• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:27b0626043fbe1d7bb357d6fc496a19f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: medium; color: #000000\"><h7 style=\"text-align: center\"><span class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff0000\"><center>โมเมนต์ของแรง</center></span></span></h7><br />\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">         โมเมนต์ของแรง (moment of force) หรือโมเมนต์ (moment) หมายถึง ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุเพื่อให้วัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังนั้น โมเมนต์ของแรงก็คือ ผลคูณของแรงกับระยะตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน ดังสูตร</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-1.JPG\" width=\"388\" height=\"80\" /></p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">ทิศทางของโมเมนต์ มี 2 ทิศทาง คือ<br />1. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา<br />2. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา<br /><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-2.JPG\" width=\"292\" height=\"111\" /></p>\n<blockquote><p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"> <b>รูปแสดงทิศทางของโมเมนต์</b> </p>\n</blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">จากรูป โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = WxL<span class=\"style3\" style=\"font-size: 10px\">2</span> (นิวตัน-เมตร)<br />โมเมต์ทวนเข็มนาฬิกา = ExL<span class=\"style3\" style=\"font-size: 10px\">1 </span>(นิวตัน-เมตร)<br />ถ้ามีแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง แล้วทำให้วัตถุนั้นอยู่ในสภาวะสมดุลจะได้ว่า<br />ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">&nbsp;</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>คาน</b></p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">หลักการของโมเมนต์ เรานำมาใช้กับอุปกรณ์ที่เรียกว่า คาน (lever) หรือคานดีดคานงัด คานเป็นเครื่องกลชนิดหนึ่งที่ใช้ดีดงัดวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมด (fulcrum) มีลักษณะเป็นแท่งยาว หลักการทำงานของคานใช้หลักของโมเมนต์<br /><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-3.JPG\" width=\"280\" height=\"98\" /></p>\n<blockquote><p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"> <b>รูปแสดงลักษณะของคาน</b> </p>\n</blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">ส่วนประกอบของคาน ส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของคานมี 3 ส่วน คือ<br />1. จุดหมุนหรือจุดฟัลกรัม (Fulcrum) F<br />2. แรงความต้านทาน (W) หรือน้ำหนักของวัตถุ<br />3. แรงความพยายาม (E) หรือแรงที่กระทำต่อคาน</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">การจำแนกคาน คานจำแนกได้ 3 ประเภทหรือ 3 อันดับดังนี้<br /><b>1. คานอันดับที่ 1 </b>เป็นคานที่มีจุด (F) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และแรงความต้านทาน (W) เช่น กรรไกรตัดผ้า กรรไกรตัดเล็บ คีมตัดลวด เรือแจว ไม้กระดก เป็นต้น</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-4.JPG\" width=\"767\" height=\"370\" /></p>\n<blockquote><blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"> <b>รูปแสดงคานอันดับ 1</b> </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>2. คานอันดับ 2</b> เป็นคานที่มีแรงความต้านทาน (W) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และจุดหมุน (F) เช่น ที่เปิดขวดน้ำอัดลม รถเข็นทราย ที่ตัดกระดาษ เป็นต้น</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-5.JPG\" width=\"682\" height=\"367\" /></p>\n<blockquote><blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"> <b>รูปแสดงคานอันดับ 2</b> </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>3. คานอันดับที่ 3 </b>เป็นคานที่มีแรงความพยายาม (E) อยู่ระหว่างแรงความต้านทาน (W) และจุดหมุน (F) เช่น ตะเกียบ คีมคีบถ่าน แหนบ เป็นต้น<br /><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-6.JPG\" width=\"677\" height=\"353\" /></p>\n<blockquote><blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"> <b>รูปแสดงคานอันดับ 3</b> </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">การผ่อนแรงของคาน จะมีค่ามากหรือน้อยโดยดูจากระยะ E ถึง F และ W ว่าถ้าระยะ EF ยาวหรือสั้นกว่าระยะ WF ถ้าในกรณีที่ยาวกว่าก็จะช่วยผ่อนแรง ถ้าสั้นกว่าก็จะไม่ผ่อนแรง</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>หลักการคำนวณเรื่องคาน</b> มีดังนี้<br />1. ถ้าโจทย์ไม่บอกน้ำหนักของคานมาให้ เราไม่ต้องคิดน้ำหนักของคาน ถือว่าคานนั้นเบามาก<br />2. ในการคำนวณให้ถือว่า คานมีขนาดสม่ำเสมอกันตลอด<br />3. ถ้าโจทย์บอกน้ำหนักคานมาให้ต้องคิดน้ำหนักคานด้วย โดยถือว่าน้ำหนักของคานจะอยู่จุดกึ่งกลางคานเสมอ<br />4. เมื่อคานอยู่ในสภาวะสมดุล โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา<br />5. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา หรือโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกามีค่าเท่ากับ ผลบวกของโมเมนต์ย่อยแต่ละชนิด<br />6. เมื่อมีแรงมากระทำที่จุดหมุน ค่าของโมเมนต์มีค่าเท่ากับศูนย์เพราะระยะทางเป็นศูนย์ ดังนี้<br />โมเมนต์ = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง<br />= แรง x 0<br />โมเมนต์ = 0</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>หลักการคำนวณเรื่องโมเมนต</b>์ เช่น<br /><b>ตัวอย่างที่ 1</b> คานอันหนึ่งเบามากมีน้ำหนัก 30 นิวตันแขวนที่ปลายคานข้างหนึ่ง และอยู่ห่างจุดหมุน 2 เมตร จงหาว่าจะต้องแขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ทางด้านตรงกันข้ามที่ใดคานจึงจะสมดุล<br /><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-7.JPG\" width=\"316\" height=\"122\" /></p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>วิธีทำ</b> สมมุติให้แขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน x เมตร คิดโมเมนต์ที่จุด F<br /><b><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-9.JPG\" width=\"196\" height=\"125\" /></b><br /><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/16-11-1.JPG\" width=\"14\" height=\"19\" /> ต้องแขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน 4 เมตร <b>ตอบ</b></p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>ตัวอย่างที่ 2</b> คานยาว 10 เมตรงัดวัตถุหนัก 100 นิวตัน โดยวางให้จุดหมุนอยู่ห่างจากวัตถุ 1 เมตร จงหาว่า จะต้องออกแรงที่ปลายคานอีกข้างหนึ่งเท่าไร</p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-8.JPG\" width=\"279\" height=\"102\" /></p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"><b>วิธีทำ </b>คิดโมเมนต์ที่จุด F<br /><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17-10.JPG\" width=\"196\" height=\"125\" /><br /><img src=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/16-11-1.JPG\" width=\"14\" height=\"19\" /> ต้องออกแรงพยายาม = 11.11 นิวตัน <b>ตอบ</b></p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\"> ที่มา : <span style=\"font-family: Tahoma\" class=\"Apple-style-span\"><a href=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17.htm\">http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17.htm</a></span></p>\n<p class=\"style1\" style=\"font-family: \'MS Sans Serif\', Tahoma, sans-serif\">จัดทำโดย  เด็กชายธิเบศ     ทองสี  ม.3/5 เลขที่ 10 </p>\n<p></p></span></p>\n', created = 1715683476, expire = 1715769876, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:27b0626043fbe1d7bb357d6fc496a19f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โมเมนต์ของแรง

โมเมนต์ของแรง

         โมเมนต์ของแรง (moment of force) หรือโมเมนต์ (moment) หมายถึง ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุเพื่อให้วัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังนั้น โมเมนต์ของแรงก็คือ ผลคูณของแรงกับระยะตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน ดังสูตร

ทิศทางของโมเมนต์ มี 2 ทิศทาง คือ
1. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
2. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา

รูปแสดงทิศทางของโมเมนต์

จากรูป โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา = WxL2 (นิวตัน-เมตร)
โมเมต์ทวนเข็มนาฬิกา = ExL(นิวตัน-เมตร)
ถ้ามีแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง แล้วทำให้วัตถุนั้นอยู่ในสภาวะสมดุลจะได้ว่า
ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา

 

คาน

หลักการของโมเมนต์ เรานำมาใช้กับอุปกรณ์ที่เรียกว่า คาน (lever) หรือคานดีดคานงัด คานเป็นเครื่องกลชนิดหนึ่งที่ใช้ดีดงัดวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมด (fulcrum) มีลักษณะเป็นแท่งยาว หลักการทำงานของคานใช้หลักของโมเมนต์

รูปแสดงลักษณะของคาน

ส่วนประกอบของคาน ส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของคานมี 3 ส่วน คือ
1. จุดหมุนหรือจุดฟัลกรัม (Fulcrum) F
2. แรงความต้านทาน (W) หรือน้ำหนักของวัตถุ
3. แรงความพยายาม (E) หรือแรงที่กระทำต่อคาน

การจำแนกคาน คานจำแนกได้ 3 ประเภทหรือ 3 อันดับดังนี้
1. คานอันดับที่ 1 เป็นคานที่มีจุด (F) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และแรงความต้านทาน (W) เช่น กรรไกรตัดผ้า กรรไกรตัดเล็บ คีมตัดลวด เรือแจว ไม้กระดก เป็นต้น

รูปแสดงคานอันดับ 1

2. คานอันดับ 2 เป็นคานที่มีแรงความต้านทาน (W) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และจุดหมุน (F) เช่น ที่เปิดขวดน้ำอัดลม รถเข็นทราย ที่ตัดกระดาษ เป็นต้น

รูปแสดงคานอันดับ 2

3. คานอันดับที่ 3 เป็นคานที่มีแรงความพยายาม (E) อยู่ระหว่างแรงความต้านทาน (W) และจุดหมุน (F) เช่น ตะเกียบ คีมคีบถ่าน แหนบ เป็นต้น

รูปแสดงคานอันดับ 3

การผ่อนแรงของคาน จะมีค่ามากหรือน้อยโดยดูจากระยะ E ถึง F และ W ว่าถ้าระยะ EF ยาวหรือสั้นกว่าระยะ WF ถ้าในกรณีที่ยาวกว่าก็จะช่วยผ่อนแรง ถ้าสั้นกว่าก็จะไม่ผ่อนแรง

หลักการคำนวณเรื่องคาน มีดังนี้
1. ถ้าโจทย์ไม่บอกน้ำหนักของคานมาให้ เราไม่ต้องคิดน้ำหนักของคาน ถือว่าคานนั้นเบามาก
2. ในการคำนวณให้ถือว่า คานมีขนาดสม่ำเสมอกันตลอด
3. ถ้าโจทย์บอกน้ำหนักคานมาให้ต้องคิดน้ำหนักคานด้วย โดยถือว่าน้ำหนักของคานจะอยู่จุดกึ่งกลางคานเสมอ
4. เมื่อคานอยู่ในสภาวะสมดุล โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
5. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา หรือโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกามีค่าเท่ากับ ผลบวกของโมเมนต์ย่อยแต่ละชนิด
6. เมื่อมีแรงมากระทำที่จุดหมุน ค่าของโมเมนต์มีค่าเท่ากับศูนย์เพราะระยะทางเป็นศูนย์ ดังนี้
โมเมนต์ = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง
= แรง x 0
โมเมนต์ = 0

หลักการคำนวณเรื่องโมเมนต์ เช่น
ตัวอย่างที่ 1 คานอันหนึ่งเบามากมีน้ำหนัก 30 นิวตันแขวนที่ปลายคานข้างหนึ่ง และอยู่ห่างจุดหมุน 2 เมตร จงหาว่าจะต้องแขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ทางด้านตรงกันข้ามที่ใดคานจึงจะสมดุล

วิธีทำ สมมุติให้แขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน x เมตร คิดโมเมนต์ที่จุด F

 ต้องแขวนน้ำหนัก 15 นิวตัน ห่างจากจุดหมุน 4 เมตร ตอบ

ตัวอย่างที่ 2 คานยาว 10 เมตรงัดวัตถุหนัก 100 นิวตัน โดยวางให้จุดหมุนอยู่ห่างจากวัตถุ 1 เมตร จงหาว่า จะต้องออกแรงที่ปลายคานอีกข้างหนึ่งเท่าไร

วิธีทำ คิดโมเมนต์ที่จุด F

 ต้องออกแรงพยายาม = 11.11 นิวตัน ตอบ

 ที่มา : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432210100/17.htm

จัดทำโดย  เด็กชายธิเบศ     ทองสี  ม.3/5 เลขที่ 10 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 456 คน กำลังออนไลน์