• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0e1cca567fe3d5f43e2d2b81389ea876' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u27130/692186zjad3k7xja.gif\" height=\"24\" /><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u27130/692186zjad3k7xja.gif\" height=\"24\" /><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u27130/692186zjad3k7xja.gif\" height=\"24\" /><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u27130/692186zjad3k7xja.gif\" height=\"24\" /><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u27130/692186zjad3k7xja.gif\" height=\"24\" /><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u27130/692186zjad3k7xja.gif\" height=\"24\" /><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u27130/692186zjad3k7xja.gif\" height=\"24\" /> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ฟ้อนเล็บ</span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u27130/2010-02-28_131123.jpg\" height=\"436\" /><br />\n<span style=\"color: #0000ff\">ที่มาของภาพ :</span> <span style=\"color: #0000ff\">หนังสือวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๕๔)</span> \n</p>\n<p>\n<br />\n            ภาคเหนือของประเทศไทยมีสภาพดินฟ้าอากาศค่อนข้างหนาวอากาศสดชื่นไม่แห้งแล้ง  ฉะนั้นคนในภาคเหนือจึงมีนิสัยเยือกเย็น  ศิลปะที่แสดงออกมาจึงมีลีลาค่อนข้างช้าอ่อนช้อยงดงามอยู่ในตัวเอง  ประณีตในท่ารำ อันได้แก่ประเภทฟ้อนต่าง  ๆ  ตลอดถึงการแต่งกายอันเป็นสัญลักษณ์ของหญิงชาวเหนือ   เมื่อพูดถึงฟ้อนคนไทยทุกคนจะต้องรู้จักและนึกภาพได้ทันที  นับว่าฟ้อนเป็นตัวแทนของศิลปะภาคเหนือได้ดียิ่ง<br />\n            ฟ้อนเล็บ หรือเรียกกันว่าฟ้อนครัวทาน ฟ้อนเมืองบ้าง ฟ้อนเล็บบ้าง   ทั้ง 3 ชื่อนี้เป็นการฟ้อนชนิดเดียวกัน แต่เรียกไปตามสถานการณ์ของการฟ้อน เช่น การฟ้อนครัวทาน คือการฟ้อนนำขบวนแห่ของชาวบ้านที่จัดขึ้นเรียกว่า  ครัวทาน”  ซึ่งประกอบด้วยเครื่องอัฐบริขาร (ตั้งแต่ไม้กวาด หม้อน้ำยา และเงินทอง) เพราะประเพณีทางเหนือนั้นเมื่อพ้นการทำนาแล้วชาวบ้านก็จะมุ่งทำบุญมีการบูรณะวัด เป็นต้น ถ้าหมู่บ้านใดบูรณะวัดเรียบร้อยแล้ว ก็นิยมบอกบุญไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ ก็ให้มาช่วยทำบุญฉลอง  เช่นฉลองโบสถ์ วิหาร เป็นต้น จึงเรียกว่าฟ้อนครัวทาน หรือฟ้อนเมือง  สมัยโบราณจะหาดูได้ยาก ถ้าจะดูการฟ้อนที่สวยงามและมีลีลาอันอ่อนช้อยต้องเป็นฟ้อนของคุ้มเจ้าหลวง เพราะผู้ฟ้อนส่วนมากล้วนแต่ฝึกหัดมาอย่างดี  ใช้แสดงประกอบพิธีเฉพาะในงานสำคัญในพระราชฐานเท่านั้น   ผู้ฟ้อนโดยมากล้วนแต่เป็นเจ้านายเชื้อพระวงศ์ฝ่ายในทั้งสิ้น  <br />\n            การฟ้อนครั้งสำคัญก็เมื่อคราวพระราชชายา เจ้าดารารัศมี  ได้ทรงฝึกหัดเจ้านายและหญิงสาวฝ่ายในฟ้อนถวายรับเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7  คราวเสด็จประภาสภาคเหนือ  เมื่อ พ.ศ. 2469  โดยครูนาศิลป์ของกรมศิลปากรได้ฝึกหัดจำไว้ ภายหายหลังจึงได้นำสอนและมีการฝึกหัดสืบต่อมา เช่นเป็นการฟ้อนรำชนิดหนึ่งของไทยชาวเหนือ ตามลักษณะของผู้ฟ้อน ซึ่งแต่งตัวแบบไทยชาวเหนือ แล้วสวมเล็บยาวทุกคน  โดยผู้ฟ้อนสวมเล็บยาวทุกนิ้วเว้นนิ้วหัวแม่มือ แบบฉบับการฟ้อนที่ดีได้รักษากันไว้เป็นแบบแผนกันในคุ้มเจ้าหลวง  จึงเป็นศิลปะที่ไม่สู้จะได้ชมกันบ่อยนัก  การฟ้อนชนิดนี้ได้มาเป็น ที่รู้จักแพร่หลายในกรุงเทพฯ คราวงานสมโภชน์พระเศวตคชเดชน์ดิลกฯช้างเผือกในรัชกาลที่  7  เมื่อ พ.ศ. 2470<br />\n            ต่อมาการฟ้อนแบบนี้ก็ซบเซาไปพักหนึ่ง ไม่ค่อยจะได้ดูกันบ่อยนัก มีอยู่บ้างที่หัดฟ้อนกันขึ้นเป็นครั้งคราว แต่การฟ้อนและลีลาต่าง ๆ  ไม่ได้มีหลักเกณฑ์อะไรที่แน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่ครูผู้ฝึกจะดำเนินการสอนแบบไหน ทั้งท่าทางและจังหวะการฟ้อน ฉะนั้นการฟ้อนในระยะนี้จึงแหตกต่างกันอออกไป ในปี พ.ศ. 2474 เจ้าหญิงบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่ ธิดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ท่านเป็นผู้รักศิลปะทางนี้มาก จึงได้รวบรวมเด็กหญิงในคุ้มให้ครูหลวงเป็นผู้ฝึกหัดในแบบต่าง ๆ ทั้งนี้  เจ้าแก้วนวรัฐ ก็ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี จึงประทานให้หม่อมแส ซึ่งเป็นหม่อมของท่านและมีความรู้เชี่ยวชาญในศิลปะการฟ้อน เป็นผู้ควบคุมการฝึกหัด ในระยะนี้ต้องใช้เวลาทั้งปรับปรุงท่าทาง เครื่องแต่งกายและดนตรี เพื่อความเหมาะสมเป็นระเบียบเรียบร้อยเป็นแบบอย่างที่เชื่อถือได้ ในระหว่างการฝึกอบรมนี้ ก็ได้มีการจัดการแสดงต้อนรับแขกเมือง และให้ประชาชนชมอยู่เสมอ  เมื่อเจ้าแก้วนวรัฐได้พิราลัย   (ตาย) ไปแล้ว การฟ้อนรำเหล่านี้จึงชะงักไป แต่ก็มีอยู่บ้างตามโรงเรียนต่าง ๆ และวัดแทบทุกวัด<br />\n            ต่อมาประมาณปี    พ.ศ. 2503  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จประภาสจังหวัดเชียงใหม่   บรรดา ครู   นักศึกษา ตลอดจนวัดต่าง ๆ ได้พากันฟื้นฟูการฟ้อนขึ้นอีกเพื่อเป็นการรับเสด็จฯ และต้อนรับพระราชอาคันตุกะที่มาเยือนจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้รับความสนพระทัยและสนใจจากพระราชอาคันตุกะเป็นอันมาก      ปัจจุบันการฟ้อนชนิดนี้มีอยู่ตามวัดต่าง ๆ และในหมู่นักเรียน นักศึกษา  เพราะถือว่าเป็นวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นที่ต้องสงวนและรักษาไว้  แต่ลีลาการฟ้อนเป็นไปตามครูผู้สอนไม่ได้ยึดถืออะไรเป็นหลักที่แน่นอน<br />\n           <strong> ผู้แสดง</strong>  แต่ละชุดของแต่ละหมู่บ้าน  จะใช้จำนวนคนแตกต่างกันไปบ้าง  แต่ที่นิยมกันมากคือ  จำนวน 4 คู่ หรือ 8 คน และจะไม่เกิน 16 คน แต่ก็ไม่ได้ห้ามว่าเกิน  16 คนไม่ได้ ข้อสำคัญต้องเป็นจำนวนคู่<br />\n            <strong>การแต่งกาย</strong>  จะแต่งกายแบบไทยชาวภาคเหนือสมัยโบราณ  นุ่งผ้าซิ่นมีเชิงลายขวาง เสื้อคอกลมแขนยาว และห่มผ้าสไบเฉียงทับ เกล้าผมมวยสูงทัดดอกไม้และห้อยอุบะ และสวมเล็บยาวทั้ง 8 นิ้ว เว้นแต่นิ้วหัวแม่มือ การแต่งกายสมัยก่อน ถ้าเป็นฟ้อนธรรมดาของแต่ละหมู่บ้าน การแต่งกายจะเป็น 2 ลักษณะคือ <br />\n๑.     ใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก เอวรูด  ไม่ห่มผ้า ผ้าซิ่นจะเป็นแบบลายขวาง ต่อเอวดำตีนดำ  (ตีน คือเชิงผ้าของผ้าซิ่น )<br />\n๒.     ใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก เอวปล่อย ห่มผ้า ใส่สร้อย ผ้าซิ่นให้ใช้ผ้าตีนจก หรือผ้าทอ (การแต่งกายในข้อนี้ จะใช้แต่งในงานใหญ่และในคุ้มเจ้านาย)การแต่งกายจะเหมือนกันทั้งหมดหรือเหมือนกันเฉพาะคู่ก็ได้\n</p>\n<p>\n<strong>วงดนตรี<br />\n</strong>วงดนตรีที่ใช้ประกอบการฟ้อน เรียกว่าวง  “ ตึ่งโนง “  ประกอบด้วย<br />\n๑.     กลองหลวงต่อมาใช้กลองแอว <br />\n๒.     ปี่แน   2    เลา  คือ แนน้อยและแนหลวง<br />\n๓.     ฉาบใหญ่<br />\n๔.     ตะโลดโป๊ด<br />\n๕.     ฆ้องใหญ่<br />\nเวลาดนตรีบรรเลงเสี่ยปี่ดังไพเราะเยือกเย็นมาก ท่วงทำนองเชื่องช้าเสียงกลองจะดีดังขัดเสียงปี่ ดัง  ตะ ตึ่ง นง ตึ่ง ตัก ถ่ง  อย่างนี้เรื่อยไป ส่วนช่างฟ้อนก็จะฟ้อนอย่างช้า ๆ ไปตามลีลาของเพลง\n</p>\n<p>\n               <strong>การฟ้อนมี 7 จังหวะ และแบ่งท่ารำออกเป็น  4 ชุด</strong> คือ<br />\n                                ชุดที่ 1  ประกอบด้วยท่า<br />\n-          ท่าจีบหลัง (ยูงฟ้อนหาง) บังสุริยา – วันทาบัวบาน-กังหันร่อน<br />\n                                 ชุดที่ 2  ประกอบด้วยท่า<br />\n-          ท่าจีบหลัง- ตระเวนเวหา-ชักระบี่สี่ท่า –พระรถโดยสาร  - ผาลาเพียงไหล่  - บัวชูฝัก – กังหันร่อน<br />\n                        ชุดที่ 3 ประกอบด้วยท่า<br />\n-          ท่าจีบหลัง – พายเรือ – บัวชูฝักแปลง  - พิสมัยเรียงหมอน – กังหันร่อน<br />\n                        ชุดที่ 4  ประกอบด้วยท่า<br />\n-          ท่าจีบหลัง – พรหมสี่หน้า – พิสมัยเรียงหมอนแปลง – ตากปีก – จีบหลังวันทา<br />\n                 การฟ้อนในแต่ละชุดหมายความว่า เริ่มตั้งแต่ท่ารำชุดที่ 1  พอจบก็ต่อท่ารำชุดที่ 2 และฟ้อนไปจนจบชุดที่ 5 แต่บางครั้งก็อาจจะฟ้อนไม่ครบท่าทั้ง 5 ชุดก็ได้  โดยอาจฟ้อนตั้งแต่ท่าชุดที่ 1 – 3  หรือ 1 – 4 ก็ได้  เพื่อให้เหมาะสมกับเวลา หรือสลับท่าอย่างไร ก็แล้วแต่ครูผู้ฝึกหรือช่างฟ้อนจะพิจารณาเอาเอง\n</p>\n<p>\n                <strong>  เพลงร้อง</strong>  อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ถ้ามีบทร้องก็จะให้บทนี้<br />\n                     ตี้ปาโม่ปา ฮ้าซั่งโชยา โอมองโละ<br />\n                     เลเปี้ยง มะลันโซ มโหรา<br />\n                     ก้มแจ้  ปีปา  ตระแน<br />\n                     ป๊านปาน  โต้เว  เห..<br />\n                     เต๊ เต โล่ทา อ่าเต เตโล่ทา<br />\n                     คิดแต่โซว โลวลั่นเปียว<br />\n                     เอโส เอ ตั่ง โม่ลา<br />\n                     ตั๋วจะต้องมีความฮู้เอาไว้                             พี่มานพจะมาเป็นคู่ ถ้าไม่มีความรู้น้องก็ไม่เอา<br />\n                     หน้าดำกะหลวก  ถ้าใจ่ก๋านบ่ได้                     มาเป็นสามี สมัยปัจจุบันนี้น้องบัวตองกลัว<br />\n                      แล้วไผจะเอาอ้ายมานอนโตย                       ไม่มีความรู้ติดตัวแต่งงานกันไม่ได้ พ่อแม่ของ<br />\n                      น้อยมานพจะมาเป๋นกู่                                 น้องจึงไม่พอใจ กลัวว่าจะเอกันไปใช้เปล่า ๆ <br />\n                      ถ้าบ่หมีความฮู้ข้าเจ้าตึงบ่เอาเป็นผัว               กลัวจะอายไปถึงพี่น้อง<br />\n                      สมัยนี้อี่บัวตองตึงกั๋ว                                  บ่มีความฮู้ติดตั๋วเอากั๋นตึงบ่ได้<br />\n                      ป่อแม่ข้าเจ้าตึงบ่อเปิงใจ๋                             กั๋วเอาของไปซุบบาตาย  กั๋วอับ กั๋วอายไปแผวผี๋<br />\n                      แผวน้อง                                                 จิ่มแหล่         \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ที่มาของเรื่อง :</span> <a href=\"http://www.maemoh.org/maemoh45/Maemoh1/foonleb.htm\">http://www.maemoh.org/maemoh45/Maemoh1/foonleb.htm</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ท่าฟ้อน <span style=\"color: #000000\">จากบทความของ สนั่น   ธรรมธิ  (สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่) </span><br />\n</span>          การฟ้อนชนิดนี้มีมาแต่ดั้งเดิม คณะศรัทธาของแต่ละวัดมักมีครูฝึกสืบทอดต่อกันมา เมื่อถึงฤดูกาลที่จะมีงานปอยหลวง ซึ่งเป็นงานฉลองศาสนสถาน มักมีการฝึกซ้อม เด็กสาวในหมู่บ้านเพื่อแสดงในงานดังกล่าวเสมอ โดยที่รูปแบบกระบวนและลีลาท่าฟ้อนไม่ได้กำหนดตายตัว แต่ละครูหรือแต่ละวัดอาจแตกต่างกันไป ในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้มีการปรับปรุงและประดิษฐ์ท่าฟ้อนให้ดูอ่อนช้อยงดงามยิ่งขึ้น และบุคคล ผู้หนึ่งซึ่งเคยได้รับการถ่ายทอดจากคุ้มเจ้าหลวงได้แก่ ครูสัมพันธ์    โชตนา\n</p>\n<p>\nในโอกาสที่ครูสัมพันธ์ได้เข้าไปถ่ายทอดศิลปะการฟ้อนชนิดนี้แก่วิทยาลัย นาฏศิลปเชียงใหม่ ท่านได้กำหนดท่าฟ้อนไว้ 17 ท่าดังนี้<br />\n1. จีบส่งหลัง                      2. กลางอัมพร                         3. บิดบัวบาน<br />\n4. จีบสูงส่งหลัง                   5. บัวชูฝัก                             6. สะบัดจีบ<br />\n7. กราย                            8. ผาลาเพียงไหล่                    9. สอดสร้อย<br />\n10. ยอดตอง                      11. กินนรรำ                           12. พรหมสี่หน้า<br />\n13. กระต่ายต้องแร้ว              14. หย่อนมือ                         15. จีบคู่งอแขน<br />\n16. ตากปีก                        17. วันทาบัวบาน<br />\nท่ารำต่างๆ ดังกล่าว อาจมีการเพิ่มท่า ตัดตอน หรือลำดับท่าก่อนหลังตามที่ครูจะกำหนด\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1727563939, expire = 1727650339, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0e1cca567fe3d5f43e2d2b81389ea876' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟ้อนเล็บ

รูปภาพของ trmploykan

 

ฟ้อนเล็บ


ที่มาของภาพ : หนังสือวิพิธทัศนา, สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ (๒๕๔๒, ๕๔) 


            ภาคเหนือของประเทศไทยมีสภาพดินฟ้าอากาศค่อนข้างหนาวอากาศสดชื่นไม่แห้งแล้ง  ฉะนั้นคนในภาคเหนือจึงมีนิสัยเยือกเย็น  ศิลปะที่แสดงออกมาจึงมีลีลาค่อนข้างช้าอ่อนช้อยงดงามอยู่ในตัวเอง  ประณีตในท่ารำ อันได้แก่ประเภทฟ้อนต่าง  ๆ  ตลอดถึงการแต่งกายอันเป็นสัญลักษณ์ของหญิงชาวเหนือ   เมื่อพูดถึงฟ้อนคนไทยทุกคนจะต้องรู้จักและนึกภาพได้ทันที  นับว่าฟ้อนเป็นตัวแทนของศิลปะภาคเหนือได้ดียิ่ง
            ฟ้อนเล็บ หรือเรียกกันว่าฟ้อนครัวทาน ฟ้อนเมืองบ้าง ฟ้อนเล็บบ้าง   ทั้ง 3 ชื่อนี้เป็นการฟ้อนชนิดเดียวกัน แต่เรียกไปตามสถานการณ์ของการฟ้อน เช่น การฟ้อนครัวทาน คือการฟ้อนนำขบวนแห่ของชาวบ้านที่จัดขึ้นเรียกว่า  ครัวทาน”  ซึ่งประกอบด้วยเครื่องอัฐบริขาร (ตั้งแต่ไม้กวาด หม้อน้ำยา และเงินทอง) เพราะประเพณีทางเหนือนั้นเมื่อพ้นการทำนาแล้วชาวบ้านก็จะมุ่งทำบุญมีการบูรณะวัด เป็นต้น ถ้าหมู่บ้านใดบูรณะวัดเรียบร้อยแล้ว ก็นิยมบอกบุญไปยังหมู่บ้านอื่น ๆ ก็ให้มาช่วยทำบุญฉลอง  เช่นฉลองโบสถ์ วิหาร เป็นต้น จึงเรียกว่าฟ้อนครัวทาน หรือฟ้อนเมือง  สมัยโบราณจะหาดูได้ยาก ถ้าจะดูการฟ้อนที่สวยงามและมีลีลาอันอ่อนช้อยต้องเป็นฟ้อนของคุ้มเจ้าหลวง เพราะผู้ฟ้อนส่วนมากล้วนแต่ฝึกหัดมาอย่างดี  ใช้แสดงประกอบพิธีเฉพาะในงานสำคัญในพระราชฐานเท่านั้น   ผู้ฟ้อนโดยมากล้วนแต่เป็นเจ้านายเชื้อพระวงศ์ฝ่ายในทั้งสิ้น  
            การฟ้อนครั้งสำคัญก็เมื่อคราวพระราชชายา เจ้าดารารัศมี  ได้ทรงฝึกหัดเจ้านายและหญิงสาวฝ่ายในฟ้อนถวายรับเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7  คราวเสด็จประภาสภาคเหนือ  เมื่อ พ.ศ. 2469  โดยครูนาศิลป์ของกรมศิลปากรได้ฝึกหัดจำไว้ ภายหายหลังจึงได้นำสอนและมีการฝึกหัดสืบต่อมา เช่นเป็นการฟ้อนรำชนิดหนึ่งของไทยชาวเหนือ ตามลักษณะของผู้ฟ้อน ซึ่งแต่งตัวแบบไทยชาวเหนือ แล้วสวมเล็บยาวทุกคน  โดยผู้ฟ้อนสวมเล็บยาวทุกนิ้วเว้นนิ้วหัวแม่มือ แบบฉบับการฟ้อนที่ดีได้รักษากันไว้เป็นแบบแผนกันในคุ้มเจ้าหลวง  จึงเป็นศิลปะที่ไม่สู้จะได้ชมกันบ่อยนัก  การฟ้อนชนิดนี้ได้มาเป็น ที่รู้จักแพร่หลายในกรุงเทพฯ คราวงานสมโภชน์พระเศวตคชเดชน์ดิลกฯช้างเผือกในรัชกาลที่  7  เมื่อ พ.ศ. 2470
            ต่อมาการฟ้อนแบบนี้ก็ซบเซาไปพักหนึ่ง ไม่ค่อยจะได้ดูกันบ่อยนัก มีอยู่บ้างที่หัดฟ้อนกันขึ้นเป็นครั้งคราว แต่การฟ้อนและลีลาต่าง ๆ  ไม่ได้มีหลักเกณฑ์อะไรที่แน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่ครูผู้ฝึกจะดำเนินการสอนแบบไหน ทั้งท่าทางและจังหวะการฟ้อน ฉะนั้นการฟ้อนในระยะนี้จึงแหตกต่างกันอออกไป ในปี พ.ศ. 2474 เจ้าหญิงบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่ ธิดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ท่านเป็นผู้รักศิลปะทางนี้มาก จึงได้รวบรวมเด็กหญิงในคุ้มให้ครูหลวงเป็นผู้ฝึกหัดในแบบต่าง ๆ ทั้งนี้  เจ้าแก้วนวรัฐ ก็ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี จึงประทานให้หม่อมแส ซึ่งเป็นหม่อมของท่านและมีความรู้เชี่ยวชาญในศิลปะการฟ้อน เป็นผู้ควบคุมการฝึกหัด ในระยะนี้ต้องใช้เวลาทั้งปรับปรุงท่าทาง เครื่องแต่งกายและดนตรี เพื่อความเหมาะสมเป็นระเบียบเรียบร้อยเป็นแบบอย่างที่เชื่อถือได้ ในระหว่างการฝึกอบรมนี้ ก็ได้มีการจัดการแสดงต้อนรับแขกเมือง และให้ประชาชนชมอยู่เสมอ  เมื่อเจ้าแก้วนวรัฐได้พิราลัย   (ตาย) ไปแล้ว การฟ้อนรำเหล่านี้จึงชะงักไป แต่ก็มีอยู่บ้างตามโรงเรียนต่าง ๆ และวัดแทบทุกวัด
            ต่อมาประมาณปี    พ.ศ. 2503  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จประภาสจังหวัดเชียงใหม่   บรรดา ครู   นักศึกษา ตลอดจนวัดต่าง ๆ ได้พากันฟื้นฟูการฟ้อนขึ้นอีกเพื่อเป็นการรับเสด็จฯ และต้อนรับพระราชอาคันตุกะที่มาเยือนจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้รับความสนพระทัยและสนใจจากพระราชอาคันตุกะเป็นอันมาก      ปัจจุบันการฟ้อนชนิดนี้มีอยู่ตามวัดต่าง ๆ และในหมู่นักเรียน นักศึกษา  เพราะถือว่าเป็นวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นที่ต้องสงวนและรักษาไว้  แต่ลีลาการฟ้อนเป็นไปตามครูผู้สอนไม่ได้ยึดถืออะไรเป็นหลักที่แน่นอน
            ผู้แสดง  แต่ละชุดของแต่ละหมู่บ้าน  จะใช้จำนวนคนแตกต่างกันไปบ้าง  แต่ที่นิยมกันมากคือ  จำนวน 4 คู่ หรือ 8 คน และจะไม่เกิน 16 คน แต่ก็ไม่ได้ห้ามว่าเกิน  16 คนไม่ได้ ข้อสำคัญต้องเป็นจำนวนคู่
            การแต่งกาย  จะแต่งกายแบบไทยชาวภาคเหนือสมัยโบราณ  นุ่งผ้าซิ่นมีเชิงลายขวาง เสื้อคอกลมแขนยาว และห่มผ้าสไบเฉียงทับ เกล้าผมมวยสูงทัดดอกไม้และห้อยอุบะ และสวมเล็บยาวทั้ง 8 นิ้ว เว้นแต่นิ้วหัวแม่มือ การแต่งกายสมัยก่อน ถ้าเป็นฟ้อนธรรมดาของแต่ละหมู่บ้าน การแต่งกายจะเป็น 2 ลักษณะคือ
๑.     ใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก เอวรูด  ไม่ห่มผ้า ผ้าซิ่นจะเป็นแบบลายขวาง ต่อเอวดำตีนดำ  (ตีน คือเชิงผ้าของผ้าซิ่น )
๒.     ใส่เสื้อคอกลมแขนกระบอก เอวปล่อย ห่มผ้า ใส่สร้อย ผ้าซิ่นให้ใช้ผ้าตีนจก หรือผ้าทอ (การแต่งกายในข้อนี้ จะใช้แต่งในงานใหญ่และในคุ้มเจ้านาย)การแต่งกายจะเหมือนกันทั้งหมดหรือเหมือนกันเฉพาะคู่ก็ได้

วงดนตรี
วงดนตรีที่ใช้ประกอบการฟ้อน เรียกว่าวง  “ ตึ่งโนง “  ประกอบด้วย
๑.     กลองหลวงต่อมาใช้กลองแอว
๒.     ปี่แน   2    เลา  คือ แนน้อยและแนหลวง
๓.     ฉาบใหญ่
๔.     ตะโลดโป๊ด
๕.     ฆ้องใหญ่
เวลาดนตรีบรรเลงเสี่ยปี่ดังไพเราะเยือกเย็นมาก ท่วงทำนองเชื่องช้าเสียงกลองจะดีดังขัดเสียงปี่ ดัง  ตะ ตึ่ง นง ตึ่ง ตัก ถ่ง  อย่างนี้เรื่อยไป ส่วนช่างฟ้อนก็จะฟ้อนอย่างช้า ๆ ไปตามลีลาของเพลง

               การฟ้อนมี 7 จังหวะ และแบ่งท่ารำออกเป็น  4 ชุด คือ
                                ชุดที่ 1  ประกอบด้วยท่า
-          ท่าจีบหลัง (ยูงฟ้อนหาง) บังสุริยา – วันทาบัวบาน-กังหันร่อน
                                 ชุดที่ 2  ประกอบด้วยท่า
-          ท่าจีบหลัง- ตระเวนเวหา-ชักระบี่สี่ท่า –พระรถโดยสาร  - ผาลาเพียงไหล่  - บัวชูฝัก – กังหันร่อน
                        ชุดที่ 3 ประกอบด้วยท่า
-          ท่าจีบหลัง – พายเรือ – บัวชูฝักแปลง  - พิสมัยเรียงหมอน – กังหันร่อน
                        ชุดที่ 4  ประกอบด้วยท่า
-          ท่าจีบหลัง – พรหมสี่หน้า – พิสมัยเรียงหมอนแปลง – ตากปีก – จีบหลังวันทา
                 การฟ้อนในแต่ละชุดหมายความว่า เริ่มตั้งแต่ท่ารำชุดที่ 1  พอจบก็ต่อท่ารำชุดที่ 2 และฟ้อนไปจนจบชุดที่ 5 แต่บางครั้งก็อาจจะฟ้อนไม่ครบท่าทั้ง 5 ชุดก็ได้  โดยอาจฟ้อนตั้งแต่ท่าชุดที่ 1 – 3  หรือ 1 – 4 ก็ได้  เพื่อให้เหมาะสมกับเวลา หรือสลับท่าอย่างไร ก็แล้วแต่ครูผู้ฝึกหรือช่างฟ้อนจะพิจารณาเอาเอง

                  เพลงร้อง  อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ถ้ามีบทร้องก็จะให้บทนี้
                     ตี้ปาโม่ปา ฮ้าซั่งโชยา โอมองโละ
                     เลเปี้ยง มะลันโซ มโหรา
                     ก้มแจ้  ปีปา  ตระแน
                     ป๊านปาน  โต้เว  เห..
                     เต๊ เต โล่ทา อ่าเต เตโล่ทา
                     คิดแต่โซว โลวลั่นเปียว
                     เอโส เอ ตั่ง โม่ลา
                     ตั๋วจะต้องมีความฮู้เอาไว้                             พี่มานพจะมาเป็นคู่ ถ้าไม่มีความรู้น้องก็ไม่เอา
                     หน้าดำกะหลวก  ถ้าใจ่ก๋านบ่ได้                     มาเป็นสามี สมัยปัจจุบันนี้น้องบัวตองกลัว
                      แล้วไผจะเอาอ้ายมานอนโตย                       ไม่มีความรู้ติดตัวแต่งงานกันไม่ได้ พ่อแม่ของ
                      น้อยมานพจะมาเป๋นกู่                                 น้องจึงไม่พอใจ กลัวว่าจะเอกันไปใช้เปล่า ๆ
                      ถ้าบ่หมีความฮู้ข้าเจ้าตึงบ่เอาเป็นผัว               กลัวจะอายไปถึงพี่น้อง
                      สมัยนี้อี่บัวตองตึงกั๋ว                                  บ่มีความฮู้ติดตั๋วเอากั๋นตึงบ่ได้
                      ป่อแม่ข้าเจ้าตึงบ่อเปิงใจ๋                             กั๋วเอาของไปซุบบาตาย  กั๋วอับ กั๋วอายไปแผวผี๋
                      แผวน้อง                                                 จิ่มแหล่         

ที่มาของเรื่อง : http://www.maemoh.org/maemoh45/Maemoh1/foonleb.htm

ท่าฟ้อน จากบทความของ สนั่น   ธรรมธิ  (สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
          การฟ้อนชนิดนี้มีมาแต่ดั้งเดิม คณะศรัทธาของแต่ละวัดมักมีครูฝึกสืบทอดต่อกันมา เมื่อถึงฤดูกาลที่จะมีงานปอยหลวง ซึ่งเป็นงานฉลองศาสนสถาน มักมีการฝึกซ้อม เด็กสาวในหมู่บ้านเพื่อแสดงในงานดังกล่าวเสมอ โดยที่รูปแบบกระบวนและลีลาท่าฟ้อนไม่ได้กำหนดตายตัว แต่ละครูหรือแต่ละวัดอาจแตกต่างกันไป ในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้มีการปรับปรุงและประดิษฐ์ท่าฟ้อนให้ดูอ่อนช้อยงดงามยิ่งขึ้น และบุคคล ผู้หนึ่งซึ่งเคยได้รับการถ่ายทอดจากคุ้มเจ้าหลวงได้แก่ ครูสัมพันธ์    โชตนา

ในโอกาสที่ครูสัมพันธ์ได้เข้าไปถ่ายทอดศิลปะการฟ้อนชนิดนี้แก่วิทยาลัย นาฏศิลปเชียงใหม่ ท่านได้กำหนดท่าฟ้อนไว้ 17 ท่าดังนี้
1. จีบส่งหลัง                      2. กลางอัมพร                         3. บิดบัวบาน
4. จีบสูงส่งหลัง                   5. บัวชูฝัก                             6. สะบัดจีบ
7. กราย                            8. ผาลาเพียงไหล่                    9. สอดสร้อย
10. ยอดตอง                      11. กินนรรำ                           12. พรหมสี่หน้า
13. กระต่ายต้องแร้ว              14. หย่อนมือ                         15. จีบคู่งอแขน
16. ตากปีก                        17. วันทาบัวบาน
ท่ารำต่างๆ ดังกล่าว อาจมีการเพิ่มท่า ตัดตอน หรือลำดับท่าก่อนหลังตามที่ครูจะกำหนด


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 296 คน กำลังออนไลน์