user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('งานที่ต้องส่ง', 'node/57878', '', '18.118.19.67', 0, '2a96c6ad23f1949db204781a27632a84', 124, 1726767533) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.

...............

สมุนไพรเพื่อความงาม

หากพูดถึง “ความงาม” แล้ว คุณผู้หญิงหรือท่านผู้ชายก็คงจะไม่ปฏิเสธว่าเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน และมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าปัจจัยอื่นในการดำรงชีวิต แต่ถ้าเราจะมองกันไปแล้ว “ความงาม” นั้นจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อตัวของเรามีสุขภาพจิตและสุขภาพกายดี ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน โดยปกติสุขภาพจะดีมาก-น้อยเพียงใด ก็ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อม การรับประทานอาหาร และการดำรงชีวิตอย่างปกติสุข เมื่อร่างกายกินได้ ถ่ายคล่อง ผิวพรรณดี และสุขภาพแจ่มใส ” ความงาม” ก็จะบังเกิดขึ้นได้อย่างไม่ต้องสงสัย

สมุนไพรเพื่อความงามสำหรับผิวหน้า
ใบหน้า คือ ด่านแรกที่เป็นเสน่ห์ดึงดูดใจของผู้พบเห็น แต่หลายๆคนกำลังประสบปัญหาผิวหน้าไม่เรียบสวย เพราะเม็ดสิวและรอยแห้งกร้านด้วยจุดด่างดำของกระและฝ้า จนต้องเสียเงินทองมากมายเพื่อเข้าสถานเสริมความงาม หรือหาซื้อยามารักษา จึงอยากแนะนำให้ใช้สมุนไพรพืชผักและผลไม้ที่มีอยู่ทั่วไป แต่มีคุณประโยชน์มากมายทั้งวิตามิน แร่ธาตุ และสารบำรุงผิวธรรมชาติที่ช่วยดูแลผิวพรรณให้ชุ่มชื้นผ่องใสอ่อนไวอยู่เสมอ

1. ว่านหางจระเข้ (Aloe indica Royle)
คุณค่าของว่านหางจระเข้มีมากมาย นอกจากใช้รักษาโรคแล้ว ยังใช้บำรุงผิว บำรุงเส้นผมได้ด้วย ปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า มีแชมพูสระผม และเครื่องสำอางหลายอย่าง ที่ใช้ว่านหางจระเข้เป็นส่วนประกอบ และกำลังเป็นที่นิยมของคนทั่วไป เนื่องจากว่านหางจระเข้ มีคุณสมบัติสามารถช่วยให้กระบวนการเมตะโบลิซึม ทำงานได้เป็นปกติ ลดการติดเชื้อ สลายพิษของเชื้อโรค กระตุ้นการเกิดใหม่ ของเนื้อเยื่อส่วนที่ชำรุด ฉะนั้น ว่านหางจระเข้จึงถูกนำมาใช้ เพื่อบำรุงผิวพรรณ ผู้ที่ใช้ว่านหางจระเข้บำรุงผิวพรรณอยู่เป็นประจำ จะรู้สึกได้ชัดว่า ว่านหางจระเข้มีส่วนช่วย ให้ผิวพรรณผุดผ่อง สดชื่น มีน้ำมีนวล และยังสามารถขจัดสิว และลบรอยจุดด่างดำได้ด้วย

การใช้ว่านหางจระเข้ เพื่อบำรุงผิว โดยปอกเปลือกออก ใช้แต่เมือกวุ้นสีขาวใส ที่อยู่ภายใน ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการแพ้ ก่อนใช้ควรตรวจสอบว่า ตนเองจะเกิดอาการแพ้หรือไม่ โดยใช้น้ำที่ได้จากวุ้นสีขาว ของว่านหางจระเข้ ทาตรงบริเวณโคนหู แล้วทิ้งไว้สักครู่ ถ้าเกิดการระคายเคืองเป็นผื่นแดง แสดงว่าแพ้ ไม่เหมาะที่จะใช้กับผิวหน้าอีกต่อไป ถ้าไม่มีอาการแพ้ ก็สามารถใช้ได้ตลอด แต่บางคนก็จะเห็นผลได้เหมือนกัน เมื่อใช้ว่านหางจระเข้ทาบริเวณหัวสิว จะทำให้หัวสิวแห้งเร็ว

นอกจากนี้ ว่านหางจระเข้ยังสามารถลดความแห้งกร้าน และลดความมันของผิวหน้าได้ โดยคนที่มีผิวมัน ก็จะช่วยให้ลดความมัน คนที่มีผิวหน้าแห้ง ก็ยังรักษาความชุ่มชื่นของผิวไว้ได้

2. งา (Sesamum indicum Linn. S. orientle. L)
เป็นพืชล้มลุก ให้เมล็ดเป็นจำนวนมาก เมล็ดงามีทั้งสีดำ และสีขาว ในเมล็ดงามีน้ำมันอยู่ ประมาณ 45-54% น้ำมันงามีกลิ่นหอมน่ารับประทาน วิธีใช้ โดยการนำเอาเมล็ดงาสด มาบีบน้ำมันงาออก โดยไม่ผ่านความร้อน ใช้ทาผิวหนัง เพื่อบำรุงผิวพรรณ ให้ผุดผ่อง ช่วนประทินผิวให้นุ่มนวล ไม่หยาบกร้าน

3. แตงกวา (Cucumis sativas Linn.)
จะมีวิตามินสูง ในผลแตงกวายังมีเอ็นไซม์ cryssin ซึ่งช่วยย่อยโปรตีนได้ เอ็นไซม์ชนิดนี้ จะช่วยย่อยผิวหนังที่หยาบกร้าน ให้หลุดออกไป เพื่อให้ผิวใหม่ที่อ่อนนุ่ม เกิดขึ้นมาแทนที่ บางคนใช้แตงกวาสด ผ่าเป็นชิ้นบางๆ วางบนใบหน้าที่ล้างสะอาด แทนน้ำแตงกวา ปัจจุบัน มีน้ำแตงกวาผสมในเครื่องสำอาง เช่น ครีมล้างหน้า ครีมทาตัว เพื่อช้วยให้ผิวไม่หยาบกร้าน และช่วยสมานผิว แตงกวาเป็นสมุนไพร ที่หาง่าย มีประโยชน์ ราคาถูก ใช้ติดต่อกับเป็นประจำ จะทำให้สวนสดชื่น มีน้ำมีนวล

4. มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum Mill.)
ในมะเขือเทศ จะมีสาร Curotenoid และมีวิตามินหลายชนิด น้ำจากผลมะเขือเทศสุก จะมีสาร licopersioin ซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อรา และแบคทีเรีย และน้ำมะเขือเทศสด นำมาพอกหน้า จะรักษาสิวสมานผิวหน้าให้เต่งตึง หรืออาจจะฝานบางๆ แปะลงบนผิวหน้าก็ได้

5. ขมิ้นชัน (Curcuma Longa Linn.)
ในขมิ้น จะมีสาร Curcumin และมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งมีกลิ่นเฉพาะ ขมิ้นมีฤทธิ์ยับยั้ง การเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราหลายชนิด ใช้ทาผิวที่มีผดผื่นคัน ผงขมิ้นใช้ทาตัว เพื่อให้มีสีเหลืองทอง ใช้บำรุงผิว และช่วยฆ่าเชื้อ ที่ทำให้เกิดโรคผิวหนังบางชนิด ได้อีกด้วย

6. น้ำผึ้ง (Apis dorsata)
ได้จากผึ้ง ประกอบด้วยน้ำตาลกลูโคส ฟรุคโตส ขี้ผึ้ง อัลบูมินอยด์ ละอองเกสรดอกไม้ และฮอร์โมนเอสโตรเจน จำนวนเล็กน้อย น้ำผึ้งใช้เป็นส่วนประกอบ ของเครื่องสำอาง ใช้พอกหน้า ทำให้ผิวหน้าชุ่มชื่น เปล่งปลั่งมีน้ำมีนวลขึ้น น้ำผึ้งยังมีคุณสมบัติช่วยสมานผิว น้ำผึ้ง เป็นเครื่องสำอางจากธรรมชาติ ที่ให้ประโยชน์สูง และหาง่าย นอกจากนี้ ยังใช้น้ำผึ้งบำรุงผม ฮอร์โมนเอสโตรเจน จะช่วยบำรุงหนังศีรษะ และกระตุ้นการงอกของเส้นผม

7. มะขามเปียก (Tamarindus indica Linn)
มะขามเปียกมีประวัติการใช้มายาวนาน ช่วยชำระสิ่งสกปรกจากผิวหนัง เพราะฤทธิ์ที่เป็นกรดอ่อนๆ ในมะขาม จะช่วยขจัดสิ่งสกปรกจากผิวหนังได้ดี ปัจจุบัน ได้มีหญิงไทยจำนวนมาก ใช้มะขามเปียกผสมน้ำอุ่น และนมสดให้เข้ากันดี พอกบริเวณผิวหนัง โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นรอยด้าน เช่น ตาตุ่ม ข้อศอก ฝ่ามือ ที่มีรอยกร้านดำ และบริเวณรักแร้ ขาหนีบ เพื่อให้ผิวหนังที่เป็นรอยดำจางลง ทำให้ผิวขาวนุ่มนวลขึ้น และนมสดจะช่วยบำรุงผิว ให้นุ่มได้

สมุนไพรเพื่อความงามสำหรับผิวกาย
ผิวกาย จะเปล่งปลั่งนุ่มนวลไร้รอยกร้าน และรอยหมองคล้ำ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น อาหารการกิน การออกกำลังกาย และยังมีการถนอมผิว บำรุงผิวอีกหลายๆรูปแบบ สมุนไพรพื้นๆ ที่มีอยู่ทั่วๆไปเอามาใช้บำรุงผิว ซึ่งได้ผลเป็นอย่างดีจึงอยากบอกต่อ รับรองว่าผิวคุณจะสวยขึ้นแน่นอน

สมุนไพรเพื่อความงามสำหรับเส้นผม
ทรงผม
หรือเส้นผม เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพให้ดูดีขึ้นได้ สิ่งที่ควรคำนึงในหารดูแลเส้นผม ได้แก่ อาหารจำพวกโปรตีนที่ได้จากเนื้อ นม ไข่ ฯลฯ และวิตามิน A,C,E,B5 ที่ได้จากผลไม้ต่างๆและธัญพืช จำพวกถั่ว งา ข้าวกล้อง ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ฯลฯ

 

แหล่งข้อมูล - http://www.samunpri.com/beauty/




 
อาหารสมุนไพร
สะเดา-น้ำปลาหวาน-ปลาดุกย่าง
สะเดาเป็นผักพื้นบ้านที่มีรสขม
 ซึ่งคนไทยนิยมรับประทานเป็นผักตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น คนไทยชอบรับประทานดอกสะเดาในช่วงต้นของฤดูหนาว เนื่องจากเชื่อว่า การกินสะเดาก่อนที่จะเป็นไข้ป้องกันได้ แต่ถ้ากินเมื่อเป็นแล้ว สามารถรักษาให้หายได้ (แต่ต้องเป็นไข้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ อุตุสมุฎฐานที่ร่างกายปรับไม่ทัน)    จะทำให้มีอาการครั่นเนื้อครั่นตัว น้ำมูกใส คนโบราณเรียกว่า ?ไข้หัวลม ?การรับประทานสะเดานั้นคนภาคกลางนิยมรับประทานกับน้ำปลาหวานและปลาดุกย่าง เนื่องจากรสหวานของน้ำปลาหวานจะช่วยกลบรสขมของสะเดาได้ จึงทำให้รู้สึกรสชาติกลมกล่อม(อร่อย) เจริญอาหารยิ่งขึ้น
แกงหน่อไม้ใบย่านาง

หน่อไม้เป็นต้นอ่อนของไผ่

ไม้ไผ่เป็นทรัพยากรป่าไม้ที่มีค่ายิ่งต่อชีวิตและความเป็นอยู่ประจำวันของคนไทย โดยเฉพาะชาวชนบทจะมีความสัมพันธ์กับไม้ไผ่อย่างแน่นแฟ้น ทุกส่วนของไม้ไผ่นับตั้งแต่รากถึงยอดจะใช้ประโยชน์ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เริ่มตั้งแต่รากฝอยของไม้ไผ่ช่วยยึดติดไม่ให้ดินพังทลาย ต้นอ่อนของไผ่หรือหน่อไม้เป็นอาหารธรรมชาติของคนไทยมาช้านาน เหง้าสามารถนำไปทำเครื่องประดับ กิ่งก้าน มัดรวมกันสามารถใช้ทำเป็นไม้กวาดได้ และลำไม้ไผ่ใช้ทำบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ทำเครื่องเรือน ทำด้ามเครื่องมือการเกษตร และภาชนะต่างๆ ทำเครื่องดนตรี เครื่องจักรสาน ใช้เป็นวัตถุ ดิบในอุตสาหกรรมผลินเยื่อกระดาษ การทำไหมเทียมตลอดจนไม้ไผ่นำมาทำเชื้อเพลิงได้

ส่วนที่ใช้เป็นอาหารได้แก่ หน่ออ่อนของไม้ไผ่หรือหน่อไม้ รับประทานเป็นผัก หน่อไม้เป็นผักที่มีมากในฤดูฝนพบในท้องตลาดทุกภาคของเมืองไทย ที่นิยมทำเป็นอาหารกันมากของชาวอีสาน คือ แกงหน่อไม้ใบย่านาง

 

แกงเลียง

แกงเลียง

อาหารที่มีรสชาติเฉพาะตัวอร่อยเผ็ดร้อนพริกไทย หอมกลิ่นสมุนไพรจากพืชผักหลากหลายชนิด มีประโยชน์ในการขับพิษ ไข้เป็นอย่างดี

แกงเลียง เป็นแกงที่ประกอบด้วยน้ำพริก ผัก เนื้อสัตว์ น้ำแกงและเครื่องปรุงรส น้ำพริกแกงเลียงจะแปลกกว่าน้ำพริกแกงชนิดอื่นๆ เพราะมีพริกไทย หัวหอม กะปิ กุ้งแห้ง ปลาย่างหรือปลากรอบ น้ำแกงมีลักษณะข้น ผักที่นิยมใส่ที่สามารถบอกลักษณะว่าเป็น

แกงเลียง คือ ใบแมงลักมีกลิ่นหอม่ารับประทาน นอกจากนั้นยังมีผักเช่น ตำลึง ฟักทอง ข้าวโพดอ่อน หัวปลี บวบ ผักหวาน ฯลฯ เนื้อสัตว์ ได้แก่ กุ้งสด เนื้อไก่ ฯลฯ ปรุงรสด้วยน้ำปลาหรือเกลือ อิ้อฮือ! แค่นึกถึงภาพก็น้ำลายไหลซะแล้ว แต่ก่อนอื่นเราไปรู้จักวิธีการทำ “แกงเลียง” ดีกว่าค่ะ

 

แหล่มข้อมูล - http://www.samunpri.com/food/


 



ผลไม้สมุนไพร

    ปัจจุบันสมุนไพรเป็นที่นิยมมากในหมู่ผู้คนไม่ว่าจะในไทยหรือต่างประเทศ เพราะได้รับรู้ผลดีของสมุนไพรใกล้ตัว และข้อเสียของยาแผนปัจจุบันมากขึ้น เช่นผลไม้ต่างๆ ที่อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุ สมัยก่อนผู้คนนิยมนำมาปรุงเป็นยารักษาโรคต่างๆและเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa paradisiacal L.Var. sapientum O.Ktze

 

วงศ์ : MUSACEAE

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrullus lanatus Mats & Nakai

วงศ์ : CUCURBITACEAE

กล้วย   แตงโม  
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus heterophyllus Lam.

 

วงศ์ : MORACEAE


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Psidium guajava Linn.

ชื่อสามัญ : Guava

ขนุน   ฝรั่ง  
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carica papaya Linn

 

วงศ์ : CARICACEAE

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Averrhoa carambloa Linn.

วงศ์ : AVERRHOACEAE

มะละกอ   มะเฟือง  
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus maxima Merr.

 

วงศ์ : RUTACEAE

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ananas comosus (Linn.) Merr.

วงศ์ : BROMELIACEAE

ส้มโอ   สัปปะรด  
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Garcinia mangostana Linn

 

วงศ์ :  Guttiferae

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica Linn.

วงศ์ : ANACARDIACEAE

มังคุด   มะม่วง  
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Punica granatum Linn.

 

วงศ์ : PUNICACEAE

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Annona squamosa Linn.

วงศ์ : ANNONACEAE

ับทิม   น้อยหน่า  
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bouea macrophylla Griff.

 

วงศ์ : ANACARDIACEAE

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cocos nucifera Linn.

วงศ์ : PALMAE

มะปราง   มะพร้าว  
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Litchi chinensis Sonn..

 

วงศ์ : SAPINDACEAE

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dimocarpus longan Lour.

วงศ์ : SAPINDACEAE

ลิ้นจี่   ลำใย  
ชื่อไทย: ส้ม
ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrus sinensis Osb.

ชื่อไทย:                   ลางสาด

ชื่อวิทยาศาสตร์:      Lansium domesticum Corr.

ส้ม   ลางสาด  

 

แหล่งข้อมูล - http://www.samunpri.com/modules.php?name=Fruit


 



สมุนไพรจากครัวไทย

อาหารไทยเป็นอาหารสุขภาพ ช่วยลดและป้องกันการเกิดโรคภัย
สมุนไพรจากครัวไทย เป็นมรดกจากธรรมชาติและภูมิปัญญาไทย


      ปัจจุบันสมุนไพรเป็นที่นิยมมากในหมู่ผู้คนไม่ว่าจะในไทยหรือต่างประเทศ เพราะได้รับรู้ผลดีของสมุนไพรไกล้ตัว และข้อเสียของยาแผนปัจจุบันมากขึ้น เช่นผลไม้ต่างๆ ที่อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุ สมัยก่อนผู้คนนิยมนำมาปรุงเป็นยารัหษาโรคต่างๆและเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน


 



ชื่อสามัญ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Boesenbergia pandurata Holtt.
วงศ์ : ZINGLBERACEAE
 


ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma Longa Linn
วงศ์ : ZINGIBERACEAE
 

กระชาย   ขมิ้น  

ชื่อสามัญ : Ginger
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber officinalis Roscoe.
วงศ์ : ZINGIBERACEAE
 

ชื่อสามัญ : Glalangal, Greater Galangal,Chinese Ginger
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Languas galanga Sw.,Alpinia galanga Stunz.
วงศ์ : ZINGIBERACEAE

ขิง   ข่า  
ชื่อสามัญ : Lemon Grass, Lapine
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cymbopogon citrates (DC. Ex Nees) Stapf.
วงศ์ : GRAMINAE
 

ชื่อสามัญ : Leech Lime, Kaffir Lime, Porcupine orange
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC.
วงศ์ : RUTACEAE

ตะไคร้   มะกรูด  
ชื่อสามัญ : Common lime, Lime
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus aurantifolia Swing.
วงศ์ : RUTACEAE
 

ชื่อสามัญ : Tamarind
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica Linn.
วงศ์ : CAESALPINIACEAE

มะนาว   มะขาม  
ชื่อสามัญ : Shallot
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allium ascalonicum Linn.
วงศ์ : LILIACEAE
 

ชื่อสามัญ : Garlic
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allium sativum Linn.
วงศ์ : AMARYLLIDACEAE(เดิมจัดอยู่ใน LILIACEAE)

หอม   กระเทียม  
ชื่อสามัญ : Pepper, Black Pepper
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Piper nigrum Linn.
วงศ์ : PIPERACEAE

ชื่อสามัญ : Bird Chilli
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capsicum frutescens Linn.
วงศ์ : SOLANACEAE

พริกไทย   พริกขี้หนู  
ชื่อสามัญ : Coriander
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Coriandrum sativum Linn.
วงศ์ : UMBELLIFERAE
 

ชื่อสามัญ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์
    Mental cordifolia Opiz.
วงศ์     Labiatae
 

ผักชี   สาระแหน่  
ชื่อสามัญ : Sugar Apple, Sweetsop, Custard Apple
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Annona squamosa Linn.
วงศ์ : ANNONACEAE
 

 ชื่อสามัญ : Common Basil, Sweet Basil
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ocimum basilicum Linn.
วงศ์ : LABIATAE
 

กะเพรา   โหระพา  
ชื่อสามัญ : Labiatae, Hairy Basil
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ocimum americana Linn.
วงศ์ : LABIATAE
 

แมลลัก      

แหล่งข้อมูล - http://www.samunpri.com/modules.php?name=Kitchen


 



ดอกไม้สมุนไพร

กระดังงาไทย
ชื่อสามัญ
: Perfume Tree, llang-llang,Ylang-Ylang
ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cananga odorata (Lam.)Hppker f & Thome
วงศ์ : ANONACEAE
 

จำปา
ชื่อสามัญ
: Champak
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Michelia champaca Linn.
วงศ์ : MAGNOLIACEAE

 


กุหลาบ
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rosa hybrida
 วงศ์ : Rosaceae
 ชื่อสามัญ : Rose
 

ชบา
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus rosa-sinensis Linn.
วงศ์ : MELIACEAE
ชื่อสามัญ : Shoe Flower
 

 


กระเจียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cercuma alismatifolia Gagnep
ชื่อสามัญ : Siam Tulip , Patumma
วงศ์: Patumma

ชงโค
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bauhinia purpurea Linn.
วงศ์ : CASSALPINIACEAE
ชื่อสามัญ : Puple Orchid Tree, Hong Kong Orchid Tree

 


กระเจี๊ยบ
ชื่อสามัญ : Jamaican Sorrel, Rosella
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa Linn.
วงศ์ : Malvaceae

ซ่อนกลิ่น
ชื่อวิทยาศาสตร์   : Polianthes tuberosa
ชื่อวงศ์   :  AGAVACEAE
ชื่อสามัญ  :  Tuberose
 

 


แก้ว
ชื่อพฤกษศาสตร
์ : Murraya paniculate Jack
วงศ
์ รูตาซีอี : Fam, Rutaceae
ชื่อสามัญ : -

ดาวเรือง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tagetes erecta Linn.
วงศ์ : COMPOSITAE
ชื่อสามัญ : African marigold

 


เข็ม
ชื่อสามัญ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora ebarbata Craib.
วงศ์ : -

ดาหลา
ชื่อวิทยาศาสตร์
 :  Etlingera elatior (Jack) R.M. Smith
ชื่อสามัญ
: ดาหลา
วงศ์
:  Zingiberales

 


ขจร
ชื่อสามัญ : -
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Telosma odoratissima
วงศ์ : ASCLEPIADACEAE

ดองดึง
ชื่อสามัญ
: Climing Lily, Turk’s cap, Superb Lily
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gloriosa superba Linn.
วงศ์ : LILIACEAE

 


แค
ชื่อสามัญ
: Cork Wood Tree, Vegetable Humming Bird Agatti , Sesban Sebania grandiflora ( Desv. ) Linn.
วงศ์ : PAPILIONACEAE

ทานตะวัน
ชื่อสามัญ
: Sunflower
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Helianthus annuus L.
วงศ์ : COMPOSITAE

 


ควินิน
 

เทียนบ้าน

 


งิ้ว

เทียนกิ่ง

 


พุดซ้อน

พลับพลึง

 


พุทธรักษา

เฟื่องฟ้า
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bougainvillea hybrid
วงศ์ : NYCTAGINACEAE
ชื่อสามัญ : Bougainvillea, Paper Flower
 

 


 มะลิ

 มหาหงส์

 


รัก

อัญชั


 

แหล่งข้อมูล - http://www.samunpri.com/modules.php?name=Flower


 



ผักพื้นบ้าน (ผักสมุนไพร)

ผักสมุนไพร นอกจากจะมีคุณค่าทางด้านอาหารแล้ว ยังมีคุณค่าทางกระตุ้นพลังเสริมสร้างสุขภาพ และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ปัจจุบันชีวิตคนกรุงเทพ ต้องประสบกับมลพิษหลายอย่าง เช่น อาหารเป็นพิษ และสภาวะแวดล้อมเป็นพิษ ในช่วงฤดูฝนนี้ ควรที่จะรับประทานอาหารให้พลังแข็งแรง เพื่อต่อต้านโรคภัยไข้เจ็บ
Bitter melon small
Momordica charantia Linn.
Aubergine long green
Solanum melongena L.var.sepentium
Fit weed
Eryngium foetidum Linn.
 
Pumpkin
Cucurbita moschata.
(Duchesna ex. Lam)
Sugar pea
Pisum sativem Linn.
Aubergine yellow
Solanum aculeatissimum Jacq.
 
Aubergine purple
Solanum melongena Linn.
 
Aubergine
Srcuridaca inappendiculata Hassk.
Angled luffa
Luffa acutangula
 
 
Wing beans
Psophocarpus tetragonolobus
Sator
Parkia speciosa
Balsam pears
Momordica charantia Linn.
 
Yard long bean
Vigna unguiculata. (L) walp
Sabsp var sesquipedalsi
(L )Verde.
Kang kong white
Ipomoea aquatica Forsk.
 
Kang kong chinese
Ipomoea reptans Poir.
 
 
Chaom
Acacia pennata Willd
 
Ginger
Zingiber officinale. Roscoe
Kra Chai
Kaempferia pandurata Roxb.
 
Pak choi
Brassiea chinensis subsp.Chinensis
Mustard leaf
Brassica juncea.
Pak pang Basell
Basella alba L.
 
Banana flowers
Musa Spp.
Galangal
Alpinia galanga Sw.
Celery
Apium graveolens var.dulce
 

Spring onion
Allium ecpa L.

Lemon grass
Cymbopogon citratus(DC.)
Stapf
Kai flower
Sesbania grandiflora(L.)Pers.
 
Pak chee lao
Anethum graveolens L.
 
Ivy gourd(Shoots)
Coccinia grandis(I.) Voigt.
Chaploo
Piper sarmentosum Roxb.
 
 
Kitchen mint
Mentha cordifolia Opiz.
Sweet basil
Ocimum basillicum L.
Holy basil leaf
Ocimum kenuiflorum L.
 
Coriander
Coriandrum sativum L.
Water chestnut
Eleocharis tuberosa. Schult.
Ma rum(Horse-radish tree)
Moringa oleifera
 
Bamboo shoot
Dendrocalamus asper Backer.
Kuchai flower(Chinese chive)
Allium tuberosum.Rotter ex Sprengel
Okra(Gombo, Ochro)
Hibiscus esculentus.Linn.
 
 
Taro
Colocasia esculenta(L.)Schott.
Shallot
Allium cepa
L.
 
Hot chillies (red)
Capsicum frutescens L.
 
Hot chillies (yellow)
Capsicum frutescens L.
 
Pepper green cluster (immatured)
Piper nigrum Linn.
Asparagus spears & Baby corns
 
 
Baby corns
Zea mays L.
 
Plate brush egg plant(immatured)
Solanum torvum.
Matured tamarind pods(sweet)
Tamarindus indica Linn.
 
 
 
Asparagus spears
Asparagus officinalis L.
Pandanus leaves
Pandanus odorus Ridl

 

แหล่งข้อมูล - http://www.samunpri.com/modules.php?name=Vegetable

 




เครื่องดื่มสมุนไพร

         ถ้าจะกล่าวว่า พืชสมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนไทยก็คงไม่แปลก เพราะทั้งอาหารที่บริโภคก็มีส่วนประกอบของพืชสมุนไพร ซึ่งทั้งอร่อยและบำบัดโรค รวมถึงน้ำดื่มดับกระหายคลายร้อนหรือชาสมุนไพรที่เคยดื่มเคยจิบกันมาตั้งแต่เล็กแต่น้อยมีทั้งเก็กฮวย ตะไคร้ กระเจี๊ยบ ใช้ดื่มดับกระหาย โดยไม่รู้ว่านอกจากรสชาติที่อร่อยชื่นใจแล้ว ยังกำนัลด้วยประโยชน์ต่อสุขภาพ แต่ด้วยวันและเวลาผ่านไป ใครหลายคนคงลืมน้ำสมุนไพรเหล่านี้ไปแล้วลองย้อนวันเวลากลับไปทบทวนความรู้สึกเมื่อครั้งวัยเยาว์ที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพรหรือน้ำชาเหล่านี้ ว่าทำให้เรามีแรงกระโดดโลดเต้นได้มากมายเพียงใด

 กะทกรก, รกช้าง (KaTogRog, RogChang)เงาะบ้าน (NGoa Baan)กำไร, จำปูไร (GamLai, JamPooRai)

 

แหล่งข้อมูล - http://www.samunpri.com/modules.php?name=Drink

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 455 คน กำลังออนไลน์