.  ) คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา<br />\n4)  ปริญญาตรี   ( ค.บ. )  คอมพิวเตอร์   วิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>ประวัติการรับราชการตั้งแต่ต้น - ปัจจุบัน</strong><br />\n     ครูผุ้ช่วยโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ต. นานาค  อ.ตากใบ จ.นราธิวาส                                         <br />\nเริ่มบรรจุเมื่อวันที่   6  มกราคม  2553   <br />\n<strong>1.1 ข้อมูลโรงเรียน<br />\nประวัติสถานศึกษา<br />\n</strong>             ที่ตั้งโรงเรียนบ้านปะดะดอตั้ง  หมู่ที่ 3  ตำบลนานาค  อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส  รหัสไปรษณีย์  96110 ห่างจากโรงเรียนตากใบ (โรงเรียนแม่ข่าย) ที่ว่าการอำเภอตากใบ  16 กิโลเมตร  และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต  2  (อำเภอสุไหงโก-ลก) ระยะทาง  20  กิโลเมตร  <br />\nที่ดินที่ตั้งโรงเรียน <br />\n             ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอมีเนื้อที่ตามหนังสือที่ดินน.ส.3 ก.ทั้งสิ้น4ไร่2งาน 66ตารางวาตั้งในพื้นที่ราบลุ่มทุกปีในฤดูฝนน้ำจะท่วม จึงมีระบบชลประทานเข้ามาจัดการเรื่องน้ำ<br />\n การจัดการเรียนการสอน<br />\n โรงเรียนบ้านปะดะดอโรงเรียนระดับประถมศึกษาเปิดทำการสอนเมื่อวันที่  13  พฤษภาคม  พ.ศ. 2501  โดยกำนัน  เจ๊ะอูมา  โซ๊ะรี  ให้ใช้ที่ดิน  3 งาน  35  ตารางวา  เพื่อสร้างอาคารเรียนโดยความร่วมมือการสร้างการสร้างจากราษฎรโดยมีนายทองเล็ก  เดิมหมวก เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่  เป็นคนแรกและ ปี  พ.ศ. 2505 นายเจ๊ะอูมา โซ๊ะรี กำนันตำบลนานาคพร้อมด้วยราษฎรร่วมกันบริจาคที่ดินแปลงใหม่ 4 ไร่ 66  ตารางวา สร้างอาคารเรียนในที่ใหม่ตรงข้ามที่ดินเดิม<br />\n การจัดการศึกษา<br />\n ปีการศึกษา  2501    เริ่มเปิดทำการสอน<br />\n ปีการศึกษา  2524  เปิดทำการสอน  ชั้นเด็กเล็ก  และชั้นประถมศึกษา<br />\n ปัจจุบันเปิดทำการสอน 2 ระดับ  คือระดับชันอนุบาล  และประถมศึกษา<br />\n<strong>1.2  ข้อมูลนักเรียน<br />\n        ด้านปริมาณ<br />\n</strong>                           ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ข้อมูลจำนวนนักเรียน  ปี2552<br />\nนักเรียนชั้นอนุบาล 1 – ป.6   ชาย  98   คน หญิง  112 คน  รวม 210  คน<br />\n1.3 ข้อมูลครูและบุคลากร<br />\n                            อัตรากำลังครูและบุคลากรของโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ปี2552<br />\n 1) ผู้บริหารสถานศึกษา        1        คน<br />\n2) ครู                                         7        คน<br />\n3) พนักงานราชการ              4        คน<br />\n4) ลูกจ้างประจำ                     2        คน<br />\n รวมบุคลากรจำนวนทั้งสิ้น     14     คน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">    <strong>    ปัญหาการเรียนการสอนที่พบสืบเนื่องมาจากสาเหตุดังนี้<br />\n</strong>1) ปัญหาทางภูมิศาสตร์ ที่ลุ่มน้ำท่วมขังเป็นเวลานานในทุกปีส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน<br />\n2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ความยากจน  และครอบครัวต้องไปทำงานชายแดนต่างประเทศ   ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา<br />\n3) ด้านภาษา  การใช้ภาษาถิ่น  มากกว่าภาษาไทย  ส่งผลถึงการอ่านเขียนภาษาไทย<br />\n4) ปัญหาด้านความไม่สงบชายแดนภาคใต้ส่งผลให้มีการหยุดเรียน เกิดปัญหาการอ่าน        การเขียน  การพูดภาษาไทย  และการติดต่อสื่อสาร<br />\n5) ปัญหาการขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา<br />\n6) ปัญหาด้านโรคติดต่อ โดยแมลงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก , โรคชิคุนกุนย่า)<br />\n7) ปัญหาการเดินทาง มาปฏิบัติราชการ อยู่ในพื้นที่ สีแดง มีความเสี่ยงสูง (1 ใน 7 โรงเรียน )<br />\n8) ปัญหาบุคลากรย้ายเข้าและย้ายออกจำนวนมาก<br />\n9) ผู้บริหารสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบ่อย<br />\n10) ปัญหาเรื่องน้ำดื่ม  น้ำใช้  น้ำบริโภค (บ่อบาดาลไม่มีน้ำ) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>การศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนมัธยมในวิชาคอมพิวเตอร์ความเป็นมาของปัญหาการวิจัย<br />\n</strong>           จากการที่ได้มีการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ มีจำนวนนักเรียน 27 คน เริ่มเรียนคาบที่ 6 – 7 เรียน 2 ชั่วโมง /สัปดาห์ ซึ่งเป็นวิชาทฤษฎีปฏิบัติ ผู้วิจัยได้ทำการประเมินจากสภาพความเป็นจริงและสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ผลปรากฎว่า นักเรียนขาดความรับผิดชอบในการสนใจที่จะศึกษาในวิชาคอมพิวเตอร์ เนื่องมาจากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มีไม่เพียงพอกับนักเรียน เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์บางเครื่องจะนั่ง 2 คนเป็นสาเหตุทำให้นักเรียนคุยกันและภายในห้องคอมพิวเตอร์ได้มีการติดตั้งอินเตอร์เน็ต จึงทำให้นักเรียนบางส่วนเปิดเล่นอินเตอร์เน็ตเพื่อที่จะเล่นเกมส์หรือเปิดเล่นเกมส์โดยตรง ทำให้เรียนคำสั่งที่ผู้วิจัยสอนไม่รู้เรื่องและไม่สามารถที่จะทำงานที่ให้ปฏิบัติได้ จึงทำให้นักเรียนกลุ่มดังกล่าวมีคะแนนที่อยู่ในระดับที่ต่ำ จากข้อมูลดังกล่าวจึงเป็นแรงจูงใจให้ผู้วิจัยใช้วิธีการประเมินพฤติกรรมและผลงานของผู้เรียนจุดมุ่งหมายของการวิจัย<br />\nการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาการเล่นเกมส์ของนักเรียนในระหว่างเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ มีจำนวนนักเรียน 27คน วิธีการดำเนินการวิจัย</span></p>\n<p><strong>กลุ่มเป้าหมาย</strong><br />\nกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้น ป.6 มีจำนวนนักเรียน 27 คน<br />\n<strong>เครื่องมือในการวิจัย<br />\n</strong>เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย<br />\n1. เนื้อหาบทเรียน แบบทดสอบและใบงานจำนวน 7 หน่วย <br />\n2. การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติใบงานการรวบรวมข้อมูล<br />\nใช้การสังเกตพฤติกรรมการเรียน ความสนใจระหว่างเรียน การปฏิบัติการใช้คำสั่งและการส่งงาน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนแกนมัธยมระดับชั้น ป.6 <br />\nเรียนในห้องคอม.1ซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด 5 เครื่อง แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดได้มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต พบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์มีไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน ทำให้นักเรียนบางกลุ่มนั่งเรียน 2 คนต่อ 1 เครื่อง จากการสังเกตพบว่ามีนักเรียนอยู่ 3 ประเภท ได้แก่<br />\n    1.1 นักเรียนที่มีความสนใจการเรียนระหว่างที่ผู้วิจัยสอน<br />\n    1.2 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียน จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ<br />\n        1.2.1 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียนแต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติได้<br />\n        1.2.2 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียนแต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติไม่ได้<br />\n    1.3 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์ จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ<br />\n        1.3.1 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์แต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติได้<br />\n        1.3.2 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์แต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติไม่ได้<br />\n2. จากการประเมินในการเก็บคะแนนจากการส่งใบทดสอบและใบงาน พบว่าหลังจาก<br />\nการสอนของผู้วิจัย นักเรียนบางส่วนจะเกิดการเรียนรู้คำสั่งที่ใช้ในวิชาคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเขียนใบงานและใบทดสอบ ส่งในเวลาที่กำหนดในคาบ จากการตรวจใบงานและให้คะแนน สามารถที่จะแบ่งนักเรียนจากนักเรียน 3 กลุ่มในข้อที่ 1 ได้ดังนี้<br />\n    2.1 นักเรียนที่มีความสนใจในการเรียน หลังจากผู้วิจัยทำการสอนคำสั่งแล้วให้นักเรียน<br />\nปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดพบว่านักเรียนในกลุ่มดังกล่าวจะมีการส่งใบงานตรงเวลาที่ต้องการ มีความถูกต้องของใบงาน ทำให้นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มนี้จะมีคะแนนในเกณฑ์ดี<br />\n    2.2 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียน หลังจากผู้วิจัยทำการสอนคำสั่งแล้วให้นักเรียน<br />\nปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดพบว่านักเรียนในกลุ่มดังกล่าวจะมีนักเรียนบางส่วนส่งใบงานตรงเวลาที่กำหนดและอีกบางส่วนส่งใบงานไม่ต้องเวลา ทำให้ใบงานไม่สมบูรณ์ ทำให้ได้คะแนนอยู่ในเกณฑ์พอใช้<br />\n    2.3 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์หลังจากผู้วิจัยทำการสอนคำสั่งแล้วให้นักเรียน<br />\nปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดพบว่านักเรียนในกลุ่มดังกล่าวจะมีนักเรียนบางส่วนปฏิบัติเขียนใบงานที่กำหนดได้ไม่ถูกต้อง และนักเรียนบางส่วนใช้คำสั่งปฏิบัติการเขียนแบบไม่ได้เลย ทำให้นักเรียนในกลุ่มนี้มีคะแนนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ สรุปผลการวิจัย<br />\n1. จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนแกนมัธยมระดับชั้น ป.6  สาเหตุที่ทำให้นักเรียนเล่นเกมส์และอินเตอร์เน็ตระหว่างที่สอนเกิดจากสาเหตุ<br />\n    1.1 นักเรียนขาดความสนใจและตั้งใจเรียน<br />\n    1.2 นักเรียนขาดความพยายามที่จะทำแบบทดสอบ<br />\n    1.3 นักเรียนไม่สนใจที่จะฝึกปฏิบัติในการใช้คำสั่งเพื่อที่จะเขียนใบงาน<br />\n    1.4 เครื่องคอมพิวเตอร์มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต<br />\n2. จากการสังเกตการส่งแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน พบว่าคะแนนโดยรวมในการส่งใบทดสอบและใบงานช่วงหน่วยที่ 4 – 5 จะอยู่ในระดับเกณฑ์ที่ดีขึ้นข้อควรเสนอแนะ<br />\n1. ควรจะมีการติดตามความประพฤติความตั้งใจในการเรียนและสนใจเรียนของนักเรียนกลุ่มนี้เพิ่มเติม<br />\n2. ในเวลาที่สอนไม่ควรให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้  </span></p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\">****************************************************************************************************</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">รายงานการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">การศึกษาเพื่อปฏิรูปการศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 11pt\">3<span lang=\"TH\"> จังหวัดชายแดนใต้</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">นางสาวโสภนา<span>                  </span>ณ<span>  </span>รังษี</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">พนักงานราชการโรงเรียนบ้านปะดะดอ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต </span><span style=\"font-size: 11pt\">2<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">กระทรวงศึกษาธิการ</span><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span></b><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">โรงเรียนบ้านปะดะดอ </span></b><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><b><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span> </span><span lang=\"TH\">อำเภอตากใบ <span>                                           </span>จังหวัดนราธิวาส</span><o:p></o:p></span></span></span></b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ประวัติส่วนตัว</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>      </span>ชื่อ </span><span style=\"font-size: 11pt\">–<span lang=\"TH\"> สกุล <span>   </span>นางสาวโสภนา<span>      </span>ณ<span>  </span>รังษี<span>        </span>พนักงานราชการโรงเรียนปะดะดอ<span>         </span></span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>      </span>วันเดือนปีเกิด <span>  </span>วันที่<span>  </span>11 <span>  </span><span> </span>มกราคม<span>  </span><span> </span>2</span><span style=\"font-size: 11pt\">5<span lang=\"TH\">23<span>  </span></span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>      </span>ภูมิลำเนา/ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 164/7 หมู่ 5 ต. ปาเสมัส อ. สุไหงโก-ลก จ. นราธิวาส</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">ประวัติการศึกษา<o:p></o:p></span></span></span></b><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">1<span lang=\"TH\">)<span>   </span>ประถมศึกษา <span>                                                </span>ร.ร.บ้านสุไหงโก-ลก<span>   </span>อ. สุไหงโก-ลก<span>  </span>จ. นราธิวาส</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">มัธยมศึกษาต้น <span>                                         </span>ร. ร.สุไหงโก-ลก<span>   </span>อ. สุไหงโก-ลก<span>  </span>จ. นราธิวาส</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">3)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">มัธยมศึกษาปลาย<span>              </span>ร.ร.ศิริราษฎร์สามัคคี<span>   </span>อ. มายอ<span>   </span>จ. นราธิวาส</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">4)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปริญญาตรี<span>  </span><span> </span>เอกสังคมศึกษา<span>  </span>( ค.บ. ) วิทยาลัยราชภัฎยะลา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><span>  </span><span lang=\"TH\">จ. ยะลา</span><o:p></o:p></span></span></span><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">ประวัติการรับราชการตั้งแต่ต้น - ปัจจุบัน<o:p></o:p></span></span></span></b><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">1)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>   </span>ครูอัตราจ้างชั่วคราวโรงเรียนบ้านปะดะดอ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส <span> </span>เริ่มบรรจุเมื่อ<span>  </span>1 ตุลาคม<span>  </span></span><span style=\"font-size: 11pt\">25<span lang=\"TH\">48<span>  </span></span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>  </span>พนักงานราชการโรงเรียนบ้านปะดะดอ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส <span> </span>เริ่มบรรจุเมื่อ <span> </span>1 สิงหาคม</span><span style=\"font-size: 11pt\"><span>  </span>25<span lang=\"TH\">50 </span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">คติในการทำงาน</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt\"><span>      </span>“ <span lang=\"TH\">การกระทำ<span>  </span>พิสูจน์<span>  </span>ค่าของคน </span>” <o:p></o:p></span></b></span></span><b><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">1<span lang=\"TH\">.</span>1<span lang=\"TH\"> ข้อมูลโรงเรียน</span><o:p></o:p></span></span></span></b><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ประวัติสถานศึกษา</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>                        </span>ที่ตั้ง</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>                        </span>โรงเรียนบ้านปะดะดอตั้ง<span>  </span>หมู่ที่ </span><span style=\"font-size: 11pt\">3<span lang=\"TH\"><span>  </span>ตำบลนานาค<span>  </span>อำเภอตากใบ<span>  </span>จังหวัดนราธิวาส<span>  </span>รหัสไปรษณีย์</span><span>  </span>96110<span lang=\"TH\"> ห่างจากโรงเรียนตากใบ (โรงเรียนแม่ข่าย) ที่ว่าการอำเภอตากใบ<span>  </span></span><st1:metricconverter ProductID=\"16 กิโลเมตร\" w:st=\"on\">16<span lang=\"TH\"> กิโลเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"><span>  </span>และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต<span>  </span></span>2<span lang=\"TH\"> <span> </span>(อำเภอสุไหงโก-ลก) ระยะทาง<span>  </span></span>20<span lang=\"TH\"><span>  </span>กิโลเมตร<span>  </span></span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>              </span><b><span lang=\"TH\">ที่ดินที่ตั้งโรงเรียน<span>               </span></span><o:p></o:p></b></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>           </span><span>  </span>ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอมีเนื้อที่ตามหนังสือที่ดินน.ส.</span><span style=\"font-size: 11pt\">3<span lang=\"TH\"> ก.ทั้งสิ้น</span>4<span lang=\"TH\">ไร่</span>2<span lang=\"TH\">งาน </span>66<span lang=\"TH\">ตารางวาตั้งในพื้นที่ราบลุ่มทุกปีในฤดูฝนน้ำจะท่วม จึงมีระบบชลประทานเข้ามาจัดการเรื่องน้ำ</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                        </span><b>การจัดการเรียนการสอน<o:p></o:p></b></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>                        </span></span></b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">โรงเรียนบ้านปะดะดอโรงเรียนระดับประถมศึกษาเปิดทำการสอนเมื่อวันที่<span>  </span></span><span style=\"font-size: 11pt\">13<span lang=\"TH\"><span>  </span>พฤษภาคม<span>  </span>พ.ศ. </span>2501<span lang=\"TH\"><span>  </span>โดยกำนัน<span>  </span>เจ๊ะอูมา<span>  </span>โซ๊ะรี<span>  </span>ให้ใช้ที่ดิน<span>  </span></span>3<span lang=\"TH\"> งาน<span>  </span></span>35 <span lang=\"TH\"><span> </span>ตารางวา<span>  </span>เพื่อสร้างอาคารเรียนโดยความร่วมมือการสร้างการสร้างจากราษฎรโดยมีนายทองเล็ก<span>  </span>เดิมหมวก เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่<span>  </span>เป็นคนแรกและ ปี<span>  </span>พ.ศ. </span>2505<span lang=\"TH\"> นาย<st1:personname ProductID=\"เจ๊ะอูมา โซ๊ะรี\" w:st=\"on\">เจ๊ะอูมา โซ๊ะรี</st1:personname> กำนันตำบลนานาคพร้อมด้วยราษฎรร่วมกันบริจาคที่ดินแปลงใหม่ </span><st1:metricconverter ProductID=\"4 ไร่\" w:st=\"on\">4<span lang=\"TH\"> ไร่</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> </span>66<span lang=\"TH\"><span>  </span>ตารางวา สร้างอาคารเรียนในที่ใหม่ตรงข้ามที่ดินเดิม</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>                        </span></span><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span></b><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">การจัดการศึกษา</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>                        </span>ปีการศึกษา <span> </span></span><span style=\"font-size: 11pt\">2501<span lang=\"TH\"><span>    </span>เริ่มเปิดทำการสอน</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>                        </span>ปีการศึกษา<span>  </span></span><span style=\"font-size: 11pt\">2524<span lang=\"TH\"><span>  </span>เปิดทำการสอน<span>  </span>ชั้นเด็กเล็ก<span>  </span>และชั้นประถมศึกษา</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span>                        </span>ปัจจุบันเปิดทำการสอน </span><span style=\"font-size: 11pt\">2<span lang=\"TH\"> ระดับ<span>  </span>คือระดับชันอนุบาล<span>  </span>และประถมศึกษา</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\" lang=\"TH\">ข้อมูลพื้นฐาน</span></b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\" lang=\"TH\"><span>            </span>ระดับการศึกษาที่เปิดสอน<span>  </span></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\" lang=\"TH\">ระดับอนุบาล ( อ ๑</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\">- <span lang=\"TH\">อ ๒ )</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                      </span><span lang=\"TH\"><span>               </span>ระดับประถมศึกษา<span>  </span>( ป.๑- ป.๖ )</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\" lang=\"TH\">จำนวนนักเรียนปีการศึกษา<span>  </span>๒๕๕๒<span>  </span>จำนวน<span>   </span>๒๑๐<span>  </span>คน</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span> </span></span></p>\n<table border=\"1\" width=\"416\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"margin: auto auto auto 68.4pt; width: 312pt; border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr style=\"height: 44pt\">\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 141pt; padding-top: 0cm; height: 44pt; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ชั้น</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td colSpan=\"3\" width=\"228\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 171pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 44pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">จำนวนนักเรียนในบัญชีเรียกชื่อ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">เรียกชื่อ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ชาย</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">หญิง</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">รวม</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">อนุบาล<span>  </span>๑</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๑๑<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๖</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๗</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">อนุบาล<span>  </span>๒</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๒</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">รวมระดับก่อนประถมศึกษา</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></b></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๙</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๕๒<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ประถมศึกษาปีที่<span>  </span>๑</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๖</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๓๐<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ประถมศึกษาปีที่<span>  </span>๒</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๑๐<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๑</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๑</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ประถมศึกษาปีที่<span>  </span>๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๐</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ประถมศึกษาปีที่<span>  </span>๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๒</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๗</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ประถมศึกษาปีที่<span>  </span>๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๗</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ประถมศึกษาปีที่<span>  </span>๖</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๘</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">รวมระดับประถมศึกษา</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></b></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๗๗<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๘๕<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๑๕๘<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">รวมทั้งสิ้น</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"64\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 48pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๐๐</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"72\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 54pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๑๐</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"92\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 69pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๒๑๐<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\" lang=\"TH\">จำนวนครู<span>  </span>ปีการศึกษา<span>  </span>๒๕๕๒ จำนวน<span>  </span>๑๔<span>  </span>คน<span>  </span></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><o:p></o:p></span></span></span></p>\n<table border=\"1\" width=\"700\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"margin: auto auto auto -48.6pt; width: 524.65pt; border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td rowSpan=\"2\" width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ที่</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td rowSpan=\"2\" width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ชื่อ-สกุล</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td rowSpan=\"2\" width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ตำแหน่ง/ระดับ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td colSpan=\"2\" width=\"155\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 116.1pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span>                                </span>อายุ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td rowSpan=\"2\" width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">วิชาเอก</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ตัว</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ราชการ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">นางลำดวน<span>  </span>บัวหอม<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ผู้อำนวยการระดับ </span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๔๙<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๒๖<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ศษ.ม/การบริหารการศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr style=\"height: 8.4pt\">\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 8.4pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 8.4pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">นางสาวเนตรนภา<span>  </span>นอสืบ<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 8.4pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ครู </span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 8.4pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๓๓<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 8.4pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 8.4pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">คบ./ภาษาอังกฤษ<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นายปาต๊ะ<span>  </span>ปะจูสะลา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ครู</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๓๐</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">คบ./คณิตศาสตร์<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นางฐปนี<span>  </span>ธนาวุฒิ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ครู</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๓๙</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./ภาษาไทย</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๕</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นางสาวฆอบีเราะห์<span>  </span>ดอฮะ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ครู</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๖</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./การศึกษาปฐมวัย</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๖<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">นางสุทธิรัตน์<span>   </span>ชมภูประเภท<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">ครูผู้ช่วย<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๓๑<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๑ ปี ๘ เดือน<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">คบ./วิทยาศาสตร์ทั่วไป<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๗</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นายสังวาล<span>  </span>บุญหนิ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">พนักงานราชการ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๙</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๕<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./พลศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๘</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นางสาวสุธีมนต์<span>  </span>ทองเอียด</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">พนักงานราชการ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๓๑<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./ศิลปศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๙</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">นางสาวสีตีนาสรา<span>  </span>สือนิ<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">พนักงานราชการ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๒๙<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./การปฐมศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๐</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นางสาวสารีป๊ะ<span>  </span>ปิตาราโซ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">พนักงานราชการ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๒๙<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./สังคมศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๑</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นางสาวโสภนา<span>  </span>ณ<span>  </span>รังษี</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">พนักงานราชการ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๒๙<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./สังคมศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๒</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">นางมายีลา<span>  </span>สูหลง<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">พนักงานราชการ<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๒๘<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๔</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">คบ./ธุรกิจศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๑๓</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">นายเจ๊ะเต๊ะ<span>  </span>อาแว</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ลูกจ้างประจำ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๕๙<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">๒๘</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">-</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"35\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 26.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๑๔<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"188\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 141pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">นางสาวธาริกา<span>  </span>กุกามา<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"142\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 106.5pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">ครู<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"60\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 44.7pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๒๖<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"95\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 71.4pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">๓<o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"180\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 134.65pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">วท.บ. ชีววิทยาประยุกต์<o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาการเรียนการสอนที่พบสืบเนื่องมาจากสาเหตุดังนี้</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">1)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาทางภูมิศาสตร์ ที่ลุ่มน้ำท่วมขังเป็นเวลานานในทุกปีส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ความยากจน<span>  </span>และครอบครัวต้องไปทำงานชายแดนต่างประเทศ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><span>   </span><span lang=\"TH\">ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">3)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ด้านภาษา<span>  </span>การใช้ภาษาถิ่น<span>  </span>มากกว่าภาษาไทย</span><span style=\"font-size: 11pt\"><span>  </span><span lang=\"TH\">ส่งผลถึงการอ่านเขียนภาษาไทย</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">4)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาด้านความไม่สงบชายแดนภาคใต้ส่งผลให้มีการหยุดเรียน เกิดปัญหาการอ่าน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><span>  </span><span lang=\"TH\"><span>      </span>การเขียน<span>  </span>การพูดภาษาไทย</span><span>  </span><span lang=\"TH\">และการติดต่อสื่อสาร</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">5)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาการขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">6)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาด้านโรคติดต่อ โดยแมลงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก , โรคชิคุนกุนย่า)</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">7)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาการเดินทาง มาปฏิบัติราชการ อยู่ในพื้นที่ สีแดง มีความเสี่ยงสูง (</span><span style=\"font-size: 11pt\">1 <span lang=\"TH\">ใน </span>7<span lang=\"TH\"> โรงเรียน )</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">8)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาบุคลากรย้ายเข้าและย้ายออกจำนวนมาก</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">9)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ผู้บริหารสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบ่อย</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">10)</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">      </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ปัญหาเรื่องน้ำดื่ม<span>  </span>น้ำใช้<span>  </span>น้ำบริโภค (บ่อบาดาลไม่มีน้ำ)</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย<span>  </span></span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">สอนให้นักเรียนรู้จักสระ พยัญชนะสอนการแจกลูกคำ</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><span>  </span><span lang=\"TH\">อ่านคำและรู้ความหมายของคำโดยใช้สื่อ</span><span>  </span><span lang=\"TH\">อ่านเนื้อเรื่องที่กำหนดให้</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ตอบคำถามจากเรื่องโดยตอบปากเปล่า</span><span>  </span><span lang=\"TH\">เขียนตามคำบอก</span><span>  </span><span lang=\"TH\">แต่งประโยค</span><span>  </span><span lang=\"TH\">แต่งเรื่องใหม่โดยนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ประเมินผลผ่านหรือไม่ผ่าน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">สรุป นำกลับไปทำซ้ำ ถ้าไม่สำเร็จ<o:p></o:p></span></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>               </span><span lang=\"TH\">ปัญหาสำคัญของผู้บริหารในการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการสอนภาษาไทย</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ครูไม่เปลี่ยนพฤติกรรมการสอน<span>  </span>ยังใช้วิธีการสอนไม่หลากหลาย<span>  </span>ครูผู้สอนไม่ได้จบเอกภาษาไทยสื่อ<span>  </span>อุปกรณ์ ไม่เพียงพอ และไม่นำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้เท่าที่ควรโรงเรียนมีสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษาปานกลางสื่อที่โรงเรียนใช้เพื่อใช้ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษา เรียงตามลำดับการใช้งานดังนี้<span>  </span>แบบเรียน<span>  </span>แบบฝึกหัด<span>  </span>แบบฝึก<span>  </span>หนังสือภาพ หนังสืออ่านประกอบ<span>  </span>บัตรคำ บัตรภาพ<span>  </span>ซีดีรอม<span>  </span>ซีดี ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนโดยรวม โรงเรียนมีปัญหาอยู่บ้างได้แก่<span>  </span>การวางแผนการพัฒนาหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ เนื่องจากหลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยทำให้ขาดความมั่นใจในการใช้และพัฒนา</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\" lang=\"TH\"><span>                        </span>ปัญหาการจัดการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายประการ ได้แก่ การขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา<span>  </span>กล่าวคือ จากการที่ครูและบุคลากรทางการศึกษาย้ายออกจากพื้นที่จำนวนมาก ทำให้ทางโรงเรียนมีครูอัตราจ้างสอนเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลต่อปัญหาคุณภาพครูผู้สอนปัญหาการบริหารจัดการและคุณภาพการศึกษา<span>  </span>แม้ว่าจะมีการจัดสรรอัตรากำลังให้โรงเรียนเพิ่มขึ้น แต่โรงเรียนส่วนใหญ่ก็ยังประสบปัญหาการขาดแคลนทั้งครูเชิงคุณภาพโดยเฉพาะการสอนภาษาไทยที่เป็นภาษาพื้นฐาน<span>  </span>ซึ่งขาดแคลนทั้งครูชำนาญการและครูที่มีความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้เรียน เช่นครูที่สอนภาษาไทยไม่ชำนาญในการใช้ภาษามาลายูถิ่น<span>  </span>ส่วนครูที่ใช้ภาษามาลายูถิ่นจะไม่ชำนาญในการใช้ภาษาไทย<span>  </span>และปัญหาข้อจำกัดในการใช้ภาษาไทยของชาวมุสลิม<span>  </span>โดยเฉพาะการอ่านออกเขียนได้<span>  </span>เป็นอุปสรรคต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเกือบทุกวิชา<span>  </span>นอกจากนี้ ยังมีปัญหาความซ้ำซ้อนในการศึกษาคือด้วยบริบทของชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ชาวไทยมุสลิมต้องการให้นักเรียนให้นักเรียนเรียนรู้และมีวิถีการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนาอิสลาม<span>  </span>ทำให้นักเรียนไทยมุสลิมต้องให้เวลากับการเรียนมากกว่าปกติเพื่อให้ได้รับความรู้และทักษะประสบการที่สามารถตอบสนองต่อการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนา<span>  </span>ส่งผลให้นักเรียนต้องเรียนหนังสือมากกว่าปกติ<span>  </span>เฉลี่ยแล้วเด็ก 1 คน จะต้องเรียนวิชาศาสนาไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ แม้ว่านักเรียนจะเรียนวิชาศาสนามาแล้วจากโรงเรียนของรัฐแต่ผู้ปกครองก็มักให้บุตรหลานเรียนศาสนาในตาดีกาหรือสถาบันปอเนาะควบคู่ไปด้วยนักเรียนจึงเรียนซ้ำซ้อนทั้งในเวลาปกติที่โรงเรียนของรัฐและตอนบ่ายหรือเสาร์อาทิตย์ในตาดีกาหรือปอเนาะ<span>  </span>เมื่อนักเรียนไปเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามต้องเรียนซ้ำซ้อนอีกเป็น</span><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Angsana News\'\"><o:p></o:p></span></span></span><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black; font-family: \'Informal Roman\'\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></o:p></span></b> </p>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                 </span><span>                                 </span><b><span lang=\"TH\">เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน</span><o:p></o:p></b></span></span></h1>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ชื่อผู้วิจัย</span></b><span style=\"font-size: 11pt\"><span>       </span><span lang=\"TH\">นางสาวโสภนา<span>                  </span>ณ<span>  </span>รังษี</span><span>                                 </span><span lang=\"TH\">โรงเรียนบ้านปะดะดอ<o:p></o:p></span></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">สาระการเรียนรู้</span></b><span style=\"font-size: 11pt\"><span>                  </span><span lang=\"TH\">ทักษะภาษาไทย</span><span>                                         </span><b><span lang=\"TH\">ช่วงชั้น</span></b><span>   </span>1<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ชื่อเรื่อง</span></b><span style=\"font-size: 11pt\"><span>         </span><span lang=\"TH\">การแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ<span>  </span>เมาะบากอ</span></span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">สภาพปัญหา</span></b><span style=\"font-size: 11pt\"><span>                       </span><span lang=\"TH\">จากการศึกษานักเรียนที่ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยพบว่า<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>ไม่ส่งงานบ่อยที่สุด<span>    </span>จึงนำมาเป็นปัญหาในการวิจัยพบปัญหา คือ</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">1.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">นักเรียนไม่เข้าใจในบทเรียน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">3.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">มีสติปัญญาช้า</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">4.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">มีลักษณะนิสัยที่เงียบ และไม่ค่อยพูดจา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทางเลือกที่คาดว่าจะแก้ปัญหา</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">1.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">จูงใจให้เห็นความสำคัญในการส่งงานในทุกรายวิชา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">สร้างแรงเสริมให้<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">3.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ให้<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>ฝึกทักษะในกระบวนการทำงานให้มีความเข้าใจที่ดี</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">4.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">พูดคุยกับ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span><span>  </span>เสมือนเป็นบุตรของตนเองด้วยความรัก</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">และเอาใจใส่</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จุดประสงค์การวิจัย</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span><span lang=\"TH\">เพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span></span><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระยะเวลาในการดำเนินงาน</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span><strong>                                                </strong></span>ภาคเรียนที่<span>  </span>1</span><span style=\"font-size: 11pt\"><span>      </span><span lang=\"TH\">ปีการศึกษา<span>   </span></span>25<span lang=\"TH\">52</span><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ขั้นตอนการดำเนินงาน</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">1.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ลักษณะปัญหา<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยเสมอ<span>  </span>เพราะ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียน และคิดว่าการเขียนเรื่อง<span>   </span>การแต่งประโยค</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">เป็นสิ่งที่ยากมากสำหรับเขามาแต่เดิม<span>  </span>พร้อมทั้งไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2.</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">วิธีแก้ไข</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2.1</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">         </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ครูเรียก<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>มาสอบถามและบอกวิธีที่จะร่วมมือกับ </span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ครู<span>  </span>เพื่อพัฒนาตนเองและมีงานส่งตรงเวลา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2.2</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">          </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ครูเรียก<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>มาพบในท้ายชั่วโมงเรียนและทบทวน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">เนื้อหาให้เล็กน้อย<span>  </span>พร้อมทั้งชี้แจง อธิบายแบบฝึกหัดให้เข้าใจ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span><span style=\"font-family: Angsana New\">2.3</span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">          </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ในชั่วโมงเรียนพิเศษจะพูดคุยกับ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span> และดูเขาทำ<span>   </span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">การบ้านทุกครั้งที่เขามีการบ้าน<span>  </span>และคอยเป็นที่ปรึกษาให้เสมอ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; letter-spacing: -1pt\" lang=\"TH\">แบบบันทึกการดำเนินงาน</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; letter-spacing: -1pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; letter-spacing: -1pt\" lang=\"TH\">โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อปฏิรูปการศึกษา<span>   </span></span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; letter-spacing: -1pt\">3 <span lang=\"TH\"><span>  </span>จังหวัดชายแดนภาคใต้</span></span></b><span style=\"font-size: 11pt; letter-spacing: -1pt\"><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้จัดทำ</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>          </span></span></b><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                        </span><span lang=\"TH\">นางสาวโสภนา<span>    </span>ณ<span>  </span>รังษี</span><o:p></o:p></span></span></h1>\n<h1 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชื่อเรื่อง</span></b><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>         </span><span lang=\"TH\">การแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span><span>   </span>เมาะบากอ</span><o:p></o:p></span></span></h1>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัญหาและสาเหตุ</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span><span lang=\"TH\">การศึกษามีความจำเป็นต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจึงต้องมีการฝึกทักษะ และนำผลงานของตนส่งครูผู้สอนในรายวิชานั้น ๆ</span><span>  </span><span> </span><span lang=\"TH\">เพื่อตรวจความถูกต้องอันจะนำไปสู่</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">การพัฒนาศักยภาพให้ดีขึ้นจนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span><span lang=\"TH\">จากการสอนวิชาภาษาไทยพบว่า<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span><span>   </span>เมาะบากอ<span>  </span>นักเรียนชั้นป</span>.<span lang=\"TH\">1 </span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทย เพราะด้วยสาเหตุที่มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทยแต่เดิม จากการสอบถามพบว่าเด็กชายอานันท์ไม่เข้าใจคำในภาษาไทย<span>   </span>เมื่อครูสอนแล้วเกิดความไม่เข้าใจ<span>    </span>ไม่กล้าถามครูผู้สอนจึงปล่อยให้เป็นเช่นนี้เรื่อยมา จนไม่สนใจวิชาภาษาไทย นอกจากนี้ยังไม่ได้รับการดูแล การเอาใจใส่จากผู้ปกครองในเรื่องของการทำการบ้านในรายวิชาอื่นๆ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วัตถุประสงค์</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span><span lang=\"TH\">เพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span><span>   </span>เมาะบากอ<span>  </span>และการสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย</span><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วิธีดำเนินงานแก้ไข</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span>1.<span>  </span><span lang=\"TH\">ครูสนทนากับ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span> ถามถึงสาเหตุของการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทย พบว่าเด็กชายแวอาสุวรรณมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทยมาแต่เดิม</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span><span lang=\"TH\">จากการศึกษาพบพื้นฐานของ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span><span>   </span>เป็นนักเรียนที่เงียบเฉยไม่พูดจา<span>   </span>เนื่องจากบิดา<span>  </span>มารดา ไม่มีพื้นฐานทางด้านการใช้ภาษาไทย<span>   </span>จึงทำให้ผู้ปกครองไม่ให้ความสนใจต่อการเรียนเท่าที่ควร<span>  </span>ระหว่างที่เรียนอยู่ชั้นป</span>.<span lang=\"TH\">1 เทอมแรกจะนิ่งเฉยไม่พูดจาเมื่อซักถามจะตอบน้อยมากหรือบางครั้งจะไม่พูดกับครูเลยเมื่อเข้าห้องจะเฉยเมย เหมือนไม่เต็มใจเรียน ทำงานไม่เสร็จ เป็นเหตุให้เกิดความเบื่อหน่าย<span>   </span>ทำให้ไม่อยากเรียนประกอบกับมารดาไม่ได้ตรวจเช็คการบ้านของนักเรียนเป็นประจำ<span>   </span></span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span>2. <span lang=\"TH\">ครูสร้างความเข้าใจและบอกว่าหากไม่เข้าใจบทเรียนไหนให้ถามได้โดยไม่ต้องกลัวถูกว่ากล่าว</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span>3. <span lang=\"TH\">ในชั่วโมงเรียนพบว่า<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>ไม่กล้าถามและไม่มีงานส่งเหมือนเคย</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span>4.<span>  </span><span lang=\"TH\">หลังเลิกเรียนในแต่ละคาบเรียนของภาษาไทย ครูจะเรียก<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span></span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">มาถามว่าวันนี้มีการบ้านวิชาภาษาไทยหรือไม่ เด็กตอบว่ามี<span>     </span>หรือถามว่าทำแบบฝึกหัดที่ทำในชั่วโมงเรียนเสร็จแล้วหรือยัง เด็กจะตอบว่า ยัง<span>   </span>หรือเฉยไปตอบ ครูให้ลองทำให้ดู พบว่าทำไม่ได้จึงอธิบายให้ฟังอีกครั้งและให้กลับไปทำต่อที่บ้าน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span>5.<span lang=\"TH\">ทุกวันที่มีการเรียนภาษาไทย จะเรียกให้<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>มาพบเพื่อทำงานแบบฝึกหัดวิชาภาษาไทย</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span>6.<span lang=\"TH\">หลังจากปฏิบัติข้อ </span>5 <span lang=\"TH\">ประมาณ </span>1-2 <span lang=\"TH\">สัปดาห์ <span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>กล้าถามครูในชั่วโมงเรียนและมีการบ้านส่ง ทั้งยังสามารถอธิบายให้เพื่อนฟังได้</span><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สรุปผลการดำเนินงาน</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>                                                </span><span lang=\"TH\">จากการดำเนินการแก้ไขปัญหาของ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span> พบว่าสาเหตุของการไม่ส่งงานเนื่องจากการไม่เข้าใจความหมายของคำ<span>  </span>และไม่กล้าซักถาม จึงมีเจตคติไม่ดีมาก่อน เพราะคิดว่าภาษาไทยเป็นวิชาที่ยาก<span>  </span>เมื่อได้แก้ไขปัญหาโดยครูสร้างความคุ้นเคยให้ถามมั่นใจกับนักเรียนในการเรียนวิชาภาษาไทย<span>  </span>และพร้อมที่จะให้คำปรึกษา<span>  </span>ทั้งด้านการเรียนและปัญหาอื่นๆทำให้เด็กมีความมั่นใจในการเรียนมากขึ้นและพบว่า<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>มีพัฒนาในการการเรียนดีขึ้นสามารถอธิบายให้เพื่อนๆ ฟังได้<span>  </span>ทุกวันนี้<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>มีความสนใจและมั่นใจตนเองในการเรียนมากขึ้นจนทำให้ส่งงานวิชาอื่นได้เป็นอย่างดีพอสมควร</span><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข้อเสนอแนะ</span><span style=\"font-size: 11pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></strong></h2>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span>             </span><span lang=\"TH\">มีเด็กที่มีปัญหาคล้ายกับปัญญาของ<span style=\"color: black\">เด็กชายแวอาสุวรรณ</span>มีอีกหลายคนและหลายวิชา<span>   </span>บางคนไม่ส่งงานทุกวิชาต้องตรวจสอบถึงสาเหตุที่แท้จริงของการไม่ส่งงานว่าเป็นเจตคติที่มีต่อตัวครูหรือเปล่าในขั้นตอนการแก้ไขนั้นต้องขึ้นอยู่กับตัวของครูผู้สอนว่าจะเปิดใจรับปัญหาของเด็กและพร้อมที่จะแก้ไขหรือไม่<span>  </span>และพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาเทคนิควิธีการสอนของครูเองด้วย</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">แบบบันทึกสังเกตพฤติกรรมนักเรียน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span> </p>\n<table border=\"1\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"margin: auto auto auto -57.6pt; border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"100\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 75.3pt; padding-top: 0cm; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">วัน เดือน ปี</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span> </td>\n<td width=\"202\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 151.55pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">พฤติกรรมที่สังเกตได้</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"170\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 127.6pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\">\n<h5 style=\"margin: 12pt 0cm 3pt\"><strong><em><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">แนวทางการพัฒนา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span></em></strong></h5>\n</td>\n<td width=\"189\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 5cm; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">พฤติกรรมนร</span><span style=\"font-size: 11pt\">.<span lang=\"TH\">หลังการพัฒนา</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n<tr style=\"height: 367.85pt\">\n<td width=\"100\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 75.3pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 367.85pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">8-12 <span lang=\"TH\">ต</span>.<span lang=\"TH\">ค</span>.<span lang=\"TH\">52</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">7-9 <span lang=\"TH\">ต</span>.<span lang=\"TH\">ค</span>. <span lang=\"TH\">52</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">12 <span lang=\"TH\">ม</span>.<span lang=\"TH\">ค</span>. 52<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">15 <span lang=\"TH\">ม</span>.<span lang=\"TH\">ค</span>. 52<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">19-23 <span lang=\"TH\">ม</span>.<span lang=\"TH\">ค</span>.<span lang=\"TH\">52</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">28 <span lang=\"TH\">ม</span>.<span lang=\"TH\">ค</span>. <span lang=\"TH\">52</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\">6 <span lang=\"TH\">ก</span>.<span lang=\"TH\">พ</span>. <span lang=\"TH\">52</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span> </span>9–19 <span lang=\"TH\">ก</span>.<span lang=\"TH\">พ</span>. <span lang=\"TH\">52</span><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"202\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 151.55pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 367.85pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ไม่ส่งการบ้านวิชาภาษาไทยสอบถามว่าลืม</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ไม่ส่งการบ้าน<span>  </span>เรียกมาคุยถึงสาเหตุ พบว่าไม่ชอบเรียนวิชาภาษาไทย เพราะคิดว่ายากและเขียนเรื่องราไม่ได้</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">เรียกให้ตอบคำถามในบทเรียน หลังจากเรียนไปสักครู่ ไม่ตอบคำถาม<span>  </span>สอบถามบอกว่าเรียนไม่เข้าใจ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ครูเรียกมาพบในชั่วโมงเรียนพิเศษนักเรียนบอกว่า เข้าใจในบทเรียนและทำเองได้<span>  </span>แต่ก็ทำไม่ได้<span>  </span>จึงทำให้ลองทำแต่ทำไม่ได้</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ในชั่วโมงเรียนและชั่วโมงเรียนพิเศษ นักเรียนจะเข้ามาคุยด้วยและเริ่มถามการบ้านและถามในวิชาอื่นๆด้วย</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">นักเรียนเริ่มพูดคุยด้วยด้วยและอธิบายการบ้านให้เพื่อนฟังได้ด้วย</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">นักเรียนตอบคำถามในชั่วโมงเรียนได้แต่ไม่คล่องแคล่ว</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">นักเรียนส่งตรงเวลา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"170\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 127.6pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 367.85pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ส่งให้กลับไปทำให้เสร็จ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ครูให้แรงเสริมและจะช่วยให้เรียนเข้าใจ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ให้แรงเสริมและอธิบายให้ฟังพร้อมกันทั้งห้อง</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ครูอธิบายและให้ทำพร้อมๆกับครู<span>  </span>พร้อมสร้างแรงเสริม</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ให้แรงเสริมและพูดคุยกับนักเรียน</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ให้ทำงานส่งโดยไม่ต้องควบคุมและอธิบายอีก ถ้าข้อใดยากจะถาม</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ให้แรงเสริมในเรื่องของความกล้าแสดงออก</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ครูคอยสังเกตการเปลี่ยน แปลงหลังได้รับการแก้ไข</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td width=\"189\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #ece9d8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #ece9d8; width: 5cm; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 367.85pt; background-color: transparent\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ลอกเพื่อน</span><span style=\"font-size: 11pt\">/<span lang=\"TH\">ไม่ส่งเลย</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ตอบรับและพยายามเพิ่มขึ้น</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">พยายามทำความเข้าใจและเริ่มทำแบบฝึกหัด แต่ยังไม่ได้ผลดีเท่าที่คิดไว้</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">การบ้านแต่ยังไม่พยายามตั้งใจเมื่อขาดการควบคุมก็ไม่ทำ</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ทำเสร็จทันเวลาและส่งการบ้าน</span><span style=\"font-size: 11pt\">/<span lang=\"TH\">แบบฝึกหัดในหน้ายิ้มแย้ม</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">เริ่มส่งงานมากขึ้นและทำได้ดีมาก</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ส่งตรงเวลา</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #ff00ff; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">ส่งงานสม่ำเสมอมากขึ้น</span><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Angsana New\"> </span></o:p></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">***************************************************************************************************</span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\nหมายเลขบัญชีธนาคารกรุงไทย ของผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย ฯ\n</p>\n<p>\nที่        ชื่อ - สกุล                      บัญชีเลขที่                  ชื่อผลงาน                                                      หมายเหตุ<br />\n1. นางลำดวน   บัวหอม       922 – 0 – 11726 – 6         พลังร่วมสร้างคน                                           ธนาคารกรุงไทย<br />\n2. น.ส.เนตรนภา  นอสืบ       914 – 0 – 02302 – 8                                                                                                   ธนาคารกรุงไทย<br />\n3. นางนิชาภา   บุญเจริญ    914 – 0 – 03663 – 4        การศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนประถมในวิชา คอมพิวเตอร์                                                                                                                                                                                 <br />\n                                                                                                                                       ธนาคารกรุงไทย    <br />\n                                                                                                                                       สาขาสุไหงโก - ลก <br />\n4. น.ส.โสภนา  ณ  รังษี       914 – 0 – 02302 – 8                                                                      ธนาคารกรุงไทย <br />\n                                                                                                                                       สาขาสุไหงโก - ลก <br />\n5. นายวิภาคย์  บกสกุล        922 – 0 – 15351 – 3          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย<br />\n6. นางพิมพ์    พรหมพูล        922 – 1 – 19734 – 4          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย<br />\n7. น.ส.จรรยา  แสงสุวรรณ    922 – 1 – 14060 – 1          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย<br />\n8. นายวันชัย   กรดแก้ว        05360044760–0                อยู่ในเล่ม                                                ธนาคารออมสิน<br />\n9. นายไชยยศ  เอียดนุสรณ์   922 – 1 – 05040 – 8          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย<br />\n10. นางประทุม  จันทร์แก้ว   922 – 1 – 03192 – 6          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย<br />\n11. น.ส.อัจฉรา  นุ่นเกลี้ยง   922 –  1 – 19075 – 7         อยู่ในเล่ม                                                  ธนาคารกรุงไทย<br />\n    \n</p>\n<p>\n               \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1718633401, expire = 1718719801, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e6d9b662acf7394df572c85e1a958578' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0a952b03bda9efdf608737596061ce8c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nขอบคุณมากค่ะที่นำรายงานขึ้น บล๊อก\n</p>\n<p>\nอาจารย์น่าจะแยกรายงานแต่ละเรื่องให้อยู่คนละบลอกกันนะค่ะ\n</p>\n<p>\nเพื่อง่ายต่อการอ่านและคอมเม้นค่ะ \n</p>\n<p>\nนินา\n</p>\n', created = 1718633401, expire = 1718719801, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0a952b03bda9efdf608737596061ce8c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิจัยและพัฒนาการศึกษาเพื่อปฏิรูปการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนใต้


รายงานการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนา
การศึกษาเพื่อปฏิรูปการศึกษา
  3 จังหวัดชายแดนใต้

นางลำดวน   บัวหอม
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปะดะดอ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

พลังร่วมสร้างคน                                                       
โรงเรียนบ้านปะดะดอ  อ. ตากใบ จ. นราธิวาส

ประวัติส่วนตัว
      ชื่อ – สกุล    นางลำดวน    บัวหอม        ผู้อำนวยการโรงเรียนปะดะดอ        
      วันเดือนปีเกิด   วันที่  7    กันยายน   2502 
      ภูมิลำเนา/ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 72/1 หมู่ 2 ต. ศาลาใหม่ อ. ตากใบ จ. นราธิวาส

ประวัติการศึกษา
1) ประถมศึกษา ร.ร.บ้านศาลาใหม่   อ. ตากใบ  จ. นราธิวาส
2) มัธยมศึกษา ร. ร ตากใบ  อ. ตากใบ  จ. นราธิวาส
3) อนุปริญญา ( ป.วช.  ) วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส  จ. นราธิวาส
4) อนุปริญญา ( พ.ม )  ศึกษาด้วยตนเอง
5) ปริญญาตรี   ( ค.บ. ) วิทยาลัยราชภัฎยะลา  จ. ยะลา
6) ปริญญาโท ( ศษ.ม )การบริหารการศึกษา  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ประวัติการรับราชการตั้งแต่ต้น - ปัจจุบัน
1)   ครู 1 โรงเรียนบ้านคลองตัน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส  เริ่มบรรจุเมื่อ  22 พฤศจิกายน  2525  
2)   อาจารย์ 1 โรงเรียนบ้านคลองตัน   วันที่  1   ตุลาคม     2532
3)   อาจารย์ 2 โรงเรียนบ้านคลองตัน  วันที่  1    ตุลาคม     2538 
4)   ครู คศ.2   โรงเรียนบ้านคลองตัน  วันที่ 24  ธันวาคม   2547
5)   ครู คศ.2   โรงเรียนวัดชลธาราสิงเห( เสาร์ศึกษาคาร) วันที่  1  มิถุนายน  2548
6)   ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนูโร๊ะ อ.แว้ง จ. นราธิวาส  วันที่  24  มกราคม   2550
7)   ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปะดะดอ  อ. ตากใบ  จ. นราธิวาส 23 ธันวาคม 2551- ปัจจุบัน                        
คติในการทำงาน      “ จริงจัง   มุ่งมั่น   พัฒนา ”

1.1 ข้อมูลโรงเรียน
ประวัติสถานศึกษา
 ที่ตั้ง
      โรงเรียนบ้านปะดะดอตั้ง  หมู่ที่ 3  ตำบลนานาค  อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส  รหัสไปรษณีย์  96110 ห่างจากโรงเรียนตากใบ (โรงเรียนแม่ข่าย) ที่ว่าการอำเภอตากใบ  16 กิโลเมตร  และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต  2  (อำเภอสุไหงโก-ลก) ระยะทาง  20  กิโลเมตร 
ที่ดินที่ตั้งโรงเรียน 
             ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอมีเนื้อที่ตามหนังสือที่ดินน.ส.3 ก.ทั้งสิ้น4ไร่2งาน 66ตารางวาตั้งในพื้นที่ราบลุ่มทุกปีในฤดูฝนน้ำจะท่วม จึงมีระบบชลประทานเข้ามาจัดการเรื่องน้ำ
การจัดการเรียนการสอน
             โรงเรียนบ้านปะดะดอโรงเรียนระดับประถมศึกษาเปิดทำการสอนเมื่อวันที่  13  พฤษภาคม  พ.ศ. 2501  โดยกำนัน  เจ๊ะอูมา  โซ๊ะรี  ให้ใช้ที่ดิน  3 งาน  35  ตารางวา  เพื่อสร้างอาคารเรียนโดยความร่วมมือการสร้างการสร้างจากราษฎรโดยมีนายทองเล็ก  เดิมหมวก เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่  เป็นคนแรกและ ปี  พ.ศ. 2505 นายเจ๊ะอูมา โซ๊ะรี กำนันตำบลนานาคพร้อมด้วยราษฎรร่วมกันบริจาคที่ดินแปลงใหม่ 4 ไร่ 66  ตารางวา สร้างอาคารเรียนในที่ใหม่ตรงข้ามที่ดินเดิม
 การจัดการศึกษา
 ปีการศึกษา  2501    เริ่มเปิดทำการสอน
 ปีการศึกษา  2524  เปิดทำการสอน  ชั้นเด็กเล็ก  และชั้นประถมศึกษา
 ปัจจุบันเปิดทำการสอน 2 ระดับ  คือระดับชันอนุบาล  และประถมศึกษา

1.2  ข้อมูลนักเรียน
 ด้านปริมาณ

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ข้อมูลจำนวนนักเรียน  ปี2552
นักเรียนชั้นอนุบาล 1 – ป.6   ชาย  98   คน หญิง  112 คน  รวม 210  คน

1.3 ข้อมูลครูและบุคลากร
อัตรากำลังครูและบุคลากรของโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ปี2552

1) ผู้บริหารสถานศึกษา                    1        คน
2) ครู                                         7        คน
3) พนักงานราชการ                         4        คน
4) ลูกจ้างประจำ                            2        คน
              รวมบุคลากรจำนวนทั้งสิ้น     14     คน
       
ปัญหาการเรียนการสอนที่พบสืบเนื่องมาจากสาเหตุดังนี้
1) ปัญหาทางภูมิศาสตร์ ที่ลุ่มน้ำท่วมขังเป็นเวลานานในทุกปีส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ความยากจน  และครอบครัวต้องไปทำงานชายแดนต่างประเทศ   ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
3) ด้านภาษา  การใช้ภาษาถิ่น  มากกว่าภาษาไทย  ส่งผลถึงการอ่านเขียนภาษาไทย
4) ปัญหาด้านความไม่สงบชายแดนภาคใต้ส่งผลให้มีการหยุดเรียน เกิดปัญหาการอ่าน     การเขียน  การพูดภาษาไทย  และการติดต่อสื่อสาร
5) ปัญหาการขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา
6) ปัญหาด้านโรคติดต่อ โดยแมลงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก , โรคชิคุนกุนย่า)
7) ปัญหาการเดินทาง มาปฏิบัติราชการ อยู่ในพื้นที่ สีแดง มีความเสี่ยงสูง (1 ใน 7 โรงเรียน )
8) ปัญหาบุคลากรย้ายเข้าและย้ายออกจำนวนมาก
9) ผู้บริหารสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบ่อย
10) ปัญหาเรื่องน้ำดื่ม  น้ำใช้  น้ำบริโภค (บ่อบาดาลไม่มีน้ำ)
            
แนวทางการบริหารจัดการศึกษา
            1) บรรยากาศการบริหาร
           ผู้บริหารมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้  รวมทั้งกระตุ้นส่งเสริมให้มีการวิจัยในชั้นเรียน และใช้กระบวนการวิจัยในกระบวนการเรียนรู้  จัดประชุมสัมมนาหรือส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องนอกจากนี้ผู้บริหารประสานความร่วมมือกับชุมชน ผู้ปกครอง ผู้นำท้องถิ่น และแหล่งวิทยาการในชุมชน เพื่อระดมทรัพยากร และใช้ประโยชน์จากแหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและตามความสนใจของผู้เรียน
             โรงเรียนบ้านปะดะดอ เป็นโรงเรียนที่มีผู้บริหารสถานศึกษาเน้นการกระจายอำนาจไปยังคณะบุคคล ในระดับสถานศึกษา และชุมชนโดยให้คณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพิจารณาและเห็นชอบ ในกิจกรรมที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์โดยรวมแก่ชุมชน  เน้นความโปร่งใส เป็นธรรม และสร้างความสามัคคีในองค์กร  เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีพัฒนาการตามความต้องการ  รวมทั้งจัดบรรยากาศในสถานศึกษา  ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน  รวมทั้งการประสานความร่วมมือกับแหล่งเรียนรู้ในชุมชน  และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ และยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้  และเต็มศักยภาพ
             ในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาจัดเนื้อหาสาระ กิจกรรมสอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล  โดยผสมผสานความรู้ด้านต่างๆ อย่างสมดุล รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
              การสร้างบรรยากาศการบริหารแบบมีส่วนร่วม   เปิดโอกาสให้ครู  ผู้ปกครองและผู้นำชุมชน มีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มุ่งผลลัพธ์ที่นำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ  ใช้แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ จัดระบบการประเมินผู้เรียนที่เน้นการประเมินตามสภาพจริง ด้านพัฒนาการ การสังเกตพฤติกรรม ความประพฤติ การร่วมกิจกรรม  สร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงานของครูที่ปรับเปลี่ยนวิธีสอนใหม่ๆและนำไปสู่การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อมาตรฐานวิชาชีพต่อไป
             กล่าวโดยสรุปบรรยากาศการบริหารโรงเรียนบ้านปะดะดอขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่นโครงสร้างการบริหาร กระบวนการบริหาร การใช้เทคนิควิธี การจัดสภาพแวดล้อม การมีมนุษยสัมพันธ์ของผู้บริหารตามสถานการณ์ที่เหมาะสม มีการมอบหมายงาน การกำกับ ดูแล ติดตามและประเมินผล  มีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีผลงานที่ปรากฏ    ผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจในงานที่กระทำอยู่ก็จะนำไปสู่การทำงานที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ซึ่งก่อให้เกิดความกระตือรือร้นที่จะทำงานให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ดังมีผลงานในเชิงประจักษ์           
             ดังนั้นจะเห็นว่าการสร้างบรรยากาศการบริหารที่ดีและการสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้นแก่บุคลากรทุกฝ่ายทุกคนในโรงเรียน จึงมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอันจะส่งผลให้เกิดคุณภาพทางการศึกษา ที่จะช่วยนำโรงเรียนไปสู่เป้าหมายความสำเร็จของการจัดการศึกษาในอนาคต
             2  ความรู้สึกและความประทับใจของการบริหาร และพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการ
       2.1  ความรู้สึกและความประทับใจต่อคุณภาพของการบริหาร
                ศักยภาพการบริหารงาน โดยภาพรวมสามารถพัฒนาองค์กร ให้มีการพัฒนาที่ก้าวหน้าขึ้นจากเดิมได้เป็นอย่างดียิ่ง  ทั้งในด้านผู้เรียน  ด้านครู  ด้านบริหาร  และด้านชุมชนและท้องถิ่น
              เทคนิคในการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา  ใช้หลักการทำงานแบบวงจรเดมมิ่ง ( PDCA Deming Cycle ) ซึ่งประกอบด้วย 4  ขั้นตอน คือ
                 P      :    Plan      มีการวางแผนและกำหนดวัตถุประสงค์ของการทำงาน
                 D     :    Do         มีการทำงานตามแผน
                 C     :    Check    มีการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานตามแผน
                 A      :    Act        มีการดำเนินการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามแผน
                 ผลการปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลา  2  ปีที่ผ่านมาได้มีการวางแผนการดำเนินงาน  ทำงานตามแผน มีการตรวจสอบและประเมินตามแผนอย่างต่อเนื่อง และปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ผลการปฏิบัติงานดำเนินไปสู่ความสำเร็จ  โดยมีการกระจายอำนาจ ร่วมกับหัวหน้างานทั้ง 4  ฝ่ายงานคืองานบริหารวิชาการ  บริหารงานบุคคล งานบริหารงบประมาณ และงานบริหารทั่วไป  ส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความสำเร็จในระดับภาคใต้ จากมูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลนในพระบรมราชินูปถัมภ์ (มนข. ) และมีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน
                จากการบริหารงานโดยการกระจายอำนาจ และยึดหลักธรรมาภิบาล ได้รับความพึงพอใจมากโดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษา โรงเรียนเป็นศูนย์รวมระหว่างองค์กรของรัฐ และประชาชน  ส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วม และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนดังกล่าวลดความหวาดระแวงจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารทุกขั้นตอน ซึ่งสอดคล้องกับหลักการบริหารบ้านเมืองที่ดีซึ่งโรงเรียนบ้านปะดะดอมีการบริหารงานสนองความพึงพอใจกันทุกภาคส่วน
1.4 สรุปผลงานเกียรติยศ ดีเด่นรอบ 5 ปี ( 2548 – 2552 )
  1) พ.ศ. 2548 -2550  สำเร็จหลักสูตร ธรรมศึกษาชั้น เอก จาก สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
  2) พ.ศ.2548 ชนะเลิศ เรียงความประเภทประชาชน3 จังหวัดภาคใต้ เรื่องฮาราปันบารูสู่ใต้สันติกองทัพภาค 4ส่วนหน้า ค่ายอิงคยุทธ์ปัตตานี จ. ปัตตานี
  3) พ.ศ. 2548  รับรางวัล  เมืองไทย เมืองคนดี จากสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส
  4) พ.ศ. 2548  รับเกียรติบัตร รางวัลคุรุสดุดี  จาก สำนักงานคุรุสภา  กรุงเทพฯ
  5) พ.ศ. 2549 ชนะเลิศประกวดบทความสนง.ตำรวจแห่งชาติ(ประชาชนต้องการอะไรจากตำรวจ)
  6) พ.ศ. 2550 รับโล่ และเกียรติบัตร ศิษย์เก่าดีเด่นจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ.ยะลา
 
7) พ.ศ. 2551 โรงเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศระดับภาคใต้ จากมูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ( มนข. )
  8) พ.ศ. 2551 ได้รับงบสนับสนุนการศึกษา การระดมทรัพยากรทางการศึกษาบริษัทบ้านปู จำกัด มหาชน กรุงเทพฯ เป็นจำนวนเงิน 175,000  บาท
  9)  พ.ศ. 2551  ได้รับงบบริจาคจำนวนเงิน  50,000  บาทจากมูลนิธิซเมนต์ไทย และมูลนิธิ มนข.   กรุงเทพฯ
  10) พ.ศ. 2552  ได้รับงบบริจาคจำนวนเงิน  130,000  บาทจากบริษัท ที โอ เอ เพ้นท์ ประเทศไทยจำกัด
1.5 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการบริหารจัดการศึกษา
                การบริหารงานกิจการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย  ระเบียบ  ข้อบังคับ  นโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
                นางลำดวน  บัวหอมในฐานะที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษาที่เปรียบเสมือนเป็น“ผู้จัดการ”ให้ครูและบุคลากรอื่นๆดำเนินการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นไปตามจุดหมายของการศึกษา  ความคาดหวังของสังคมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่นโดยที่เป็นผู้มีคุณลักษณะสำคัญในการปฏิบัติงาน  ดังนี้
1.  ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการโดยเป็นผู้นำในการพัฒนาวิชาชีพการบริหาร
2.  เป็นผู้ที่มีความสามารถในการตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมทุกด้านในหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา ทั้งด้านการเรียนการสอน กิจกรรมเสริม ตลอดจนด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาครู ผู้เรียนและชุมชน
3.  เป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถพัฒนาตนเองให้เต็มขีดความสามารถของแต่ละบุคคล
4.  เป็นผู้มีความสามารถในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งให้เกิดผลคุ้มค่าต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สังคมและสิ่งแวดล้อม 
5.  เป็นผู้มีความสามารถในการพัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับโดยการคิดค้นผลิตสื่อเครื่องมือเทคนิควิธีในการบริหารการศึกษาโดยผู้ร่วมงานมีส่วนร่วม
6.  เป็นผู้มีความสามารถในการปฏิบัติงานขององค์กรโดยเน้นผลถาวร ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดไว้จริง โดยผู้ปฏิบัติงานดำเนินการเอง
7. เป็นผู้มีความสามารถในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่มุ่งให้เกิดผลคุ้มค่าต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา  สังคมและสิ่งแวดล้อม
8.  เป็นผู้มีความสามารถในการพัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับโดยการคิดค้นผลิตสื่อเครื่องมือเทคนิควิธีในการบริหารการศึกษาโดยผู้ร่วมงานมีส่วนร่วม
9.  เป็นผู้มีความสามารถในการปฏิบัติงานขององค์กรโดยเน้นผลถาวร  ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดไว้จริงโดยผู้ปฏิบัติงานดำเนินการเอง ตรวจสอบ ประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงานด้วยตนเองและปรับปรุงงานได้เอง  จนสามารถนำไปสู่ผลได้จริง  อย่างภาคภูมิใจ
10.  เป็นผู้มีความสามารถในการรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ  โดยการรายงานผลที่เกิดจากการปฏิบัติจริง  มีรายละเอียดที่ลึกซึ้ง  มีการเสนอแนะวิธีการปรับปรุงการปฏิบัติให้ได้ผลดีกว่าเดิมจากผลเสียและข้อจำกัดที่พบ  และมีข้อเสนอแนะในการนำไปปรับใช้ในสภาวะต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
11.  เป็นผู้มีความสามารถในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีจนผู้อื่นเกิดศรัทธาและปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่เลือกสรรแล้วจนเป็นปกตินิสัย
 12.  เป็นผู้มีความสามารถในการร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์  โดยการเป็นผู้นำในการพัฒนาชุมชนและร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ
 13.  เป็นผู้มีความสามารถในการนำข้อมูลข่าวสารไปใช้ในการจัดกิจกรรมการพัฒนาได้อย่างเป็นปกติวิสัยและสามารถให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ร่วมงาน  หน่วยงานและชุมชนได้อย่างเป็นระบบ
 14.  เป็นผู้มีความสามารถเป็นผู้นำและสร้างผู้นำ  โดยการร่วมกันสร้างแนวทางหรือวัฒนธรรมการทำงานที่ดีขององค์กร
 15.  เป็นผู้มีความสามารถในการสร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์  โดยการดำเนินกิจกรรมขององค์กรได้อย่างสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต


               ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา
               จัดโครงสร้างการบริหารงาน 4  ฝ่ายงาน  งานบริหารวิชาการ งานบริหารทั่วไป  งานบริหารงานงบประมาณ  งานบริหารงานบุคคล  การดำเนินงานในแต่ละฝ่ายในรายการปฏิบัติมีการดำเนินการที่ได้ผลดียิ่ง
            1) ด้านการบริหารวิชาการ
1. การพัฒนาหลักสูตรสอดคล้องกับความต้องการท้องถิ่นโดยมีคนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
2. มีการจัดทำหลักสูตรสอดคล้องวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา
3. มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม
4. มีการจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
5. มีการจัดทำแผนการเรียนรู้บูรณาการสอดคล้องมาตรฐานการศึกษา
6. มีการจัดทำสื่อและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
7. มีการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ
8. มีการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ครบถ้วน
9. มีการปรับเกณฑ์การประเมินคุณภาพให้สูงขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
            2) ด้านการบริหารบุคคล
1. มีสารสนเทศเกี่ยวกับอัตรากำลังครูเป็นปัจจุบันและความต้องการในอนาคต
2. มีการส่งเสริมครูให้ทำวิจัยชั้นเรียน
3. มีการติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างเป็นระบบ
4. มีการยกย่อง สร้างขวัญกำลังใจ ส่งเสริมให้ส่งผลงานทางวิชาการ บุคลากรผู้สร้างคุณงามความดีและประสบผลสำเร็จในวิชาชีพ
             3) ด้านการบริหารงบประมาณ
1. มีระบบสารสนเทศ อาทิบัญชี การเงินพัสดุครุภัณฑ์ที่มีคุณภาพและเป็นปัจจุบัน
2. มีการระดมทรัพยากรทางการศึกษา
3. มีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบงบประมาณ และปรับปรุง/โครงการอย่างเป็นระบบ
4. ให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินผลงานโครงการหลังสิ้นสุดงานโครงการ
              4) ด้านการบริหารทั่วไป
1. การบริหารงานธุรการเป็นไปอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง
2. จัดระบบงานสารบรรณมีประสิทธิภาพ เป็นระบบและมีข้อมูล
3. บริเวณโรงเรียน อาคารเรียนสะอาดเป็นระเบียบบรรยากาศร่มรื่นต้นไม้สดชื่น
4. การประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
5. โรงเรียนมาระบบเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียน
6. มีการจัดทำประกันคุณภาพการศึกษา
7. มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพของสถานศึกษา
8. มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา
9. มีการประเมินตนเองตามมาตรฐานที่กำหนด
10. มีการจัดทำรายงานการประเมินตนเองหรือรายงานประจำปีเสนอผู้เกี่ยวข้อง
              การบริหารที่ดี เปรียบเสมือน เรือย่อมมีหางเสือ ย่อมกำหนดทิศทาง ที่จะนำพาองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษาหลักการข้างต้นเป็นหลักใหญ่ที่จะนำพาองค์กรสถานศึกษาสู่ความสำเร็จนวัตกรรมที่สถานศึกษาพัฒนาขึ้นได้ผลดีจนถือว่าเป็นการปฏิบัติที่เป็นเลิศได้ เพื่อพัฒนาการ  บริหารจัดการศึกษาให้สามารถพัฒนาผู้เรียน ให้เป็น คนดี  คนเก่ง มีความสุข สนุกกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตนวัตกรรมการศึกษาที่เป็นผลสำเร็จในการบริหารจัดการศึกษา คือ การแก้ปัญหาการอ่านเขียนภาษาไทยโดยร่วมกับมูลนิธิสุข – แก้ว  แก้วแดง  การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในจังหวัดชายแดนภาคใต้  ปี พ.ศ. 2552  ส่งผลให้ผู้เรียนมาความพร้อมในการอ่าน เขียนภาษาไทย เป็นเครื่องมือสื่อสารได้ดี
           
กล่าวโดยสรุป
            กิจกรรมของนักเรียนที่สะท้อนจากการเขียนความรู้สึกต่อการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน ในด้านความประทับใจ พบว่า ส่วนใหญ่ประทับใจคุณลักษณะของครูผู้สอน คือ ครูใจดี มีความเป็นกันเอง ใจเย็น เอาใจใส่นักเรียน รู้สึกอบอุ่น และยิ้มแย้มแจ่มใส ในด้านสิ่งที่เรียนรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน พบว่า ส่วนใหญ่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ คือ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารได้ถูกต้อง ในด้านความต้องการที่ให้ครูผู้สอนปรับปรุงหรือพัฒนา พบว่า ส่วนใหญ่ต้องการให้ครูผู้สอนปรับปรุง คือ ให้มีการใช้สื่อที่หลากหลายและเหมาะสมกับนักเรียน
             ความเห็นด้านการสอนของครูผู้สอนโดยภาพรวม พบว่า ครูผู้สอนในโรงเรียนของบ้าน
ปะดะดอ  ส่วนใหญ่มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับดี คือ มีจำนวนครูร้อยละ 80 – 89  มีพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมที่เปิดโอกาสให้   ผู้เรียนรู้วิธีการทำงานร่วมกัน
 การมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียนโดยภาพรวมทุกโรงเรียน  บุคลากรของโรงเรียนมีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับดี โดยมีการทำงานแบบมีส่วนร่วม มีจำนวนสูงสุดทุกโรงเรียน ได้แก่ กำหนดขอบข่ายของงานและแบ่งงานกันรับผิดชอบ
 ความคิดเห็นของผู้ปกครองและชุมชน ที่มีต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม ปรากฏว่าผู้    ปกครองและชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอยู่ในระดับดี กล่าวคือ สิ่งที่ผู้ปกครอง  ชุมชน มีความพึงพอใจมากที่สุด  ได้แก่ โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชน โรงเรียนมีบรรยากาศการทำงานที่   ยิ้มแย้มแจ่มใส คณะครูมีความกระตือรือร้นทุ่มเทในการทำงาน และพัฒนาผู้เรียนอย่างจริงจัง
              ผลงานของโรงเรียนที่เกิดขึ้น ได้แก่  มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา   ผลงานเกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคนในโรงเรียนและตัวแทนผู้ปกครอง และผลงานการรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี ส่งผลต่อผู้เรียนเป็นคนดี  เก่ง และมีความสุข
             
  ข้อเสนอแนะด้านการบริหารเบื้องต้นในการพัฒนาผู้บริหาร
              ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดตั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน  เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาการ
เรียนการสอน  การใช้หลักสูตร ใช้สื่อที่เหมาะสม  โดยมีผู้บริหารเป็นคณะกรรมการอำนวยการ และหัวหน้างานบริหารวิชาการทั้งระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบร่วมกันกับหัวหน้างกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8  กลุ่มสาระ  และพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นให้หลากหลาย  ที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน  มีการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  มีวิธีสอนที่หลากวิธีการและเทคนิคการสอนได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างต่อเนื่อง
              ผู้บริหาร กำกับติดตามอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ  รวมจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้  รวมทั้งการสร้างขวัญกำลังใจในการทำงานให้มีในรูปแบบที่หลากหลายและต่อเนื่อง
1.6 ความต้องการแก้ไขปรับปรุง
       1)  ปัญหาด้านการเรียนการสอน  เรื่องการใช้ภาษาไทย  สืบเนื่องปัญหาจากเหตุผลที่กล่าวข้างต้น  ส่งผลเสียต่อการเรียนการสอนอย่างมาก  ได้พยายามจัดซื้อ จัดหาสื่อ  เพื่อแก้ปัญหา  การใช้ภาษาไทยให้ดีขึ้นกว่าเดิม
       2)  การทำงานร่วมกับ บุคคลอื่นนั้น  ต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ เพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งผลงาน  ถึงแม้บางครั้ง  ต้องเจอปัญหานานัปการ  แต่ต้องมีความอดทน การทำงานให้สำเร็จต้องอาศัยหลักการบริหารจัดการ  เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ  การบริหารงานใช้หลัก ฝ่ายงานเป็นฐาน  โดยมอบหมายงานเป็นฝ่าย  และในฝ่ายมีผู้รับผิดชอบ  และรับนโยบายจากผู้บริหารโดยตรง
      3)  การวางแผนเป็นปัจจัยสำคัญ  การวางแผนที่ดีต้องมีข้อมูลที่ชัดเจน และถูกต้อง  ฉะนั้นก่อนวางแผนต้องศึกษาข้อมูล  เพื่อประกอบการวางแผน  นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์  แยกแยะ  จัดหมวดหมู่ ในการวางแผน  เพื่อประสิทธิภาพของงาน  แนวคิดทฤษฎีที่ใช้  กระบวนการทำงานโดยใช้วงจรคุณภาพการบริหารวงจรเดมมิ่ง   ซึ่งมีการวางแผน  ปฏิบัติตามแผน  ปรับปรุง แก้ไข  พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
      4) การดำเนินงานภายในโรงเรียน  ได้ร่วมซักถามปัญหา  เพื่อต้องการแก้ปัญหาให้การจัดการศึกษามีความก้าวหน้า   มีคุณภาพการศึกษาดีขึ้น  โดยขั้นตอนแรกซักถามปัญหา  เมื่อทราบปัญหาว่านักเรียนมีปัญหาด้านการใช้ภาษาไทย   คณะครูต่างระดมพลังสมองแก้ปัญหา  โดยเสนอทางเลือก  หลากหลายทางเลือก   และเลือกทางเลือกที่ปฏิบัติได้  มีมติเป็นเอกฉันท์
           สรุป การทำงานทุกอย่างต้องมีอุปสรรค หากว่า ไม่แก้ปัญหา  ยิ่งพอกพูนขึ้นอย่างยากที่จะแก้ไข   ฉะนั้นการร่วมมือร่วมใจกัน เป็นสิ่งสำคัญ  ปัญหาจะลุล่วงไปด้วยดี
1.7 ผลที่เกิดขึ้น
          ความสำเร็จของตนเอง
 
1) โรงเรียนได้รับคัดเลือก “ การเนินโครงการ มนข. 80 พรรษา เทิดพระเกียรติ สนอง  เศรษฐกิจพอเพียง ”  พ.ศ. 2551  จาก มูลนิธิช่วยนักเรียนขาดแคลนในพระบรมราชินูปถัมภ์  กรุงเทพฯ  เป็นตัวแทนภาคใต้
2) นักเรียนสอบได้รับทุนเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนเวียงสุวรรณวิทยาคม  1  คนปีการศึกษา  2551 ( ทุนจาก ศอ.บต. ระดับ ม.1 -  ม.6 )
3) โรงเรียนได้รับคัดเลือกจากสพฐ. ให้สถานีโทรทัศน์ช่อง 11  จัดทำการจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้สื่อมัลติมีเดีย(ใช้โปรแกรม Power piont)  ซึ่ง   ได้ดำเนินการถ่ายทำเมื่อ  25  พฤษภาคม 2552  (ปีการศึกษา 2551)
4)    ความสำเร็จของนักเรียน
8 ม.ค. 2552 ชนะเลิศประกวดร้องเพลงลูกทุ่งหญิง / ชายวันเด็ก โรงเรียนในกลุ่มนานาค
8 ม.ค. 2552 รองชนะเลิศประกวดร้องเพลงสตริงหญิง วันเด็ก โรงเรียนในกลุ่มนานาค
22 ม.ค.2552 ชนะเลิศร้องเพลงอานาซิส ณ รร.จริยธรรมอิสลาม โรงเรียนใน สพท.นธ.๒
22 ก.ค. 2552 ชนะเลิศ กีฬาสัมพันธ์ 3  โรงเรียน โรงเรียนในกลุ่มนานาค
11  ก.ย.2552 ชนะเลิศ โรงเรียนคู่ขนานตาดีกาดีเด่น ระดับสพท.นธ.2 สพท.นธ. 2  29 ก.ย.2552 นักเรียนชนะเลิศเล่านิทานภาษาอังกฤษ
( Storty Telling) ระดับศูนย์เครือข่าย   อ.ตากใบ
สรุปบทเรียนที่ได้
           1) ผู้เรียนมีการสรุปองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น 
           2) ผู้เรียนร่วมมือ  โดยพลังร่วมสร้างความภาคภูมิใจให้ทุกคน
           2) ผู้เรียนมีความมุ่งมั่น  และความตระหนักในหน้าที่รับผิดชอบ
ประโยชน์ที่ได้รับ
           1) ที่เกิดกับตนเอง
              ผู้เรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน  มีความกระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น  พร้อมทำกิจกรรมที่จัดให้อย่างจริงจัง ไม่ปฏิเสธงานรับผิดชอบ
           2) แนวทางการพัฒนาผู้เรียน
               ส่งเสริมการปฏิบัติจริง    ประกอบด้วยทีมทำ    ทีมนำ  โดยหาผู้นำ  ผู้ตามที่ดี  และเสนอแนวทางการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้   ในรูปแบบ การพูดเสียงตามสาย  การร้องเพลง  การเล่านิทาน   การเล่านิทาน เป็นต้น   การทำอะไรที่ซ้ำซาก  บ่อยๆ  จะส่งผลให้มีความชำนาญยิ่งขึ้น  และกล้าแสดงออก  แต่ทุกครั้ง  ที่นักเรียนทำดี  ต้องเสริมแรงด้วยคำชมเชย แสดงอัธยาศัยที่ดีงาม
           3) ผู้สอนตระหนักในหน้าที่รับผิดชอบมากขึ้น  ร่วมกิจกรรมหน้าที่รับผิดชอบอย่างเต็มใจ
           4) การเผยแพร่กับบุคคลอื่นในโรงเรียนเครือข่าย และโรงเรียนใกล้เคียง เป็นแนวทางในการดำเนินให้ก้าวหน้าต่อไปในอนาคต

......................................................................................................................................................................................

รายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน (ชุดที่ ๑ รายโรง )
โครงการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

๑. ชื่อโรงเรียน(เจ้าบ้าน)  โรงเรียนบ้านปะดะดอ  เขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส  เขต ๒ จังหวัดนราธิวาส
๒. ชื่อโรงเรียนผู้มาเยี่ยมเยียน 
       โรงเรียนบ้านสะหริ่ง 
       โรงเรียนวัดสิทธิสารประดิษฐ์
       โรงเรียนเทศบาล  ๓  สุไหงโก-ลก
       โรงเรียนอนุบาลบ้านสมถวิล
       โรงเรียนอิสลามวิทยาทาน
       โรงเรียนนูรุดดิน
๓. วันที่  ๓๐  เดือนกรกฎาคม  พ.ศ. ๒๕๕๒  ที่มาเยี่ยมเยียน
๔. ๑   สภาพทั่วไป  (บรรยายลักษณะสภาพทั่วไปของโรงเรียนเจ้าบ้าน) 
โรงเรียนบ้านปะดะดอตั้งอยู่หมู่ที่  ๓  ตำบล นานาค อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ชั้น อนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีครูและบุคลากรทั้งหมด  ๑๔  คน เป็นชาย ๔ คน หญิง  ๑๐ คน นับถือศาสนาพุทธ  ๔  คน    อิสลาม  ๑๐  คน   นักเรียนทั้งหมด  ๒๑๖  คน  เป็นชาย  ๑๐๑   คน   หญิง    ๑๑๕    คน อนุบาล  ๕๑  คน   ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๑-๖  จำนวน  ๑๖๕ คน  นับถือศาสนาอิสลาม ๑๐๐%
              ในปีการศึกษา ๒๕๔๙ ผลการสอบ NT  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖  ดังนี้  ภาษาไทย  ๔๗.๖๗  %คณิตศาสตร์  ๔๖.๐๐  % วิทยาศาสตร์  ๓๑.๘๓%   ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) 47๔๗.๗%ในปีการศึกษา ๒๕๔๙  โรงเรียนบ้านปะดะดอ ก็ประสบปัญหาดังกล่าวเช่นกัน กล่าวคือในข้อมูลของการสอบ NT  ปีการศึกษา ๒๕๔๙ ในวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ ๔๗.๖๗ ( สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต ๒,๒๕๔๙ ) และปีการศึกษา  2550 เมื่อมีการปรับเปลี่ยนครูบุคลากรผลการสอบ NT  ปีการศึกษา ๒๕๕๐  เฉลี่ยยังลดลงคิดเป็นร้อยละ ๒๕ โรงเรียนจึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่มีคุณภาพ โดยใช้เทคนิคการจัดการความรู้นักเรียนเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  จำนวน  ๒๔ คน มีอัตราการเรียนต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ โดยเรียนต่อในโรงเรียนของรัฐ  จำนวน  ๕  คน  คิดเป็นร้อยละ   ๒๐.๘๓  เรียนต่อโรงเรียนเอกชน ๗  คน  คิดเป็นร้อยละ  ๒๙.๑๗    เรียนต่อโรงเรียนปอเนาะ  ๑๐  คน  คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๖๗  มีพื้นฐานความรู้อ่อนมาก ความก้าวร้าวและทะเลาะวิวาทน้อย การเล่นการพนันน้อยชู้สาวไม่มี  ความไม่มีวินัย/ไม่รับผิดชอบปานกลาง กินหล้าสูบบุหรี่ไม่มี หนีเรียน เล็กน้อย  การเบี่ยงเบนทางเพศไม่มีนอกจากนี้ยังมีปัญหาอื่นๆที่เห็นว่าสำคัญและผลต่อการพัฒนาการเรียนคือการไม่เห็นความสำคัญของการเรียนขาดความสนใจ ตั้งใจในการเรียนไม่มีจุดมุ่งหมายในการเรียน มีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เรียน  การขาดเรียนบ่อยๆ
                    ครูประจำการ  ๖ คน พนักงานราชการ ๖  คน   วิทยากรสอนอิสลามศึกษา ๑ คน  นักการภารโรง ๑  คน  มีครูช่วยราชการ ๓ คนไม่มีครูย้ายเข้าย้ายออก ครูที่ต้องการเพิ่มตามกลุ่มสาระมีดังนี้คือ ภาษาไทย  คอมพิวเตอร์
                  โรงเรียนมีสื่อ คอมพิวเตอร์ จำนวน  ๓ เครื่อง ที่ใช้เฉพาะการเรียนการสอนยังไม่มีเป็นทางการ มีโทรศัพท์เพื่อใช้ติดต่อราชการจำนวน  ๑ หมายเลข มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูงจำนวน ๑ เครื่อง และเชื่อมต่อโทรศัพท์พื้นฐานจำนวน ๑ เครื่อง ปัจจุบันการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่ยังต้องเสียค่าใช้จ่ายค่าโทรศัพท์พื้นฐาน ซึ่งเป็นอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนเพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน
แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยโดยทั่วไป  สอนให้นักเรียนรู้จักสระ พยัญชนะ
สอนการแจกลูกคำ  อ่านคำและรู้ความหมายของคำโดยใช้สื่อ  อ่านเนื้อเรื่องที่กำหนดให้  ตอบคำถามจากเรื่องโดยตอบปากเปล่า  เขียนตามคำบอก  แต่งประโยค  แต่งเรื่องใหม่โดยนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน  ประเมินผลผ่านหรือไม่ผ่าน  สรุป นำกลับไปทำซ้ำ ถ้าไม่สำเร็จ
               ปัญหาสำคัญของผู้บริหารในการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการสอนภาษาไทย
ครูไม่เปลี่ยนพฤติกรรมการสอน  ยังใช้วิธีการสอนไม่หลากหลาย  ครูผู้สอนไม่ได้จบเอกภาษาไทยสื่อ  อุปกรณ์ ไม่เพียงพอ และไม่นำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้เท่าที่ควรโรงเรียนมีสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษาปานกลางสื่อที่โรงเรียนใช้เพื่อใช้ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษา เรียงตามลำดับการใช้งานดังนี้  แบบเรียน  แบบฝึกหัด  แบบฝึก  หนังสือภาพ หนังสืออ่านประกอบ  บัตรคำ บัตรภาพ  ซีดีรอม  ซีดี ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนโดยรวม โรงเรียนมีปัญหาอยู่บ้างได้แก่  การวางแผนการพัฒนาหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ เนื่องจากหลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยทำให้ขาดความมั่นใจในการใช้และพัฒนา
 ปัญหาการจัดการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายประการ ได้แก่ การขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา  กล่าวคือ จากการที่ครูและบุคลากรทางการศึกษาย้ายออกจากพื้นที่จำนวนมาก ทำให้ทางโรงเรียนมีครูอัตราจ้างสอนเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลต่อปัญหาคุณภาพครูผู้สอนปัญหาการบริหารจัดการและคุณภาพการศึกษา  แม้ว่าจะมีการจัดสรรอัตรากำลังให้โรงเรียนเพิ่มขึ้น แต่โรงเรียนส่วนใหญ่ก็ยังประสบปัญหาการขาดแคลนทั้งครูเชิงคุณภาพโดยเฉพาะการสอนภาษาไทยที่เป็นภาษาพื้นฐาน  ซึ่งขาดแคลนทั้งครูชำนาญการและครูที่มีความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้เรียน เช่นครูที่สอนภาษาไทยไม่ชำนาญในการใช้ภาษามาลายูถิ่น  ส่วนครูที่ใช้ภาษามาลายูถิ่นจะไม่ชำนาญในการใช้ภาษาไทย  และปัญหาข้อจำกัดในการใช้ภาษาไทยของชาวมุสลิม  โดยเฉพาะการอ่านออกเขียนได้  เป็นอุปสรรคต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเกือบทุกวิชา  นอกจากนี้ ยังมีปัญหาความซ้ำซ้อนในการศึกษาคือด้วยบริบทของชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ชาวไทยมุสลิมต้องการให้นักเรียนให้นักเรียนเรียนรู้และมีวิถีการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนาอิสลาม  ทำให้นักเรียนไทยมุสลิมต้องให้เวลากับการเรียนมากกว่าปกติเพื่อให้ได้รับความรู้และทักษะประสบการที่สามารถตอบสนองต่อการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนา  ส่งผลให้นักเรียนต้องเรียนหนังสือมากกว่าปกติ  เฉลี่ยแล้วเด็ก 1 คน จะต้องเรียนวิชาศาสนาไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ แม้ว่านักเรียนจะเรียนวิชาศาสนามาแล้วจากโรงเรียนของรัฐแต่ผู้ปกครองก็มักให้บุตรหลานเรียนศาสนาในตาดีกาหรือสถาบันปอเนาะควบคู่ไปด้วยนักเรียนจึงเรียนซ้ำซ้อนทั้งในเวลาปกติที่โรงเรียนของรัฐและตอนบ่ายหรือเสาร์อาทิตย์ในตาดีกาหรือปอเนาะ  เมื่อนักเรียนไปเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามต้องเรียนซ้ำซ้อนอีกเป็น
ครั้งที่ ๓  การใช้เวลาเรียนที่มากกว่าปกติมีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์วิชาสามัญของนักเรียนในภาพรวมทั้งหมด
๔.๒ ข้อมูลพื้นฐาน
          ๔.๒.๑ ระดับการศึกษาที่เปิดสอน  ระดับอนุบาล ( อ ๑- อ ๒ )
                      ระดับประถมศึกษา  ( ป.๑- ป.๖ )
         ๔.๒.๒  จำนวนนักเรียนปีการศึกษา  ๒๕๕๑  และ  ๒๕๕๒
ชั้น จำนวนนักเรียนในบัญชีเรียกชื่อ
เรียกชื่อ
 ชาย หญิง รวม
อนุบาล  ๑ ๑๒ ๑๓ ๒๕
อนุบาล  ๒ ๑๓ ๑๓ ๒๖
รวมระดับก่อนประถมศึกษา ๒๕ ๒๖ ๕๑
ประถมศึกษาปีที่  ๑ ๑๒ ๑๓ ๒๕
ประถมศึกษาปีที่  ๒ ๙ ๑๖ ๒๕
ประถมศึกษาปีที่  ๓ ๑๕ ๑๓ ๒๘
ประถมศึกษาปีที่  ๔ ๑๒ ๑๔ ๒๖
ประถมศึกษาปีที่  ๕ ๑๒ ๑๕ ๒๗
ประถมศึกษาปีที่  ๖ ๑๖ ๑๘ ๓๔
รวมระดับประถมศึกษา ๗๖ ๘๙ ๑๖๕
รวมทั้งสิ้น ๑๐๑ ๑๑๕ ๒๑๖
  
               


จำนวนนักเรียนปีการศึกษา  ๒๕๕๒  จำนวน   ๒๑๐  คน
ชั้น จำนวนนักเรียนในบัญชีเรียกชื่อ
เรียกชื่อ
 ชาย หญิง รวม
อนุบาล  ๑ ๑๑ ๑๖ ๒๗
อนุบาล  ๒ ๑๒ ๑๓ ๒๕
รวมระดับก่อนประถมศึกษา ๒๓ ๒๙ ๕๒
ประถมศึกษาปีที่  ๑ ๑๖ ๑๔ ๓๐
ประถมศึกษาปีที่  ๒ ๑๐ ๑๑ ๒๑
ประถมศึกษาปีที่  ๓ ๑๐ ๑๕ ๒๕
ประถมศึกษาปีที่  ๔ ๑๕ ๑๒ ๒๗
ประถมศึกษาปีที่  ๕ ๑๓ ๑๔ ๒๗
ประถมศึกษาปีที่  ๖ ๑๓ ๑๕ ๒๘
รวมระดับประถมศึกษา ๗๗ ๘๕ ๑๕๘
รวมทั้งสิ้น ๑๐๐ ๑๑๐ ๒๑๐

          ๔.๒.๓  จำนวนครู  ปีการศึกษา  ๒๕๕๑  และ  ๒๕๕๒
                       จำนวนครู  ปีการศึกษา  ๒๕๕๑  จำนวน  ๑๓  คน 
ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง/ระดับ   อายุ วิชาเอก
   ตัว ราชการ 
๑ นางลำดวน  บัวหอม ผู้อำนวยการระดับ  ๔๙ ๒๖ ศษ.ม/การบริหารการศึกษา
๒ นางสาวเนตรนภา  นอสืบ ครู  ๓๓ ๕ คบ./ภาษาอังกฤษ
๓ นายปาต๊ะ  ปะจูสะลา ครู ๓๐ ๔ คบ./คณิตศาสตร์
๔ นางฐปนี  ธนาวุฒิ ครู ๓๙ ๔ คบ./ภาษาไทย
๕ นางสาวฆอบีเราะห์  ดอฮะ ครู ๒๖ ๔ คบ./การศึกษาปฐมวัย
๖ นางสุทธิรัตน์   ชมภูประเภท ครูผู้ช่วย ๓๑ ๑ ปี ๘ เดือน คบ./วิทยาศาสตร์ทั่วไป
๗ นายสังวาล  บุญหนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๕ คบ./พลศึกษา
๘ นางสาวสุธีมนต์  ทองเอียด พนักงานราชการ ๓๑ ๔ คบ./ศิลปศึกษา
๙ นางสาวสีตีนาสรา  สือนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./การปฐมศึกษา
๑๐ นางสาวสารีป๊ะ  ปิตาราโซ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./สังคมศึกษา
๑๑ นางสาวโสภนา  ณ  รังษี พนักงานราชการ ๒๙ ๔ คบ./สังคมศึกษา
๑๒ นางมายีลา  สูหลง พนักงานราชการ ๒๘ ๔ คบ./ธุรกิจศึกษา
๑๓ นายเจ๊ะเต๊ะ  อาแว ลูกจ้างประจำ ๕๙ ๒๘ -

                       จำนวนครู  ปีการศึกษา  ๒๕๕๒ จำนวน  ๑๔  คน 
ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง/ระดับ   อายุ วิชาเอก
   ตัว ราชการ 
๑ นางลำดวน  บัวหอม ผู้อำนวยการระดับ  ๔๙ ๒๖ ศษ.ม/การบริหารการศึกษา
๒ นางสาวเนตรนภา  นอสืบ ครู  ๓๓ ๕ คบ./ภาษาอังกฤษ
๓ นายปาต๊ะ  ปะจูสะลา ครู ๓๐ ๔ คบ./คณิตศาสตร์
๔ นางฐปนี  ธนาวุฒิ ครู ๓๙ ๔ คบ./ภาษาไทย
๕ นางสาวฆอบีเราะห์  ดอฮะ ครู ๒๖ ๔ คบ./การศึกษาปฐมวัย
๖ นางสุทธิรัตน์   ชมภูประเภท ครูผู้ช่วย ๓๑ ๑ ปี ๘ เดือน คบ./วิทยาศาสตร์ทั่วไป
๗ นายสังวาล  บุญหนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๕ คบ./พลศึกษา
๘ นางสาวสุธีมนต์  ทองเอียด พนักงานราชการ ๓๑ ๔ คบ./ศิลปศึกษา
๙ นางสาวสีตีนาสรา  สือนิ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./การปฐมศึกษา
๑๐ นางสาวสารีป๊ะ  ปิตาราโซ พนักงานราชการ ๒๙ ๓ คบ./สังคมศึกษา
๑๑ นางสาวโสภนา  ณ  รังษี พนักงานราชการ ๒๙ ๔ คบ./สังคมศึกษา
๑๒ นางมายีลา  สูหลง พนักงานราชการ ๒๘ ๔ คบ./ธุรกิจศึกษา
๑๓ นายเจ๊ะเต๊ะ  อาแว ลูกจ้างประจำ ๕๙ ๒๘ -
๑๔ นางสาวธาริกา  กุกามา ครู ๒๖ ๓ วท.บ. ชีววิทยาประยุกต์

          ๔.๓  ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกโดย  สมศ. ( ระบุแต่ละมาตรฐานโดยใส่เป็นตัวเลขและข้อเสนอแนะโดยสรุป )

โรงเรียนนี้มีครูที่ดำเนินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจำนวนกี่คนและครูเหล่านั้นมีการวิธีดำเนินการอย่างไร
ครูทุกคนดำเนินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยมีวิธีการดำเนินการดังนี้
ด้านวิธีการสอน  แบ่งเป็น  ๓  ด้าน
  -   สอนในชั้นเรียน
  -   สอนซ่อมเสริม
  -   กิจกรรมการเรียนการสอน
 ๑.  สอนในชั้นเรียน
  ๑.๑.๑   สอนสะกดคำ
   -  รู้จักรูปและเสียงของพยัญชนะ  สระ  และวรรณยุกต์
   -  ฝึกแจกแจงลูกประสมคำ 
   -  สะกดคำ   อ่านคำ  และเขียนตามคำบอก 
   -  ฝึกเขียนประโยคสั้นๆ
  ๑.๑.๒   ฝึกการใช้ภาษา ( ฟัง  พูด  อ่าน  เขียน )
   -  ใช้หนังสือเรียน  เกม  นิทาน  เพลง 
   -  ทบทวนคำเก่า  สอนคำใหม่ในบทเรียน 
   -  ฝึกอ่านออกเสียง
   -  สนทนา  ซักถาม   เล่าเรื่อง 
   -  แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียน
  ๑.๑.๓ พัฒนาทักษะการอ่านรายกลุ่ม
   -  รายกลุ่ม  รายบุคคล  ( นักเรียนเลือกอ่านข้อความสั้นๆ  บันทึกและนำเสนอผลงาน )
๒.  สอนซ่อมเสริม
   -  ครูเลือกใช้วิธีการสอน  โดยเน้นกิจกรรมเสริมนอกเวลาเรียนและสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียน ( โดยวิธีการคัดแยกนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ  กลุ่มอ่อน  กลุ่มปานกลาง  กลุ่มเก่ง  )  ทั้ง 2  ช่วงชั้น
 ๓ .   กิจกรรมการเรียนการสอน
  -  กิจกรรมหน้าเสาธง   ภาษาไทย  ภาษาอังกฤษ และภาษามลายูวันละคำ  (  โดยนักเรียนจะรวบรวมคำศัพท์ในแต่ละวันนำมาจัดทำเป็นรูปเล่ม )
  -  กิจกรรมท่องจำบทอาขยาน  พยัญชนะ  สระ  และอื่นๆ 
  -  กิจกรรมอ่านสาระน่ารู้ในช่วงพักกลางวัน  (  โดยนักเรียนจะเป็นผู้ค้นคว้าหาเกร็ดความรู้เพื่อนำมาเสนอแก่เพื่อนๆด้วยตนเอง  )  ผู้รับผิดชอบนักเรียนชั้น  ป3-ป.6


กิจกรรมการดำเนินงานส่งเสริมการอ่าน
  ๑. จัดกรรมเสียงตามสาย  มีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน  มีนิสัยรักการอ่าน  โดยให้นักเรียนจัดกิจกรรมเสียงตามสายตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันพฤหัสบดี ในช่วงเวลา  ๑๒.๒๐-๑๒.๓๐ น. โดยการนำเรื่องราวต่างๆที่น่าสนใจมาอ่านให้เพื่อนๆฟังแล้วถามคำถามและตอบคำถามในเนื้อหาที่อ่าน  นักเรียนจะเป็นฝ่ายหาบทความเรื่องราวต่างๆครูคอยช่วยเสนอแนะคำศัพท์จากที่นักเรียนอ่านไม่ออก 
   ๒. กิจกรรมอ่านภาษาไทย  ภาษามลายู  อังกฤษวันละคำ  มีเป้าหมายคือต้องการให้นักเรียนอ่านภาษาไทย  ภาษามลายู  อังกฤษวันละคำ  ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้ได้ความรู้ทั้ง 3  ภาษา 
๖. การดำเนินการจัดกลุ่มเสวนาด้วยกระบวนการ  KM  เพื่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ
คัญของโรงเรียนมีวิธีดำเนินการอย่างไร
 แสวงหาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
 สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโดยการเรียนรู้จากครูและบุคลากรในโรงเรียนปะดะดอ  อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส  ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้
-  สอนแบบตัวต่อตัว
- ใช้ชุดฝึกอ่านสะกดคำ
- เขียนตามคำบอก
- คัด  แยกนักเรียนที่มีความสามารถระดับเดียวกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
- ให้การเสริมแรงทุกครั้งที่นักเรียนทำได้ดีและมีการให้กำลังใจแก่นักเรียนได้ปรับแก้ไขครั้งต่อไป
- ให้คะแนนครั้งละมากๆ
- จัดกิจกรรมการเรียนการสอน  โดยมีเกม  นิทาน  เพลง  สอดแทรกในเนื้อหา 
- จัดกิจกรรมแสดงบทบาทสมมติในเรื่องราวที่ครูกำหนด
แสวงการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best  practice ) ในการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
การจัดเวลาเรียน
-  กิจกรรมหน้าเสาธงมีการ อ่านภาษาไทย-มลายู วันละคำ
-  ช่วงเช้ามีการท่องจำ บทอาขยาน   พยัญชนะ  ก-ฮ    สระ  และอื่นๆ
-  เรียนภาษาไทยเรียนในช่วงเช้า  ช่วงชั้นที่1    สัปดาห์ละ  6  คาบ   ช่วงชั้นที่  2    สัปดาห์ละ  5  คาบ   (คาบละ  50  นาที)
-  เสียงตามสาย   หลังจากพักรับประทานอาหารเสร็จแล้ว
-  สอนซ่อมเสริมหลังชั่วโมงเรียน
การจัดครูเข้าสอน
- จัดครูสอนภาษาไทยที่มีประสบการณ์คอยแนะนำเป็นพี่เลี้ยง
-  จัดครูเข้าสอนแบบทีม อาจใช้ครูภาษาไทยร่วมสอนสอนกับครูสาระอื่น
การจัดชั้นเรียน
-   จัดแยกชั้นตั้งแต่  ป.1-6  ชั้นละ 1 ห้อง
-  จัดกลุ่มนักเรียนโดยแบ่งกลุ่มการสอนปะปนกันทั้งอ่อน  ปลานกลาง   เก่ง 
-  จัดให้มีการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน
การจัดหน่วยการเรียนรู้
- มีการวางแผนการจัดการความรู้ร่วมกันระหว่างครูผู้สอนกับหัวหน้าวิชาการหรือผู้บริหาร จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการเรียนรู้ที่เป็นหน่วย
-  ให้ครูผู้สอนบันทึกผลการสอนหลังการสอนทุกรั้ง
เมื่อเรียนจบในแต่ละสัปดาห์ให้ครูผู้สอนร่วมกับหัวหน้าวิชาการหรือผู้บริหารได้  วิเคราะห์  วิพากษ์   สรุปผล เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป
๖.๑ รูปแบบหรือลักษณะการจัดเช่น  จัดเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวนกี่กลุ่ม  มีครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวนกี่คน  มีการจัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำนวนกี่ครั้งเป็นต้น
          จัดเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวน  ๘  กลุ่มสาระการเรียนรู้  จำนวน  ๒  ครั้งต่อสัปดาห์
๖.๒ เนื้อหาสาระการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( เรื่องอะไร  ทำกับใคร  ทำอย่างไร  ทำไมถึงทำ  ทำที่ไหน )
เรื่องรูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเพื่อให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้โดยเน้นด้านผู้บริหาร  ด้านครู  ด้านนักเรียน  ด้านผู้ปกครอง   และเน้นกิจกรรมการเรียนการสอนดังนี้
  -   สอนในชั้นเรียน
  -   สอนซ่อมเสริม
  -   กิจกรรมเสริมการเรียนการสอน
๖.๓   ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินจัดกลุ่มเสวนา
- ครูสามารถนำผลรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปใช้ในแนวทางเดียวกันเพื่อมุ่งผลสูงสุดให้เกิดกับผู้เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ตามโมเดลที่กำหนดร่วมกัน
 - ครูมีการปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน
 - ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
 - ครูเข้าใจถึงสภาพปัญหาของนักเรียนอย่างแท้จริงแล้วนำมาคิดหาวิธีการดำเนินการแก้ไขโดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับสภาพของนักเรียน
 - ครูมีการผลิตสื่อที่เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน

๖.๔  ข้อมูลอื่นๆ ที่น่าสนใจหรือข้อสังเกตที่เป็นประโยชน์
จากการ  KM
-  ทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม และกล้าแสดงออกมากขึ้น
 -  นักเรียนมีความสนุกสนานในการเรียนมากขึ้น
 -  ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนมีการโต้ตอบกับผู้สอนมากขึ้น
 -  ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เป็นกระบวนการมากขึ้น
 -  ครูมีความเป็นกันเองกับนักเรียน
๗.  ผู้บริหารให้การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการจัดกลุ่มเสวนา (  ตามข้อ  ๕  )  เพื่อจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผู้บริหารให้การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการจัดกลุ่มเสวนาโดยการ
- ประชุมครูเพื่อรับทราบถึงสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยเพื่อระดมความคิดที่จะแก้ไขสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยที่ประสบมาในขณะนั้น
- สนับสนุนงบประมาณ
- สนับสนุนด้านสื่อการจัดการเรียนรู้
- มีการติดตามนิเทศทุกสัปดาห์
- ให้บริการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาภาษาไทย
- ผู้บริหารไม่จำกัดรูแบบในการจัดการเรียนการสอน  เปิดโอกาสให้ครูดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนและคอยติดตามนิเทศวิธีการสอนที่เหมาะสมให้แก่ครู
- สร้างความตระหนักให้ครู  และบุคลากรทุกคนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของวิชาภาษาไทยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ให้การส่งเสริม  สนับสนุนครูและบุคลากรเข้ารับการอบรม  สัมมนา  ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย 
- ปลูกฝังให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของภาษาไทยโดยเน้นกิจกรรม  ทักษะด้านภาษาไทย
- จัดการประชุมกับผู้ปกครองโดยให้ครูประจำชั้นพบปะผู้ปกครองเพื่อรับทราบสภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละคน
- ให้ครูมีการแจ้งผลการเรียนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

 

๘.  ผลการเยี่ยมเยียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มเครือข่าย  (  เล่าบรรยากาศ   วิธีรวมกลุ่ม  ระยะทางการเดินทาง  ผลที่ได้รับและข้อสังเกตอื่นๆเป็นต้น  )
 กลุ่มเครือข่ายจำนวน  ๗  โรง  ให้การต้อนรับเป็นอย่างดีมีความเป็นกันเอง  จัดเตรียมเอกสารข้อ
มูล  ผลงาน นักเรียน  ครู  จัดบอร์ดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ศึกษาหาความรู้
 วิธีรวมกลุ่มจัดให้ออกเยี่ยมโรงเรียนแต่ละโรงๆละ  ๓  คน  โดยเน้นที่ครูสอนวิชาภาษาไทยออกเยี่ยมโรงเรียนแล้วเสวนากันถึงสภาพปัญหาและวิธีการจัดการของแต่ละโรงที่จะนำมาแก้ไขปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน
 ระยะทางในการเดินทางไม่ไกลจากโรงเรียนมากนักใช้เวลาเดินทาง  ๒๐- ๓๐ นาที เป็นอย่างช้า
ผลที่ได้รับ
ครูได้รับทราบถึงสภาพปัญหาแล้วนำมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ครูได้รับทราบถึงการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ครูนำวิธีการสอนมาปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของโรงเรียนตนเอง
มีการสร้างเครือข่ายในการดำเนินงานที่เข้มแข็งมากขึ้นสามารถร่วมงานและปรึกษาหารือเกี่ยวกับการทำงานในด้านต่างๆ ได้
ครูมีจุดมุ่งหมาย   เพื่อผลผลสัมฤทธิ์สู่ผู้เรียนไปในทิศทางเดียวกัน
ข้อสังเกตอื่นๆ เป็นต้น
ความมุ่งมั่น  ของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้บริหารให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นสำคัญและมุ่งผลประโยชน์ที่จะเกิดกับผู้เรียนให้มากที่สุด
นักเรียนมีพฤติกรรมกล้าแสดงออกโดยการทักทายพูดคุยและสัมมาคารวะ
มีการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของโรงเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
มีผลงานครูและนักเรียนที่ปรากฏเด่นชัดขึ้นสามารถนำมาผลิตสื่อในการจัดการเรียนรู้

                                                                        
                                                                                                                               

 

รายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงเรียน (ชุดที่ ๑ รายโรง )
โครงการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

 

 

โรงเรียนบ้านปะดะดอ
หมู่ ๓  ตำบลนานาค
อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส

 


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส    เขต  ๒
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 

แบบบันทึกการดำเนินงาน
โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อปฏิรูปการศึกษา   3   จังหวัดชายแดนภาคใต้
............................................................................................
1.  ชื่อเรื่อง    การแก้ปัญหาการเขียนศัพท์ภาษาอังกฤษอ่อน
 -  ระบุความสำคัญของเรื่อง
 ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดแผนงานการพัฒนาการอ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อให้นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ( ป.4-6 ) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสอบ O-Net และพัฒนาการศึกาให้ดีขึ้นกว่าเดิมถึงดีขึ้นจะสังเกตว่านักเรียนยังอ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมากเป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งในการเรียนแม้ว่าจะไม่ทัดเทียมเท่ากับจังหวัดอื่นๆ

จากผลการสอบ  O-Net,  Las  ,Nt  ซึ่งมีผลคะแนนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด  ภาษาอังกฤษนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้คำศัพท์โดยเบื้องต้นเพื่อนำมาใช้ในทักษะ  ฟัง  พูด  อ่าน  เขียน  ซึ่งจะพบว่านักเรียนจำคำพูด  โดยไม่ทราบว่าคำศัพท์เหล่านั้นเขียนว่าอย่างไร 

 ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาวิธีแก้ไขในการที่จะเรียนรู้คำศัพท์ให้ได้มากขึ้น

 -  แนวทางในการพัฒนา
 1.  ร่วมกันวางแผนจัดการเรียนการสอน
 2.  นิเทศการสอน
 3.  การสอนซ่อมเสริม
 4 .  ร่วมกันหาวิธีการแก้ไขเมื่อพบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน

2.  บทนำ
 -  แนะนำตนเอง  ตำแหน่ง  ประวัติการศึกษา  มากขึ้นและความสำเร็จในอดีต
 ชื่อ     นางสาวเนตรนภา    นอสืบ 
ลำดับที่ สถานศึกษา อำเภอ จังหวัด ตั้งแต่-  ( เดือน  ปี ) วุฒิที่ได้รับ
1 โรงเรียนวัดสิทธิสารประดิษฐ์ ตากใบ นราธิวาส พ.ค. 2527 -  มี.ค.  2533  ประกาศนียบัตรการประถมศึกษา   ( ป. 6 )
2 โรงเรียนสุไหงโก-ลก สุไหงโก-ลก นราธิวาส พ.ค. 2533 -  มี.ค.  2539 ประกาศนียบัตรการมัธยมศึกษา   ( ม . 6 )
3 สถาบันราชภัฏยะลา เมือง ยะลา มิ.ย. 2539 -  มี.ค.  2543 คบ. ภาษาอังกฤษ

บรรจุครั้งแรกเป็น  อาจารย์  1  ระดับ  3  เมื่อ  วันทื่  9  เดือนสิงหาคม  พ.ศ.  2547   ณ   โรงเรียนบ้านทุ่งเสือโทน   ตำบล  ชะแล    อำเภอทองผาภูมิ    จังหวัดกาญจนบุรี 
พื้นที่ที่สอนนั้นประชากรเป็นชาวเขา เผ่ากะเหรี่ยง  มีปัญหาในด้านการใช้ภาษา  การอ่านไม่ออก  และเขียนไม่ได้ 
ประวัติการสอน  สอนวิชาภาษาไทยในชั้น 
ชื่อโครงการ                                โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระวิชาภาษาอังกฤษ
แผนงาน                          สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต  พัฒนาคนให้มีความรู้คู่
                                                    คุณธรรมและจริยธรรม
สนองกลยุทธ์   1
หน่วยงานที่รับผิดชอบ  ฝ่ายวิชาการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ  นางสาวเนตรนภา  นอสืบ
ระยะเวลาดำเนินการ  ตลอดปีการศึกษา  2551
     
1. หลักการและเหตุผล
 ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดแผนงานการพัฒนาการอ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อให้นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ( ป.4-6 ) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลสอบ O-Net ดีขึ้นจึงจัดโครงการนี้ขึ้นมา
2. วัตถุประสงค์
 1. เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขให้นักเรียน เขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้  
                    ถูกต้อง
 2. เพื่อให้ครูผู้สอนเกิดกำลังใจและมีความมั่นใจในการสอน
 3. เพื่อเร่งรัดคุณภาพการศึกษาให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
3. เป้าหมาย
 3.1 ด้านปริมาณ
- นักเรียนชั้น ป.4-6
 3.2  ด้านคุณภาพ
- ผลสัมฤทธิ์นักเรียนในกลุ่มสาระภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น

4. ขั้นตอนการดำเนินงาน / กิจกรรม  งบประมาณ....1,600.... บาท
ที่        ขั้นตอนการดำเนินงาน/กิจกรรม งบ
ประมาณ หมวดรายจ่าย ว.ด.ป หมายเหตุ
   ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ  
1 ประชุมครูวางแผนจัดการเรียนการสอน  - - - พ.ค. 51 
2 ประชุมครูเรื่องการนิเทศการสอน - - - - พ.ค. 51 
3 จัดหาสื่อสอนซ่อมเสริม 1,000 - - 1,000 มิ.ย.51 
3 ดำเนินการสอนซ่อมเสริม 500 - - 500 ตลอดปีการศึกษา 
4 ประเมินผล 100 - - 100 มี.ค. 52 
5 สรุปผล - - - - มี.ค. 52 


5. การประเมินผล
ผลผลิตและตังบ่งชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้
1. ด้านปริมาณ
- นักเรียนชั้น ป.4-6


2. ด้านคุณภาพ
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 1. สังเกตสภาพทั่วไป
2. สังเกตการสอน
3. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียน
4. ดูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - แบบทดสอบ

- แบบทดสอบ

6. การรายงานผล

ครั้งที่ 
กิจกรรม ระยะเวลาการรายงาน 
หมายเหตุ
  โรงเรียน สพท.นธ.2 สังกัดอื่นๆ 
1 จัดป้ายนิเทศ มี.ค. 52   
2 สรุปผลการนิเทศการสอน มี.ค. 52   
3 สรุปผลการจัดหาสื่อสอนซ่อมเสริม มี.ค. 52   
4 ประเมินผล มี.ค. 52 มี.ค. 52  
5 สรุปผล มี.ค. 52 มี.ค. 52  

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 6.1  นักเรียนพัฒนาการอ่านเขียนภาษาอังกฤษได้ดีข้น
 6.2  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

             ผู้เสนอโครงการ      ผู้อนุมัติโครงการ


    (นางสาวเนตรนภา  นอสืบ)         (นายประสิทธิ์  วิจิตรโสภา)
      ครูโรงเรียนบ้านปะดะดอ               ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปะดะดอ

 “การเขียนศัพท์ภาษาอังกฤษอ่อน”

ชื่อเรื่อง   การฝึกเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษจากแบบฝึกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สภาพปัญหา
 จากการทดสอบการเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการเล่นเกม พบว่ามีนักเรียนจำนวน  7  คน อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ คือ คะแนน 5-10 แต่ยังมีนักเรียนจำนวน 26 คน อยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง คะแนน 0-4  ผู้สอนพิจารณาแล้วหากไม่จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพิ่มหรือเสริมให้กับนักเรียนกลุ่มนี้  จะส่งผลให้นักเรียนเหล่านี้มีปัญหาในด้านการเขียนคำศัพท์ให้ถูกต้องซึ่งส่งผลต่อการสอบ O-NET เพราะนักเรียนไม่ทราบความหมายของคำศัพท์
ปัญหา
 มีแนวทางใดที่จะช่วยให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 26 คน เขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้ถูกต้อง
เป้าหมาย
 เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ จำนวน 26 คน เขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้ถูกต้อง
วิธีการ
1. สร้างแบบฝึกการเขียนคำศัพท์
2. กำหนดการฝึก คือ ในเวลาเรียนทุกวันติดต่อกัน 2 วัน วันละ 20 นาที
3. สร้างแบบสังเกตพฤติกรรม แบบทดสอบหลังการใช้แบบฝึก แล้วกำหนดเกณฑ์ระดับคุณภาพ
4. เริ่มฝึกจากการให้นักเรียน 26 คน ท่องคำศัพท์ พร้อมกันทุกคน ครูให้นักเรียนสะกดคำศัพท์ทีละคน จำนวน 10 คำ เป็นคำศัพท์ที่ครูกำหนดให้ หลังจากนั้นทำแบบฝึกรวมเวลาฝึกเขียนคำศัพท์เป็นเวลา 2 วัน
5. สังเกตพฤติกรรมนักเรียนขณะทำงานและบันทึกลงในแบบสังเกต
6. ทดสอบนักเรียนด้วยแบบทดสอบเขียนคำศัพท์ตามคำบอก จำนวน 10 คำ และบันทึกผลเพื่อดูความก้าวหน้า
7. สรุปผลการเขียนคำศัพท์โดยใช้แบบฝึก โดยพิจารณาคะแนนการทดสอบเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และพฤติกรรมในการทำงาน
 

...................................................................................................................................................................................... 

รายงานการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนา
การศึกษาเพื่อปฏิรูปการศึกษา
  3 จังหวัดชายแดนใต้เรื่องการศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนประถมในวิชาคอมพิวเตอร์

ผู้วิจัย
นางนิชาภา  บุญเจริญ  

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2552    สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

 

การศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนประถมในวิชาคอมพิวเตอร์
โรงเรียนบ้านปะดะดอ  อ. ตากใบ จ. นราธิวาส
ประวัติส่วนตัว
      ชื่อ – สกุล    นางนิชาภา  บุญเจริญ        ครูโรงเรียนบ้านปะดะดอ
      วันเดือนปีเกิด   วันที่  19    ธันวาคม  2523  
      ภูมิลำเนา/ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 73/31 หมู่ 4 ต. สุคิริน อ. สุคิริน จ. นราธิวาส  96190

ประวัติการศึกษา
1) ประถมศึกษา ร.ร  สุคิริน
2) มัธยมศึกษา  ร.ร สุคิรินวิทยา    
3) อนุปริญญา ( อว.ทบ.  ) คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
4)  ปริญญาตรี   ( ค.บ. )  คอมพิวเตอร์   วิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

ประวัติการรับราชการตั้งแต่ต้น - ปัจจุบัน
     ครูผุ้ช่วยโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ต. นานาค  อ.ตากใบ จ.นราธิวาส                                        
เริ่มบรรจุเมื่อวันที่   6  มกราคม  2553  
1.1 ข้อมูลโรงเรียน
ประวัติสถานศึกษา
             ที่ตั้งโรงเรียนบ้านปะดะดอตั้ง  หมู่ที่ 3  ตำบลนานาค  อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส  รหัสไปรษณีย์  96110 ห่างจากโรงเรียนตากใบ (โรงเรียนแม่ข่าย) ที่ว่าการอำเภอตากใบ  16 กิโลเมตร  และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต  2  (อำเภอสุไหงโก-ลก) ระยะทาง  20  กิโลเมตร 
ที่ดินที่ตั้งโรงเรียน
             ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอมีเนื้อที่ตามหนังสือที่ดินน.ส.3 ก.ทั้งสิ้น4ไร่2งาน 66ตารางวาตั้งในพื้นที่ราบลุ่มทุกปีในฤดูฝนน้ำจะท่วม จึงมีระบบชลประทานเข้ามาจัดการเรื่องน้ำ
 การจัดการเรียนการสอน
 โรงเรียนบ้านปะดะดอโรงเรียนระดับประถมศึกษาเปิดทำการสอนเมื่อวันที่  13  พฤษภาคม  พ.ศ. 2501  โดยกำนัน  เจ๊ะอูมา  โซ๊ะรี  ให้ใช้ที่ดิน  3 งาน  35  ตารางวา  เพื่อสร้างอาคารเรียนโดยความร่วมมือการสร้างการสร้างจากราษฎรโดยมีนายทองเล็ก  เดิมหมวก เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่  เป็นคนแรกและ ปี  พ.ศ. 2505 นายเจ๊ะอูมา โซ๊ะรี กำนันตำบลนานาคพร้อมด้วยราษฎรร่วมกันบริจาคที่ดินแปลงใหม่ 4 ไร่ 66  ตารางวา สร้างอาคารเรียนในที่ใหม่ตรงข้ามที่ดินเดิม
 การจัดการศึกษา
 ปีการศึกษา  2501    เริ่มเปิดทำการสอน
 ปีการศึกษา  2524  เปิดทำการสอน  ชั้นเด็กเล็ก  และชั้นประถมศึกษา
 ปัจจุบันเปิดทำการสอน 2 ระดับ  คือระดับชันอนุบาล  และประถมศึกษา
1.2  ข้อมูลนักเรียน
        ด้านปริมาณ
                           ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ข้อมูลจำนวนนักเรียน  ปี2552
นักเรียนชั้นอนุบาล 1 – ป.6   ชาย  98   คน หญิง  112 คน  รวม 210  คน
1.3 ข้อมูลครูและบุคลากร
                            อัตรากำลังครูและบุคลากรของโรงเรียนบ้านปะดะดอ  ปี2552
 1) ผู้บริหารสถานศึกษา        1        คน
2) ครู                                         7        คน
3) พนักงานราชการ              4        คน
4) ลูกจ้างประจำ                     2        คน
 รวมบุคลากรจำนวนทั้งสิ้น     14     คน

        ปัญหาการเรียนการสอนที่พบสืบเนื่องมาจากสาเหตุดังนี้
1) ปัญหาทางภูมิศาสตร์ ที่ลุ่มน้ำท่วมขังเป็นเวลานานในทุกปีส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ความยากจน  และครอบครัวต้องไปทำงานชายแดนต่างประเทศ   ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
3) ด้านภาษา  การใช้ภาษาถิ่น  มากกว่าภาษาไทย  ส่งผลถึงการอ่านเขียนภาษาไทย
4) ปัญหาด้านความไม่สงบชายแดนภาคใต้ส่งผลให้มีการหยุดเรียน เกิดปัญหาการอ่าน        การเขียน  การพูดภาษาไทย  และการติดต่อสื่อสาร
5) ปัญหาการขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา
6) ปัญหาด้านโรคติดต่อ โดยแมลงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก , โรคชิคุนกุนย่า)
7) ปัญหาการเดินทาง มาปฏิบัติราชการ อยู่ในพื้นที่ สีแดง มีความเสี่ยงสูง (1 ใน 7 โรงเรียน )
8) ปัญหาบุคลากรย้ายเข้าและย้ายออกจำนวนมาก
9) ผู้บริหารสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบ่อย
10) ปัญหาเรื่องน้ำดื่ม  น้ำใช้  น้ำบริโภค (บ่อบาดาลไม่มีน้ำ)

การศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนมัธยมในวิชาคอมพิวเตอร์ความเป็นมาของปัญหาการวิจัย
           จากการที่ได้มีการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ มีจำนวนนักเรียน 27 คน เริ่มเรียนคาบที่ 6 – 7 เรียน 2 ชั่วโมง /สัปดาห์ ซึ่งเป็นวิชาทฤษฎีปฏิบัติ ผู้วิจัยได้ทำการประเมินจากสภาพความเป็นจริงและสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ผลปรากฎว่า นักเรียนขาดความรับผิดชอบในการสนใจที่จะศึกษาในวิชาคอมพิวเตอร์ เนื่องมาจากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์มีไม่เพียงพอกับนักเรียน เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์บางเครื่องจะนั่ง 2 คนเป็นสาเหตุทำให้นักเรียนคุยกันและภายในห้องคอมพิวเตอร์ได้มีการติดตั้งอินเตอร์เน็ต จึงทำให้นักเรียนบางส่วนเปิดเล่นอินเตอร์เน็ตเพื่อที่จะเล่นเกมส์หรือเปิดเล่นเกมส์โดยตรง ทำให้เรียนคำสั่งที่ผู้วิจัยสอนไม่รู้เรื่องและไม่สามารถที่จะทำงานที่ให้ปฏิบัติได้ จึงทำให้นักเรียนกลุ่มดังกล่าวมีคะแนนที่อยู่ในระดับที่ต่ำ จากข้อมูลดังกล่าวจึงเป็นแรงจูงใจให้ผู้วิจัยใช้วิธีการประเมินพฤติกรรมและผลงานของผู้เรียนจุดมุ่งหมายของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาการเล่นเกมส์ของนักเรียนในระหว่างเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ มีจำนวนนักเรียน 27คน วิธีการดำเนินการวิจัย

กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้น ป.6 มีจำนวนนักเรียน 27 คน
เครื่องมือในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย
1. เนื้อหาบทเรียน แบบทดสอบและใบงานจำนวน 7 หน่วย
2. การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติใบงานการรวบรวมข้อมูล
ใช้การสังเกตพฤติกรรมการเรียน ความสนใจระหว่างเรียน การปฏิบัติการใช้คำสั่งและการส่งงาน

1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนแกนมัธยมระดับชั้น ป.6
เรียนในห้องคอม.1ซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด 5 เครื่อง แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดได้มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต พบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์มีไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน ทำให้นักเรียนบางกลุ่มนั่งเรียน 2 คนต่อ 1 เครื่อง จากการสังเกตพบว่ามีนักเรียนอยู่ 3 ประเภท ได้แก่
    1.1 นักเรียนที่มีความสนใจการเรียนระหว่างที่ผู้วิจัยสอน
    1.2 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียน จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
        1.2.1 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียนแต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติได้
        1.2.2 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียนแต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติไม่ได้
    1.3 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์ จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
        1.3.1 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์แต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติได้
        1.3.2 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์แต่ปฏิบัติตามใบงานที่ให้ปฏิบัติไม่ได้
2. จากการประเมินในการเก็บคะแนนจากการส่งใบทดสอบและใบงาน พบว่าหลังจาก
การสอนของผู้วิจัย นักเรียนบางส่วนจะเกิดการเรียนรู้คำสั่งที่ใช้ในวิชาคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเขียนใบงานและใบทดสอบ ส่งในเวลาที่กำหนดในคาบ จากการตรวจใบงานและให้คะแนน สามารถที่จะแบ่งนักเรียนจากนักเรียน 3 กลุ่มในข้อที่ 1 ได้ดังนี้
    2.1 นักเรียนที่มีความสนใจในการเรียน หลังจากผู้วิจัยทำการสอนคำสั่งแล้วให้นักเรียน
ปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดพบว่านักเรียนในกลุ่มดังกล่าวจะมีการส่งใบงานตรงเวลาที่ต้องการ มีความถูกต้องของใบงาน ทำให้นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มนี้จะมีคะแนนในเกณฑ์ดี
    2.2 นักเรียนที่คุยและไม่สนใจเรียน หลังจากผู้วิจัยทำการสอนคำสั่งแล้วให้นักเรียน
ปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดพบว่านักเรียนในกลุ่มดังกล่าวจะมีนักเรียนบางส่วนส่งใบงานตรงเวลาที่กำหนดและอีกบางส่วนส่งใบงานไม่ต้องเวลา ทำให้ใบงานไม่สมบูรณ์ ทำให้ได้คะแนนอยู่ในเกณฑ์พอใช้
    2.3 นักเรียนที่เล่นอินเตอร์เน็ตและเกมส์หลังจากผู้วิจัยทำการสอนคำสั่งแล้วให้นักเรียน
ปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดพบว่านักเรียนในกลุ่มดังกล่าวจะมีนักเรียนบางส่วนปฏิบัติเขียนใบงานที่กำหนดได้ไม่ถูกต้อง และนักเรียนบางส่วนใช้คำสั่งปฏิบัติการเขียนแบบไม่ได้เลย ทำให้นักเรียนในกลุ่มนี้มีคะแนนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ สรุปผลการวิจัย
1. จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนแกนมัธยมระดับชั้น ป.6  สาเหตุที่ทำให้นักเรียนเล่นเกมส์และอินเตอร์เน็ตระหว่างที่สอนเกิดจากสาเหตุ
    1.1 นักเรียนขาดความสนใจและตั้งใจเรียน
    1.2 นักเรียนขาดความพยายามที่จะทำแบบทดสอบ
    1.3 นักเรียนไม่สนใจที่จะฝึกปฏิบัติในการใช้คำสั่งเพื่อที่จะเขียนใบงาน
    1.4 เครื่องคอมพิวเตอร์มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
2. จากการสังเกตการส่งแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน พบว่าคะแนนโดยรวมในการส่งใบทดสอบและใบงานช่วงหน่วยที่ 4 – 5 จะอยู่ในระดับเกณฑ์ที่ดีขึ้นข้อควรเสนอแนะ
1. ควรจะมีการติดตามความประพฤติความตั้งใจในการเรียนและสนใจเรียนของนักเรียนกลุ่มนี้เพิ่มเติม
2. ในเวลาที่สอนไม่ควรให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ 

****************************************************************************************************

 รายงานการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนาการศึกษาเพื่อปฏิรูปการศึกษา  3 จังหวัดชายแดนใต้     นางสาวโสภนา                    รังษีพนักงานราชการโรงเรียนบ้านปะดะดอ     สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านปะดะดอ  อำเภอตากใบ                                            จังหวัดนราธิวาส ประวัติส่วนตัว      ชื่อ สกุล    นางสาวโสภนา        รังษี        พนักงานราชการโรงเรียนปะดะดอ               วันเดือนปีเกิด   วันที่  11    มกราคม   2523        ภูมิลำเนา/ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 164/7 หมู่ 5 ต. ปาเสมัส อ. สุไหงโก-ลก จ. นราธิวาสประวัติการศึกษา1)   ประถมศึกษา                                                 ร.ร.บ้านสุไหงโก-ลก   อ. สุไหงโก-ลก  จ. นราธิวาส2)        มัธยมศึกษาต้น                                          ร. ร.สุไหงโก-ลก   อ. สุไหงโก-ลก  จ. นราธิวาส3)        มัธยมศึกษาปลาย              ร.ร.ศิริราษฎร์สามัคคี   อ. มายอ   จ. นราธิวาส4)        ปริญญาตรี   เอกสังคมศึกษา  ( ค.บ. ) วิทยาลัยราชภัฎยะลา  จ. ยะลาประวัติการรับราชการตั้งแต่ต้น - ปัจจุบัน1)           ครูอัตราจ้างชั่วคราวโรงเรียนบ้านปะดะดอ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส  เริ่มบรรจุเมื่อ  1 ตุลาคม  2548  2)          พนักงานราชการโรงเรียนบ้านปะดะดอ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส  เริ่มบรรจุเมื่อ  1 สิงหาคม  2550 คติในการทำงาน      การกระทำ  พิสูจน์  ค่าของคน 1.1 ข้อมูลโรงเรียนประวัติสถานศึกษา                        ที่ตั้ง                        โรงเรียนบ้านปะดะดอตั้ง  หมู่ที่ 3  ตำบลนานาค  อำเภอตากใบ  จังหวัดนราธิวาส  รหัสไปรษณีย์  96110 ห่างจากโรงเรียนตากใบ (โรงเรียนแม่ข่าย) ที่ว่าการอำเภอตากใบ  16 กิโลเมตร  และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต  2  (อำเภอสุไหงโก-ลก) ระยะทาง  20  กิโลเมตร                ที่ดินที่ตั้งโรงเรียน                            ปัจจุบันโรงเรียนบ้านปะดะดอมีเนื้อที่ตามหนังสือที่ดินน.ส.3 ก.ทั้งสิ้น4ไร่2งาน 66ตารางวาตั้งในพื้นที่ราบลุ่มทุกปีในฤดูฝนน้ำจะท่วม จึงมีระบบชลประทานเข้ามาจัดการเรื่องน้ำ                        การจัดการเรียนการสอน                        โรงเรียนบ้านปะดะดอโรงเรียนระดับประถมศึกษาเปิดทำการสอนเมื่อวันที่  13  พฤษภาคม  พ.ศ. 2501  โดยกำนัน  เจ๊ะอูมา  โซ๊ะรี  ให้ใช้ที่ดิน  3 งาน  35  ตารางวา  เพื่อสร้างอาคารเรียนโดยความร่วมมือการสร้างการสร้างจากราษฎรโดยมีนายทองเล็ก  เดิมหมวก เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่  เป็นคนแรกและ ปี  พ.ศ. 2505 นายเจ๊ะอูมา โซ๊ะรี กำนันตำบลนานาคพร้อมด้วยราษฎรร่วมกันบริจาคที่ดินแปลงใหม่ 4 ไร่ 66  ตารางวา สร้างอาคารเรียนในที่ใหม่ตรงข้ามที่ดินเดิม                         การจัดการศึกษา                        ปีการศึกษา  2501    เริ่มเปิดทำการสอน                        ปีการศึกษา  2524  เปิดทำการสอน  ชั้นเด็กเล็ก  และชั้นประถมศึกษา                        ปัจจุบันเปิดทำการสอน 2 ระดับ  คือระดับชันอนุบาล  และประถมศึกษาข้อมูลพื้นฐาน            ระดับการศึกษาที่เปิดสอน  ระดับอนุบาล ( อ ๑- อ ๒ )                                     ระดับประถมศึกษา  ( ป.๑- ป.๖ )จำนวนนักเรียนปีการศึกษา  ๒๕๕๒  จำนวน   ๒๑๐  คน 

ชั้น จำนวนนักเรียนในบัญชีเรียกชื่อเรียกชื่อ
  ชาย หญิง รวม
อนุบาล  ๑๑ ๑๖ ๒๗
อนุบาล  ๑๒ ๑๓ ๒๕
รวมระดับก่อนประถมศึกษา ๒๓ ๒๙ ๕๒
ประถมศึกษาปีที่  ๑๖ ๑๔ ๓๐
ประถมศึกษาปีที่  ๑๐ ๑๑ ๒๑
ประถมศึกษาปีที่  ๑๐ ๑๕ ๒๕
ประถมศึกษาปีที่  ๑๕ ๑๒ ๒๗
ประถมศึกษาปีที่  ๑๓ ๑๔ ๒๗
ประถมศึกษาปีที่  ๑๓ ๑๕ ๒๘
รวมระดับประถมศึกษา ๗๗ ๘๕ ๑๕๘
รวมทั้งสิ้น ๑๐๐ ๑๑๐ ๒๑๐

  จำนวนครู  ปีการศึกษา  ๒๕๕๒ จำนวน  ๑๔  คน 

ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง/ระดับ                                 อายุ วิชาเอก
ตัว ราชการ
นางลำดวน  บัวหอม ผู้อำนวยการระดับ ๔๙ ๒๖ ศษ.ม/การบริหารการศึกษา
นางสาวเนตรนภา  นอสืบ ครู ๓๓ คบ./ภาษาอังกฤษ
นายปาต๊ะ  ปะจูสะลา ครู ๓๐ คบ./คณิตศาสตร์
นางฐปนี  ธนาวุฒิ ครู ๓๙ คบ./ภาษาไทย
นางสาวฆอบีเราะห์  ดอฮะ ครู ๒๖ คบ./การศึกษาปฐมวัย
นางสุทธิรัตน์   ชมภูประเภท ครูผู้ช่วย ๓๑ ๑ ปี ๘ เดือน คบ./วิทยาศาสตร์ทั่วไป
นายสังวาล  บุญหนิ พนักงานราชการ ๒๙ คบ./พลศึกษา
นางสาวสุธีมนต์  ทองเอียด พนักงานราชการ ๓๑ คบ./ศิลปศึกษา
นางสาวสีตีนาสรา  สือนิ พนักงานราชการ ๒๙ คบ./การปฐมศึกษา
๑๐ นางสาวสารีป๊ะ  ปิตาราโซ พนักงานราชการ ๒๙ คบ./สังคมศึกษา
๑๑ นางสาวโสภนา    รังษี พนักงานราชการ ๒๙ คบ./สังคมศึกษา
๑๒ นางมายีลา  สูหลง พนักงานราชการ ๒๘ คบ./ธุรกิจศึกษา
๑๓ นายเจ๊ะเต๊ะ  อาแว ลูกจ้างประจำ ๕๙ ๒๘ -
๑๔ นางสาวธาริกา  กุกามา ครู ๒๖ วท.บ. ชีววิทยาประยุกต์

ปัญหาการเรียนการสอนที่พบสืบเนื่องมาจากสาเหตุดังนี้1)        ปัญหาทางภูมิศาสตร์ ที่ลุ่มน้ำท่วมขังเป็นเวลานานในทุกปีส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน2)        ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ความยากจน  และครอบครัวต้องไปทำงานชายแดนต่างประเทศ   ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา3)        ด้านภาษา  การใช้ภาษาถิ่น  มากกว่าภาษาไทย  ส่งผลถึงการอ่านเขียนภาษาไทย4)        ปัญหาด้านความไม่สงบชายแดนภาคใต้ส่งผลให้มีการหยุดเรียน เกิดปัญหาการอ่าน        การเขียน  การพูดภาษาไทย  และการติดต่อสื่อสาร5)        ปัญหาการขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา6)        ปัญหาด้านโรคติดต่อ โดยแมลงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก , โรคชิคุนกุนย่า)7)        ปัญหาการเดินทาง มาปฏิบัติราชการ อยู่ในพื้นที่ สีแดง มีความเสี่ยงสูง (1 ใน 7 โรงเรียน )8)        ปัญหาบุคลากรย้ายเข้าและย้ายออกจำนวนมาก9)        ผู้บริหารสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบ่อย10)      ปัญหาเรื่องน้ำดื่ม  น้ำใช้  น้ำบริโภค (บ่อบาดาลไม่มีน้ำ)  แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย  สอนให้นักเรียนรู้จักสระ พยัญชนะสอนการแจกลูกคำ  อ่านคำและรู้ความหมายของคำโดยใช้สื่อ  อ่านเนื้อเรื่องที่กำหนดให้  ตอบคำถามจากเรื่องโดยตอบปากเปล่า  เขียนตามคำบอก  แต่งประโยค  แต่งเรื่องใหม่โดยนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน  ประเมินผลผ่านหรือไม่ผ่าน  สรุป นำกลับไปทำซ้ำ ถ้าไม่สำเร็จ               ปัญหาสำคัญของผู้บริหารในการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการสอนภาษาไทยครูไม่เปลี่ยนพฤติกรรมการสอน  ยังใช้วิธีการสอนไม่หลากหลาย  ครูผู้สอนไม่ได้จบเอกภาษาไทยสื่อ  อุปกรณ์ ไม่เพียงพอ และไม่นำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้เท่าที่ควรโรงเรียนมีสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษาปานกลางสื่อที่โรงเรียนใช้เพื่อใช้ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านภาษา เรียงตามลำดับการใช้งานดังนี้  แบบเรียน  แบบฝึกหัด  แบบฝึก  หนังสือภาพ หนังสืออ่านประกอบ  บัตรคำ บัตรภาพ  ซีดีรอม  ซีดี ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนโดยรวม โรงเรียนมีปัญหาอยู่บ้างได้แก่  การวางแผนการพัฒนาหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ เนื่องจากหลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยทำให้ขาดความมั่นใจในการใช้และพัฒนา                        ปัญหาการจัดการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายประการ ได้แก่ การขาดแคลนครูและบุคลากรทางการศึกษา  กล่าวคือ จากการที่ครูและบุคลากรทางการศึกษาย้ายออกจากพื้นที่จำนวนมาก ทำให้ทางโรงเรียนมีครูอัตราจ้างสอนเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลต่อปัญหาคุณภาพครูผู้สอนปัญหาการบริหารจัดการและคุณภาพการศึกษา  แม้ว่าจะมีการจัดสรรอัตรากำลังให้โรงเรียนเพิ่มขึ้น แต่โรงเรียนส่วนใหญ่ก็ยังประสบปัญหาการขาดแคลนทั้งครูเชิงคุณภาพโดยเฉพาะการสอนภาษาไทยที่เป็นภาษาพื้นฐาน  ซึ่งขาดแคลนทั้งครูชำนาญการและครูที่มีความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้เรียน เช่นครูที่สอนภาษาไทยไม่ชำนาญในการใช้ภาษามาลายูถิ่น  ส่วนครูที่ใช้ภาษามาลายูถิ่นจะไม่ชำนาญในการใช้ภาษาไทย  และปัญหาข้อจำกัดในการใช้ภาษาไทยของชาวมุสลิม  โดยเฉพาะการอ่านออกเขียนได้  เป็นอุปสรรคต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเกือบทุกวิชา  นอกจากนี้ ยังมีปัญหาความซ้ำซ้อนในการศึกษาคือด้วยบริบทของชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ชาวไทยมุสลิมต้องการให้นักเรียนให้นักเรียนเรียนรู้และมีวิถีการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนาอิสลาม  ทำให้นักเรียนไทยมุสลิมต้องให้เวลากับการเรียนมากกว่าปกติเพื่อให้ได้รับความรู้และทักษะประสบการที่สามารถตอบสนองต่อการดำเนินชีวิตตามหลักการศาสนา  ส่งผลให้นักเรียนต้องเรียนหนังสือมากกว่าปกติ  เฉลี่ยแล้วเด็ก 1 คน จะต้องเรียนวิชาศาสนาไม่น้อยกว่า 14 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ แม้ว่านักเรียนจะเรียนวิชาศาสนามาแล้วจากโรงเรียนของรัฐแต่ผู้ปกครองก็มักให้บุตรหลานเรียนศาสนาในตาดีกาหรือสถาบันปอเนาะควบคู่ไปด้วยนักเรียนจึงเรียนซ้ำซ้อนทั้งในเวลาปกติที่โรงเรียนของรัฐและตอนบ่ายหรือเสาร์อาทิตย์ในตาดีกาหรือปอเนาะ  เมื่อนักเรียนไปเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามต้องเรียนซ้ำซ้อนอีกเป็น 

                                                  เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน

 ชื่อผู้วิจัย       นางสาวโสภนา                    รังษี                                 โรงเรียนบ้านปะดะดอสาระการเรียนรู้                  ทักษะภาษาไทย                                         ช่วงชั้น   1ชื่อเรื่อง         การแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของเด็กชายแวอาสุวรรณ  เมาะบากอสภาพปัญหา                       จากการศึกษานักเรียนที่ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยพบว่าเด็กชายแวอาสุวรรณไม่ส่งงานบ่อยที่สุด    จึงนำมาเป็นปัญหาในการวิจัยพบปัญหา คือ1.        นักเรียนไม่เข้าใจในบทเรียน2.        ไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร3.        มีสติปัญญาช้า4.        มีลักษณะนิสัยที่เงียบ และไม่ค่อยพูดจา

ทางเลือกที่คาดว่าจะแก้ปัญหา

1.        จูงใจให้เห็นความสำคัญในการส่งงานในทุกรายวิชา2.        สร้างแรงเสริมให้เด็กชายแวอาสุวรรณมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน3.        ให้เด็กชายแวอาสุวรรณฝึกทักษะในกระบวนการทำงานให้มีความเข้าใจที่ดี4.        พูดคุยกับเด็กชายแวอาสุวรรณ  เสมือนเป็นบุตรของตนเองด้วยความรักและเอาใจใส่

จุดประสงค์การวิจัย

                                                เพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของเด็กชายแวอาสุวรรณ

ระยะเวลาในการดำเนินงาน

                                                ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา   2552

ขั้นตอนการดำเนินงาน

1.        ลักษณะปัญหาเด็กชายแวอาสุวรรณไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยเสมอ  เพราะไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียน และคิดว่าการเขียนเรื่อง   การแต่งประโยคเป็นสิ่งที่ยากมากสำหรับเขามาแต่เดิม  พร้อมทั้งไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร2.        วิธีแก้ไข2.1         ครูเรียกเด็กชายแวอาสุวรรณมาสอบถามและบอกวิธีที่จะร่วมมือกับ ครู  เพื่อพัฒนาตนเองและมีงานส่งตรงเวลา2.2          ครูเรียกเด็กชายแวอาสุวรรณมาพบในท้ายชั่วโมงเรียนและทบทวนเนื้อหาให้เล็กน้อย  พร้อมทั้งชี้แจง อธิบายแบบฝึกหัดให้เข้าใจ2.3          ในชั่วโมงเรียนพิเศษจะพูดคุยกับเด็กชายแวอาสุวรรณ และดูเขาทำ   การบ้านทุกครั้งที่เขามีการบ้าน  และคอยเป็นที่ปรึกษาให้เสมอ แบบบันทึกการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อปฏิรูปการศึกษา   3   จังหวัดชายแดนภาคใต้

ผู้จัดทำ                                  นางสาวโสภนา      รังษี

ชื่อเรื่อง         การแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของเด็กชายแวอาสุวรรณ   เมาะบากอ

ปัญหาและสาเหตุ

                                                การศึกษามีความจำเป็นต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจึงต้องมีการฝึกทักษะ และนำผลงานของตนส่งครูผู้สอนในรายวิชานั้น ๆ   เพื่อตรวจความถูกต้องอันจะนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพให้ดีขึ้นจนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี                                                จากการสอนวิชาภาษาไทยพบว่าเด็กชายแวอาสุวรรณ   เมาะบากอ  นักเรียนชั้นป.1 ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทย เพราะด้วยสาเหตุที่มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทยแต่เดิม จากการสอบถามพบว่าเด็กชายอานันท์ไม่เข้าใจคำในภาษาไทย   เมื่อครูสอนแล้วเกิดความไม่เข้าใจ    ไม่กล้าถามครูผู้สอนจึงปล่อยให้เป็นเช่นนี้เรื่อยมา จนไม่สนใจวิชาภาษาไทย นอกจากนี้ยังไม่ได้รับการดูแล การเอาใจใส่จากผู้ปกครองในเรื่องของการทำการบ้านในรายวิชาอื่นๆ

วัตถุประสงค์

                                                เพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของเด็กชายแวอาสุวรรณ   เมาะบากอ  และการสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย

วิธีดำเนินงานแก้ไข

                                                1.  ครูสนทนากับเด็กชายแวอาสุวรรณ ถามถึงสาเหตุของการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทย พบว่าเด็กชายแวอาสุวรรณมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทยมาแต่เดิม                                                จากการศึกษาพบพื้นฐานของเด็กชายแวอาสุวรรณ   เป็นนักเรียนที่เงียบเฉยไม่พูดจา   เนื่องจากบิดา  มารดา ไม่มีพื้นฐานทางด้านการใช้ภาษาไทย   จึงทำให้ผู้ปกครองไม่ให้ความสนใจต่อการเรียนเท่าที่ควร  ระหว่างที่เรียนอยู่ชั้นป.1 เทอมแรกจะนิ่งเฉยไม่พูดจาเมื่อซักถามจะตอบน้อยมากหรือบางครั้งจะไม่พูดกับครูเลยเมื่อเข้าห้องจะเฉยเมย เหมือนไม่เต็มใจเรียน ทำงานไม่เสร็จ เป็นเหตุให้เกิดความเบื่อหน่าย   ทำให้ไม่อยากเรียนประกอบกับมารดาไม่ได้ตรวจเช็คการบ้านของนักเรียนเป็นประจำ                                                   2. ครูสร้างความเข้าใจและบอกว่าหากไม่เข้าใจบทเรียนไหนให้ถามได้โดยไม่ต้องกลัวถูกว่ากล่าว                                                3. ในชั่วโมงเรียนพบว่าเด็กชายแวอาสุวรรณไม่กล้าถามและไม่มีงานส่งเหมือนเคย                                                4.  หลังเลิกเรียนในแต่ละคาบเรียนของภาษาไทย ครูจะเรียกเด็กชายแวอาสุวรรณมาถามว่าวันนี้มีการบ้านวิชาภาษาไทยหรือไม่ เด็กตอบว่ามี     หรือถามว่าทำแบบฝึกหัดที่ทำในชั่วโมงเรียนเสร็จแล้วหรือยัง เด็กจะตอบว่า ยัง   หรือเฉยไปตอบ ครูให้ลองทำให้ดู พบว่าทำไม่ได้จึงอธิบายให้ฟังอีกครั้งและให้กลับไปทำต่อที่บ้าน                                                5.ทุกวันที่มีการเรียนภาษาไทย จะเรียกให้เด็กชายแวอาสุวรรณมาพบเพื่อทำงานแบบฝึกหัดวิชาภาษาไทย                                                6.หลังจากปฏิบัติข้อ 5 ประมาณ 1-2 สัปดาห์ เด็กชายแวอาสุวรรณกล้าถามครูในชั่วโมงเรียนและมีการบ้านส่ง ทั้งยังสามารถอธิบายให้เพื่อนฟังได้

สรุปผลการดำเนินงาน

                                                จากการดำเนินการแก้ไขปัญหาของเด็กชายแวอาสุวรรณ พบว่าสาเหตุของการไม่ส่งงานเนื่องจากการไม่เข้าใจความหมายของคำ  และไม่กล้าซักถาม จึงมีเจตคติไม่ดีมาก่อน เพราะคิดว่าภาษาไทยเป็นวิชาที่ยาก  เมื่อได้แก้ไขปัญหาโดยครูสร้างความคุ้นเคยให้ถามมั่นใจกับนักเรียนในการเรียนวิชาภาษาไทย  และพร้อมที่จะให้คำปรึกษา  ทั้งด้านการเรียนและปัญหาอื่นๆทำให้เด็กมีความมั่นใจในการเรียนมากขึ้นและพบว่าเด็กชายแวอาสุวรรณมีพัฒนาในการการเรียนดีขึ้นสามารถอธิบายให้เพื่อนๆ ฟังได้  ทุกวันนี้เด็กชายแวอาสุวรรณมีความสนใจและมั่นใจตนเองในการเรียนมากขึ้นจนทำให้ส่งงานวิชาอื่นได้เป็นอย่างดีพอสมควร

ข้อเสนอแนะ

             มีเด็กที่มีปัญหาคล้ายกับปัญญาของเด็กชายแวอาสุวรรณมีอีกหลายคนและหลายวิชา   บางคนไม่ส่งงานทุกวิชาต้องตรวจสอบถึงสาเหตุที่แท้จริงของการไม่ส่งงานว่าเป็นเจตคติที่มีต่อตัวครูหรือเปล่าในขั้นตอนการแก้ไขนั้นต้องขึ้นอยู่กับตัวของครูผู้สอนว่าจะเปิดใจรับปัญหาของเด็กและพร้อมที่จะแก้ไขหรือไม่  และพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาเทคนิควิธีการสอนของครูเองด้วย แบบบันทึกสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

วัน เดือน ปี พฤติกรรมที่สังเกตได้
แนวทางการพัฒนา
พฤติกรรมนร.หลังการพัฒนา
8-12 ..52 7-9 .. 52   12 .. 52   15 .. 52    19-23 ..52   28 .. 52  6 .. 52  9–19 .. 52 ไม่ส่งการบ้านวิชาภาษาไทยสอบถามว่าลืมไม่ส่งการบ้าน  เรียกมาคุยถึงสาเหตุ พบว่าไม่ชอบเรียนวิชาภาษาไทย เพราะคิดว่ายากและเขียนเรื่องราไม่ได้เรียกให้ตอบคำถามในบทเรียน หลังจากเรียนไปสักครู่ ไม่ตอบคำถาม  สอบถามบอกว่าเรียนไม่เข้าใจครูเรียกมาพบในชั่วโมงเรียนพิเศษนักเรียนบอกว่า เข้าใจในบทเรียนและทำเองได้  แต่ก็ทำไม่ได้  จึงทำให้ลองทำแต่ทำไม่ได้ในชั่วโมงเรียนและชั่วโมงเรียนพิเศษ นักเรียนจะเข้ามาคุยด้วยและเริ่มถามการบ้านและถามในวิชาอื่นๆด้วยนักเรียนเริ่มพูดคุยด้วยด้วยและอธิบายการบ้านให้เพื่อนฟังได้ด้วยนักเรียนตอบคำถามในชั่วโมงเรียนได้แต่ไม่คล่องแคล่วนักเรียนส่งตรงเวลา ส่งให้กลับไปทำให้เสร็จ ครูให้แรงเสริมและจะช่วยให้เรียนเข้าใจ  ให้แรงเสริมและอธิบายให้ฟังพร้อมกันทั้งห้อง  ครูอธิบายและให้ทำพร้อมๆกับครู  พร้อมสร้างแรงเสริม  ให้แรงเสริมและพูดคุยกับนักเรียน  ให้ทำงานส่งโดยไม่ต้องควบคุมและอธิบายอีก ถ้าข้อใดยากจะถามให้แรงเสริมในเรื่องของความกล้าแสดงออกครูคอยสังเกตการเปลี่ยน แปลงหลังได้รับการแก้ไข ลอกเพื่อน/ไม่ส่งเลย ตอบรับและพยายามเพิ่มขึ้น   พยายามทำความเข้าใจและเริ่มทำแบบฝึกหัด แต่ยังไม่ได้ผลดีเท่าที่คิดไว้ การบ้านแต่ยังไม่พยายามตั้งใจเมื่อขาดการควบคุมก็ไม่ทำ   ทำเสร็จทันเวลาและส่งการบ้าน/แบบฝึกหัดในหน้ายิ้มแย้ม เริ่มส่งงานมากขึ้นและทำได้ดีมาก ส่งตรงเวลา ส่งงานสม่ำเสมอมากขึ้น

 

***************************************************************************************************


หมายเลขบัญชีธนาคารกรุงไทย ของผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย ฯ

ที่        ชื่อ - สกุล                      บัญชีเลขที่                  ชื่อผลงาน                                                      หมายเหตุ
1. นางลำดวน   บัวหอม       922 – 0 – 11726 – 6         พลังร่วมสร้างคน                                           ธนาคารกรุงไทย
2. น.ส.เนตรนภา  นอสืบ       914 – 0 – 02302 – 8                                                                                                   ธนาคารกรุงไทย
3. นางนิชาภา   บุญเจริญ    914 – 0 – 03663 – 4        การศึกษาการแก้ไขการเล่นเกมส์ของนักเรียนแกนประถมในวิชา คอมพิวเตอร์                                                                                                                                                                                 
                                                                                                                                       ธนาคารกรุงไทย    
                                                                                                                                       สาขาสุไหงโก - ลก 
4. น.ส.โสภนา  ณ  รังษี       914 – 0 – 02302 – 8                                                                      ธนาคารกรุงไทย 
                                                                                                                                       สาขาสุไหงโก - ลก
5. นายวิภาคย์  บกสกุล        922 – 0 – 15351 – 3          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย
6. นางพิมพ์    พรหมพูล        922 – 1 – 19734 – 4          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย
7. น.ส.จรรยา  แสงสุวรรณ    922 – 1 – 14060 – 1          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย
8. นายวันชัย   กรดแก้ว        05360044760–0                อยู่ในเล่ม                                                ธนาคารออมสิน
9. นายไชยยศ  เอียดนุสรณ์   922 – 1 – 05040 – 8          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย
10. นางประทุม  จันทร์แก้ว   922 – 1 – 03192 – 6          อยู่ในเล่ม                                                 ธนาคารกรุงไทย
11. น.ส.อัจฉรา  นุ่นเกลี้ยง   922 –  1 – 19075 – 7         อยู่ในเล่ม                                                  ธนาคารกรุงไทย
    

               

 

 


 

รูปภาพของ nina

ขอบคุณมากค่ะที่นำรายงานขึ้น บล๊อก

อาจารย์น่าจะแยกรายงานแต่ละเรื่องให้อยู่คนละบลอกกันนะค่ะ

เพื่อง่ายต่อการอ่านและคอมเม้นค่ะ 

นินา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 507 คน กำลังออนไลน์