• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:13908e208669738c5901cd1ae5fff671' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"color: #003300; background-color: #ccffcc\">เครื่อ</span></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"color: #003300; background-color: #ccffcc\">ดนตรีไทยที่ใช้ในราชพิธี</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><span><strong>เครื่องดนตรีไทยโบราณ<span>  </span>และ เครื่องดนตรีไทยที่ใช้ในพระราชพิธี</strong> <br />\n</span></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">หมายถึง เครื่องดนตรีไทยที่ไม่ได้นำมาใช้บรรเลงในวงดนตรีไทย ในปัจจุบัน </span><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">หรือใช้เป็นบางโอกาสเท่านั้น<br />\n</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><span><strong>พิณ</strong> </span></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"><span></span><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เป็นเครื่องดนตรีที่มีกล่าวถึงไว้ในหลักศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ในสมัยสุโขทัย ตอนหนึ่งว่า &quot;เสียงพาทย์&quot;  &quot;เสียงพิณ&quot; เข้าใจว่าไทย คงจะได้รับแบบอย่างมาจากอินเดีย เพราะดูตามรูปศัพท์ของคำว่า &quot;พิณ&quot; เป็นคำในภาษาบาลี ของอินเดียและเข้าใจว่า พราหมณ์เป็นผู้นำเข้ามาเล่นกันก่อน เพราะมีเพลงไทยโบราณ เพลงหนึ่งชื่อว่า &quot;พราหมณ์ดีดน้ำเต้า&quot; พิณมี 2 ชนิด คือ </span><span style=\"font-size: 10pt; background: #ffeaf4; color: #003300; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"></span><span style=\"background-color: #ff99cc\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc\"><span style=\"color: #003300; background-color: #f6fdf5\"><strong><span style=\"color: #005b00\">พิณน้ำเต้า</span></strong>                                                                                                                                                <br />\nเป็นพิณสายเดียว กระโหลกพิณทำจากผลน้ำเต้าผ่าครึ่ง เอาทางจุกหรือขั้วมาเจาะตรึงติดกับไม้คันพิณ หรือ &quot;ทวน&quot; ใช้สายยาวประมาณ 78 ซม. (เดิมเป็นสายหวายต่อมาใช้สายเอ็น) ขึผ่านจากด้านปลายไปยังด้านโคน (ด้านที่มีกระโหลก) ซึ่งมีลูกปิด 1 อัน สำหรับปิดสายให้ตึง หรือหย่อน เพื่อทำให้เสียงสูง หรือ ต่ำ วิธีเล่น เอากระโหลกพิณประกอบติดกับอกเบื้องซ้ายของผู้เล่น โดยใช้มือซ้ายจับคันทวน แล้วใช้มือกด หรือเผยอสายให้ตึงหรือหย่อน ใช้มือขวาดีดสายให้เกิดเสียง ดังนั้นผู้บรรเลงพิณจะต้องไม่สวมเสื้อ และคงจะต้องเป็นผู้ชายเท่านั้นที่เล่นเครื่องดนตรีชนิดนี้</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc\"></span><span style=\"background-color: #ffeaff\"> <strong><span style=\"color: #a300a3\">พิณเพียะ หรือ พิณเปี๊ยะ</span></strong>                                                                                                                          <br />\nมีสายจำนวน 2 - 4 สาย เข้าใจว่ามีวิวัฒนาการมาจากพิณน้ำเต้า โดยการเพิ่มจำนวนสายเข้าไป คันทวนยาวประมาณ 1 เมตร กระโหลกพิณทำด้วยผลน้ำเต้าตัดครึ่ง เช่นเดียวกับพิณน้ำเต้า หรือทำด้วยกะลามะพร้าวก็มี วิธีเล่นก็เช่นเดียวกับการเล่นพิณน้ำเต้า ในสมัยก่อน ตามท้องถิ่นต่าง ๆ ในแถบภาคเหนือของไทย เคยปรากฏมีผู้เล่นพิณเพียะในขณะที่ไป &quot;เกี้ยวสาว&quot; โดยการดีดพิณคลอเสียงขับร้อง     </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715703202, expire = 1715789602, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:13908e208669738c5901cd1ae5fff671' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครื่องดนตรีไทย ในราชพิธี

รูปภาพของ stnthitirat

เครื่อดนตรีไทยที่ใช้ในราชพิธี

เครื่องดนตรีไทยโบราณ  และ เครื่องดนตรีไทยที่ใช้ในพระราชพิธี
หมายถึง เครื่องดนตรีไทยที่ไม่ได้นำมาใช้บรรเลงในวงดนตรีไทย ในปัจจุบัน  หรือใช้เป็นบางโอกาสเท่านั้น

พิณ เป็นเครื่องดนตรีที่มีกล่าวถึงไว้ในหลักศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ในสมัยสุโขทัย ตอนหนึ่งว่า "เสียงพาทย์"  "เสียงพิณ" เข้าใจว่าไทย คงจะได้รับแบบอย่างมาจากอินเดีย เพราะดูตามรูปศัพท์ของคำว่า "พิณ" เป็นคำในภาษาบาลี ของอินเดียและเข้าใจว่า พราหมณ์เป็นผู้นำเข้ามาเล่นกันก่อน เพราะมีเพลงไทยโบราณ เพลงหนึ่งชื่อว่า "พราหมณ์ดีดน้ำเต้า" พิณมี 2 ชนิด คือ

พิณน้ำเต้า                                                                                                                                                
เป็นพิณสายเดียว กระโหลกพิณทำจากผลน้ำเต้าผ่าครึ่ง เอาทางจุกหรือขั้วมาเจาะตรึงติดกับไม้คันพิณ หรือ "ทวน" ใช้สายยาวประมาณ 78 ซม. (เดิมเป็นสายหวายต่อมาใช้สายเอ็น) ขึผ่านจากด้านปลายไปยังด้านโคน (ด้านที่มีกระโหลก) ซึ่งมีลูกปิด 1 อัน สำหรับปิดสายให้ตึง หรือหย่อน เพื่อทำให้เสียงสูง หรือ ต่ำ วิธีเล่น เอากระโหลกพิณประกอบติดกับอกเบื้องซ้ายของผู้เล่น โดยใช้มือซ้ายจับคันทวน แล้วใช้มือกด หรือเผยอสายให้ตึงหรือหย่อน ใช้มือขวาดีดสายให้เกิดเสียง ดังนั้นผู้บรรเลงพิณจะต้องไม่สวมเสื้อ และคงจะต้องเป็นผู้ชายเท่านั้นที่เล่นเครื่องดนตรีชนิดนี้

 พิณเพียะ หรือ พิณเปี๊ยะ                                                                                                                          
มีสายจำนวน 2 - 4 สาย เข้าใจว่ามีวิวัฒนาการมาจากพิณน้ำเต้า โดยการเพิ่มจำนวนสายเข้าไป คันทวนยาวประมาณ 1 เมตร กระโหลกพิณทำด้วยผลน้ำเต้าตัดครึ่ง เช่นเดียวกับพิณน้ำเต้า หรือทำด้วยกะลามะพร้าวก็มี วิธีเล่นก็เช่นเดียวกับการเล่นพิณน้ำเต้า ในสมัยก่อน ตามท้องถิ่นต่าง ๆ ในแถบภาคเหนือของไทย เคยปรากฏมีผู้เล่นพิณเพียะในขณะที่ไป "เกี้ยวสาว" โดยการดีดพิณคลอเสียงขับร้อง     

 

สร้างโดย: 
ครูกระต่าย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 448 คน กำลังออนไลน์