• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fd235acd3b2861cf2812e809aa9ad74f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                กลับมาถึงกรุงเทพฯ แล้วยังหาเหตุผลให้ตัวเองไม่ได้ ทำไมผู้คนถึงอยากไปเชียงคาน\n</p>\n<p>\n                มานั่งนึก ๆ จนถึงวันนี้ เขาไปทำอะไรกันที่นั่น!\n</p>\n<p>\n                มีคนอยู่หลายแบบที่แวะไปเมืองเล็ก ๆ แห่งนี้  แบบแรกหลงเสน่ห์ ชอบบ้านไม้เก่า เมืองน่าอยู่ อากาศดีในช่วงเช้า แม้จะร้อนอ้าวตามฤดูกาลในช่วงบ่าย กลุ่มนี้ส่วนใหญ่อยู่แล้วอยู่นาน อยู่ยาว อยู่จนตั้งหลักแหล่ง เปิดโฮมสเตย์ไปหลายคน\n</p>\n<p>\n                กลุ่มที่สองแวะเป็นทางผ่าน ตื่นเช้า ใส่บาตร กินข้าว หาที่เที่ยวในจังหวัดเลยต่อ เช่น ภูกระดึง ภูเรือ\n</p>\n<p>\n                อีกแบบนี่น่ากลัวที่สุด มาเพื่อถ่ายรูป ตั้งแต่ต้นถนนไปจนถึงท้ายถนน ทุกซอกทุกมุม เขาและเธอมาเพื่อถ่ายรูป กลุ่มนี้มักรวมตัวตอนเช้า และหายตัวตอนบ่าย คึกคักอีกทีตอนหัวค่ำ\n</p>\n<p>\n                ถ่ายอะไรกันนักหนา! คิดอย่างนั้นก็ไม่ถูก ทำไงได้ที่นี่กำลังจะเป็นแหล่งรวมความคิดสร้างสรรค์ของคนหนุ่มสาวที่พากันเปิดร้านค้าบนถนนชายโขงเป็นระยะทางไม่ถึงหนึ่งกิโลเมตร\n</p>\n<p>\n                นิยมสุดเห็นจะเป็นร้านขายเสื้อยืดประทับชื่อเชียงคาน ขายโปสการ์ด ขายผ้าพื้นเมือง \n</p>\n<p>\n                คนเยอะก็แค่เสาร์ อาทิตย์\n</p>\n<p>\n                ช่วงบ่ายของวันอาทิตย์เริ่มเข้าสู่ความเงียบ และเหงามากขึ้นเมื่อย่างเข้ากลางสัปดาห์ ถ้าเป็นนักเที่ยวที่ไม่ชอบพบปะคนเมือง ช่วงนี้เหมาะที่สุด\n</p>\n<p>\n                ไก่จอมขยันจะเริ่มขันตามหน้าที่ตั้งแต่ตี 5 เป็นเวลาที่พระสงฆ์เดินแถวบิณฑบาต เวลานี้ชาวเชียงคานพร้อมใจเปิดประตู รวมถึงโฮมสเตย์ทุกหลัง เตรียมเปิดบ้านนำแขกต่างเมืองนั่งรอใส่บาตรข้าวเหนียว ยังไงก็อย่าลืมใส่กับข้าวลงไปด้วย เห็นบางคนรีบจัดหย่อนข้าวเหนียวกับกล้วย แค่นั้น!\n</p>\n<p>\n                เมืองเชียงคานเป็นเพียงหมู่บ้านเล็ก ๆ  ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง ส่วนแผ่นดินอีกฝั่งเป็นประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว\n</p>\n<p>\n                เชียงคานนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของลาวมาก่อน ประวัติดั้งเดิมเขียนไว้ว่าขุนคาน กษัตริย์เมืองเชียงทอง (หลวงพระบาง) โอรสขุนคัว เชื้อสายของขุนลอ เป็นผู้สร้างเมืองเชียงคานแล้วขนานนามเมืองตามพระนามของพระองค์ ตามธรรมเนียมราชประเพณี\n</p>\n<p>\n                ปัจจุบันพี่น้องไทย-ลาว ไปมาหาสู่ผ่านทางด่านพรมแดนเชียงคาน ตรงข้ามกับที่ว่าการอำเภอเชียงคาน คุณป้าคนหนึ่งบอกว่าต้องมีเงินอย่างน้อย 300 บาท เป็นค่าใช้จ่ายเหยียบแผ่นดิน ไป ๆ มา ๆ เสียเงินขนาดนี้ ขอนั่งริมโขงฟังเสียงที่ดังมาจากทางวัดฝั่งลาว น่าจะมีความสุขกว่า\n</p>\n<p>\n                อยู่สองวัน ขี่จักรยานเพลิน ๆ เดินเที่ยววัด คุยกับชาวบ้าน ซึ่งเป็นผู้เฒ่าที่น่ารัก ใครจะเชื่ออายุ 80 ปี แข็งแรงดีจัง\n</p>\n<p>\n                จากกรุงเทพฯ ไปเชียงคาน ใช้บริการรถทัวร์ได้ทั้งบขส. และแอร์เมืองเลย เดินทางตอนหัวค่ำ ป.1 ตั๋ว สี่ร้อยกว่าบาท ขากลับจะลองใช้บริการ ป.2 ดูบ้างก็ได้ สามร้อยกว่าบาท การบริการก็ตามราคาที่จ่าย ถ้าอยากไปกลับสบาย จอง VIP ราคาแพงขึ้นอีกพอสมควร\n</p>\n<p>\n                โฮมสเตย์มีให้เลือกเยอะ บ้านช่องส่วนใหญ่สะอาดสะอ้าน ไปเดินหายังได้ ราคาเริ่มต้นหัวละ 100-150 บาท แพงสุดที่สุเนต์ตา ห้องพักดี บรรยากาศดี เริ่มต้นห้องละ 500 บาท\n</p>\n<p>\n                เชียงคานเล็กกว่าปายตั้งเยอะ ยังอุตส่าห์เทียบว่าใกล้จะเป็นปาย ที่เหมือนกันแน่ ๆ ฝรั่งเที่ยวเชียงคานก่อนคนไทย จากนั้นหนีไปปาย ก่อนหนีพี่ไทยไปที่อื่นต่อ เพราะไม่สงบเหมือนเคยแล้ว\n</p>\n<p>\n                คลิกดูรูป <a href=\"http://www.ejobeasy.com/kmdetail.php?n=100303154736\">http://www.ejobeasy.com/kmdetail.php?n=100303154736</a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nby ryo..<a href=\"mailto:watta.ryo@gmail.com\">watta.ryo@gmail.com</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719802283, expire = 1719888683, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fd235acd3b2861cf2812e809aa9ad74f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไปเชียงคาน ไม่ต้องกลัวขึ้นคาน

 

                กลับมาถึงกรุงเทพฯ แล้วยังหาเหตุผลให้ตัวเองไม่ได้ ทำไมผู้คนถึงอยากไปเชียงคาน

                มานั่งนึก ๆ จนถึงวันนี้ เขาไปทำอะไรกันที่นั่น!

                มีคนอยู่หลายแบบที่แวะไปเมืองเล็ก ๆ แห่งนี้  แบบแรกหลงเสน่ห์ ชอบบ้านไม้เก่า เมืองน่าอยู่ อากาศดีในช่วงเช้า แม้จะร้อนอ้าวตามฤดูกาลในช่วงบ่าย กลุ่มนี้ส่วนใหญ่อยู่แล้วอยู่นาน อยู่ยาว อยู่จนตั้งหลักแหล่ง เปิดโฮมสเตย์ไปหลายคน

                กลุ่มที่สองแวะเป็นทางผ่าน ตื่นเช้า ใส่บาตร กินข้าว หาที่เที่ยวในจังหวัดเลยต่อ เช่น ภูกระดึง ภูเรือ

                อีกแบบนี่น่ากลัวที่สุด มาเพื่อถ่ายรูป ตั้งแต่ต้นถนนไปจนถึงท้ายถนน ทุกซอกทุกมุม เขาและเธอมาเพื่อถ่ายรูป กลุ่มนี้มักรวมตัวตอนเช้า และหายตัวตอนบ่าย คึกคักอีกทีตอนหัวค่ำ

                ถ่ายอะไรกันนักหนา! คิดอย่างนั้นก็ไม่ถูก ทำไงได้ที่นี่กำลังจะเป็นแหล่งรวมความคิดสร้างสรรค์ของคนหนุ่มสาวที่พากันเปิดร้านค้าบนถนนชายโขงเป็นระยะทางไม่ถึงหนึ่งกิโลเมตร

                นิยมสุดเห็นจะเป็นร้านขายเสื้อยืดประทับชื่อเชียงคาน ขายโปสการ์ด ขายผ้าพื้นเมือง 

                คนเยอะก็แค่เสาร์ อาทิตย์

                ช่วงบ่ายของวันอาทิตย์เริ่มเข้าสู่ความเงียบ และเหงามากขึ้นเมื่อย่างเข้ากลางสัปดาห์ ถ้าเป็นนักเที่ยวที่ไม่ชอบพบปะคนเมือง ช่วงนี้เหมาะที่สุด

                ไก่จอมขยันจะเริ่มขันตามหน้าที่ตั้งแต่ตี 5 เป็นเวลาที่พระสงฆ์เดินแถวบิณฑบาต เวลานี้ชาวเชียงคานพร้อมใจเปิดประตู รวมถึงโฮมสเตย์ทุกหลัง เตรียมเปิดบ้านนำแขกต่างเมืองนั่งรอใส่บาตรข้าวเหนียว ยังไงก็อย่าลืมใส่กับข้าวลงไปด้วย เห็นบางคนรีบจัดหย่อนข้าวเหนียวกับกล้วย แค่นั้น!

                เมืองเชียงคานเป็นเพียงหมู่บ้านเล็ก ๆ  ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง ส่วนแผ่นดินอีกฝั่งเป็นประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

                เชียงคานนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของลาวมาก่อน ประวัติดั้งเดิมเขียนไว้ว่าขุนคาน กษัตริย์เมืองเชียงทอง (หลวงพระบาง) โอรสขุนคัว เชื้อสายของขุนลอ เป็นผู้สร้างเมืองเชียงคานแล้วขนานนามเมืองตามพระนามของพระองค์ ตามธรรมเนียมราชประเพณี

                ปัจจุบันพี่น้องไทย-ลาว ไปมาหาสู่ผ่านทางด่านพรมแดนเชียงคาน ตรงข้ามกับที่ว่าการอำเภอเชียงคาน คุณป้าคนหนึ่งบอกว่าต้องมีเงินอย่างน้อย 300 บาท เป็นค่าใช้จ่ายเหยียบแผ่นดิน ไป ๆ มา ๆ เสียเงินขนาดนี้ ขอนั่งริมโขงฟังเสียงที่ดังมาจากทางวัดฝั่งลาว น่าจะมีความสุขกว่า

                อยู่สองวัน ขี่จักรยานเพลิน ๆ เดินเที่ยววัด คุยกับชาวบ้าน ซึ่งเป็นผู้เฒ่าที่น่ารัก ใครจะเชื่ออายุ 80 ปี แข็งแรงดีจัง

                จากกรุงเทพฯ ไปเชียงคาน ใช้บริการรถทัวร์ได้ทั้งบขส. และแอร์เมืองเลย เดินทางตอนหัวค่ำ ป.1 ตั๋ว สี่ร้อยกว่าบาท ขากลับจะลองใช้บริการ ป.2 ดูบ้างก็ได้ สามร้อยกว่าบาท การบริการก็ตามราคาที่จ่าย ถ้าอยากไปกลับสบาย จอง VIP ราคาแพงขึ้นอีกพอสมควร

                โฮมสเตย์มีให้เลือกเยอะ บ้านช่องส่วนใหญ่สะอาดสะอ้าน ไปเดินหายังได้ ราคาเริ่มต้นหัวละ 100-150 บาท แพงสุดที่สุเนต์ตา ห้องพักดี บรรยากาศดี เริ่มต้นห้องละ 500 บาท

                เชียงคานเล็กกว่าปายตั้งเยอะ ยังอุตส่าห์เทียบว่าใกล้จะเป็นปาย ที่เหมือนกันแน่ ๆ ฝรั่งเที่ยวเชียงคานก่อนคนไทย จากนั้นหนีไปปาย ก่อนหนีพี่ไทยไปที่อื่นต่อ เพราะไม่สงบเหมือนเคยแล้ว

                คลิกดูรูป http://www.ejobeasy.com/kmdetail.php?n=100303154736


by ryo..watta.ryo@gmail.com

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 579 คน กำลังออนไลน์