• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a30d913b74d0dc447659591bcdccf7df' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<u><strong> <span style=\"color: #0000ff\">คาน (กลศาสตร์)</span></strong></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">    ในทาง</span><a href=\"/wiki/ฟิสิกส์\" title=\"ฟิสิกส์\"><span style=\"color: #0000ff\">ฟิสิกส์</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> <b>คาน</b>หมายถึงวัตถุแข็งเกร็งที่ใช้โดยมี</span><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"จุดหมุน (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">จุดหมุน</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> เพื่อทวีคูณแรงเชิงกล ที่กระทำต่อวัตถุอื่น และนับเป็นตัวอย่างหนึ่งของหลักโมเมนต์ หลักของคานนั้นยังใช้จากการใช้</span><a href=\"/wiki/กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน\" title=\"กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน\"><span style=\"color: #0000ff\">กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> และ</span><a href=\"/wiki/สถิตยศาสตร์\" title=\"สถิตยศาสตร์\"><span style=\"color: #0000ff\">สถิตยศาสตร์</span></a><span style=\"color: #0000ff\">สมัยใหม่</span>\n</p>\n<p>\n<span id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A8.E0.B8.B6.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.A1.E0.B8.B1.E0.B8.A2.E0.B9.81.E0.B8.A3.E0.B8.81.E0.B9.86\"><span style=\"color: #0000ff\">การศึกษาสมัยแรกๆ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">มีงานเขียนที่ยังคงหลงเหลือที่เก่าที่สุด ซึ่งกล่าวถึงเรื่องคานนั้น เป็นผลงานของ</span><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อาร์คีมีดิส (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">อาร์คีมีดิส</span></a><span style=\"color: #0000ff\">ตั้งแต่ 3 ศตวรรษก่อนคริสตกาล โดยเขากล่าวว่า &quot;ขอที่ให้ฉันยืนเถิด แล้วฉันจะเคลื่อนโลกให้&quot; (Give me the place to stand, and I shall move the earth) นี่คือคำพูดของอาร์คิมิดีส ผู้ระบุไว้อย่างเป็นหลักการ ถึงหลักทาง</span><a href=\"/wiki/คณิตศาสตร์\" title=\"คณิตศาสตร์\"><span style=\"color: #0000ff\">คณิตศาสตร์</span></a><span style=\"color: #0000ff\">ที่ถูกต้องของคาน (อ้างจาก </span><a href=\"/w/index.php?title=Pappus_of_Alexandria&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Pappus of Alexandria (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">Pappus of Alexandria</span></a><span style=\"color: #0000ff\">)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ใน</span><a href=\"/wiki/อียิปต์โบราณ\" title=\"อียิปต์โบราณ\"><span style=\"color: #0000ff\">อียิปต์โบราณ</span></a><span style=\"color: #0000ff\">นั้น ผู้สร้างอาคารหรือ</span><a href=\"/wiki/พีระมิด\" title=\"พีระมิด\"><span style=\"color: #0000ff\">พีระมิด</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> จะใช้คานเพื่อย้ายและยก</span><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โอบีลิสก์ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">โอบีลิสก์</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> (obelisk) ซึ่งมีน้ำหนักกว่า 100 </span><a href=\"/wiki/ตัน\" title=\"ตัน\"><span style=\"color: #0000ff\">ตัน</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> ได้</span>\n</p>\n<h2><u><span style=\"color: #0000ff\"> <span id=\".E0.B9.81.E0.B8.A3.E0.B8.87.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B8.99\" class=\"mw-headline\">แรงและคาน</span></span></u></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แรงที่กระทำจะเป็นสัดส่วนตามอัตราส่วนของความยาวของแขนคาน ซึ่งวัดระหว่างจุดหมุน และจุดที่มีแรงมากระทำ ที่ปลายแต่ละด้านของคาน)</span>\n</p>\n<h2><u><span style=\"color: #0000ff\"> <span id=\".E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B8.99_3_.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.94.E0.B8.B1.E0.B8.9A\" class=\"mw-headline\">คาน 3 ระดับ</span></span></u></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">มีการจำแนกคานไว้ 3 ระดับด้วยกัน ตามตำแหน่งของจุดหมุน และแรงที่กระทำและแรงที่ได้</span>\n</p>\n<h3><u><span style=\"color: #0000ff\"> <span id=\".E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.94.E0.B8.B1.E0.B8.9A.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88_1\" class=\"mw-headline\">คานระดับที่ 1</span></span></u></h3>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<h3 align=\"center\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/0/03/LeverFirstClass.svg/250px-LeverFirstClass.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></h3>\n<p></p>\n<p>\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:LeverFirstClass.svg\" title=\"คานระดับที่ 1\" class=\"image\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">คานระดับที่ 1 เป็นคานที่มีจุดหมุนระหว่างแรงกดและแรงยก และกระทำโดยออกแรงกดหรือผลักไปบนส่วนหนึ่งของคานนั้น และทำให้คานหมุน และเอาชนะแรงต้านได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ตัวอย่าง:</span>\n</p>\n<ol>\n<li><a href=\"/wiki/ไม้กระดก\" title=\"ไม้กระดก\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0000ff\">ไม้กระดก</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">หัว</span><a href=\"/wiki/ค้อน\" title=\"ค้อน\"><span style=\"color: #0000ff\">ค้อน</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> (สำหรับถอนตะปู) </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"คีม (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">คีม</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> (คานคู่) </span></li>\n<li><a href=\"/wiki/กรรไกร\" title=\"กรรไกร\"><span style=\"color: #0000ff\">กรรไกร</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> (คานคู่) </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A2_(%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C)&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"พาย (อุปกรณ์) (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">พาย</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> เมื่อใช้พาย คัดท้าย </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ล้อและเพลา (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">ล้อและเพลา</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> เพราะล้อหมุนตามจุดหมุน </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"คันโยกสูบน้ำ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">คันโยกสูบน้ำ</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n</ol>\n<h3><span id=\".E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.94.E0.B8.B1.E0.B8.9A.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.882\"><u><span style=\"color: #0000ff\">คานระดับที่2</span></u></span></h3>\n<h3><span><a href=\"/wiki/ไฟล์:LeverSecondClass.svg\" title=\"คานระดับที่ 1\" class=\"image\">\n<p align=\"center\">\n<span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"></span></p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/22/LeverSecondClass.svg/250px-LeverSecondClass.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n</div>\n<p></p></a></span>\n\n<p></p></h3>\n<p>\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:LeverSecondClass.svg\" title=\"คานระดับที่ 1\" class=\"image\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">คานระดับที่ 2 เป็นคานที่มีแรงต้านอยู่ระหว่างจุดหมุนและแรงกระทำ โดยจะต้องออกแรงยกตรงปลายเพื่อเอาชนะแรงต้าน ซึ่งคานประเภทนี้จะช่วยผ่อนแรง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ตัวอย่าง:</span>\n</p>\n<ol>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A9&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ที่ตัดกระดาษ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">ที่ตัดกระดาษ</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"รถเข็นทราย (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">รถเข็นทราย</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B9%87%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เครื่องกระเทาะเม็ดมะม่วงหิมพานต์ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">เครื่องกระเทาะเม็ดมะม่วงหิมพานต์</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อุปกรณ์หนีบกล้วย (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">อุปกรณ์หนีบกล้วย</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n</ol>\n<h3><span id=\".E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.94.E0.B8.B1.E0.B8.9A.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.883\"><u><span style=\"color: #0000ff\">คานระดับที่3</span></u></span></h3>\n<h3><span><a href=\"/wiki/ไฟล์:ThirdClassLever.svg\" title=\"คานระดับที่ 1\" class=\"image\">\n<p align=\"center\">\n<span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"></span></p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/5/54/ThirdClassLever.svg/250px-ThirdClassLever.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n</div>\n<p></p></a></span>\n\n<p></p></h3>\n<p>\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:ThirdClassLever.svg\" title=\"คานระดับที่ 1\" class=\"image\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">คานระดับที่ 3 เป็นคานที่มีแรงกระทำอยู่ระหว่างจุดหมุนกับแรงต้าน โดยจะต้องออกแรงยกตรงกลางของคานเพื่อเอาชนะแรงต้าน ซึ่งคานประเภทนี้จะไม่ช่วยผ่อนแรง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ตัวอย่าง:</span>\n</p>\n<ol>\n<li><a href=\"/wiki/ตะเกียบ\" title=\"ตะเกียบ\"><span style=\"color: #0000ff\">ตะเกียบ</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%9A%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"คีมคีบถ่าน (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">คีมคีบถ่าน</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n<li><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"คีมคีบน้ำแข็ง (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0000ff\">คีมคีบน้ำแข็ง</span></a><span style=\"color: #0000ff\"> </span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">การกวาดพื้น </span></li>\n</ol>\n<h2><span style=\"color: #0000ff\"> <span id=\".E0.B9.82.E0.B8.A1.E0.B9.80.E0.B8.A1.E0.B8.99.E0.B8.95.E0.B9.8C.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B8.99\" class=\"mw-headline\"><u>โมเมนต์ของคาน</u></span></span></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">โมเมนต์ของคานคือระยะทางจากวัตถุถึงจุดหมุนคูณด้วยน้ำหนักของวัตถุ มีหน่วยเป็นนิวตันเมตร(N*M) โดยโมเมนต์ของคานแบ่งเป็น2ประเภท</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา </span></li>\n<li><span style=\"color: #0000ff\">โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา </span></li>\n</ul>\n<h3><span style=\"color: #0000ff\"><u> <span id=\".E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.AA.E0.B8.A1.E0.B8.94.E0.B8.B8.E0.B8.A5\" class=\"mw-headline\">คานสมดุล</span></u></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">คือคานที่มี โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา คานจะอยู่ในสภาวะสมดุล</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">เช่น กำหนดให้คานในรูปสมดุลกัน โดยคานฝั่งด้านซ้ายของจุดหมุนมีการออกแรง20นิวตันที่ระยะห่างจากจุดหมุน30ซม. คานฝั่งด้านขวาของจุดหมุนมีการออกแรง5นิวตันที่ระยะห่างจากจุดหมุน120ซม. จะได้สมการ <span style=\"font-family: Times New Roman\"><i>M</i><i>o</i><i>m</i><i>e</i><i>n</i><i>t</i><sub><i>t</i></sub> = <i>M</i><i>o</i><i>m</i><i>e</i><i>n</i><i>t</i><sub><i>w</i></sub></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">20(30) = 5(120)</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"color: #0000ff\">600<i>N</i><i>m</i>. = 600<i>N</i><i>m</i></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n ที่มา: <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/\">http://th.wikipedia.org/wiki/</a>\n</p>\n', created = 1715658134, expire = 1715744534, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a30d913b74d0dc447659591bcdccf7df' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e7a121326e48b6b28943a2f61723f8a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ\n</p>\n', created = 1715658134, expire = 1715744534, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e7a121326e48b6b28943a2f61723f8a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คาน

รูปภาพของ knw32303

 คาน (กลศาสตร์)

    ในทางฟิสิกส์ คานหมายถึงวัตถุแข็งเกร็งที่ใช้โดยมีจุดหมุน เพื่อทวีคูณแรงเชิงกล ที่กระทำต่อวัตถุอื่น และนับเป็นตัวอย่างหนึ่งของหลักโมเมนต์ หลักของคานนั้นยังใช้จากการใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และสถิตยศาสตร์สมัยใหม่

การศึกษาสมัยแรกๆ

มีงานเขียนที่ยังคงหลงเหลือที่เก่าที่สุด ซึ่งกล่าวถึงเรื่องคานนั้น เป็นผลงานของอาร์คีมีดิสตั้งแต่ 3 ศตวรรษก่อนคริสตกาล โดยเขากล่าวว่า "ขอที่ให้ฉันยืนเถิด แล้วฉันจะเคลื่อนโลกให้" (Give me the place to stand, and I shall move the earth) นี่คือคำพูดของอาร์คิมิดีส ผู้ระบุไว้อย่างเป็นหลักการ ถึงหลักทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้องของคาน (อ้างจาก Pappus of Alexandria)

ในอียิปต์โบราณนั้น ผู้สร้างอาคารหรือพีระมิด จะใช้คานเพื่อย้ายและยกโอบีลิสก์ (obelisk) ซึ่งมีน้ำหนักกว่า 100 ตัน ได้

 แรงและคาน

แรงที่กระทำจะเป็นสัดส่วนตามอัตราส่วนของความยาวของแขนคาน ซึ่งวัดระหว่างจุดหมุน และจุดที่มีแรงมากระทำ ที่ปลายแต่ละด้านของคาน)

 คาน 3 ระดับ

มีการจำแนกคานไว้ 3 ระดับด้วยกัน ตามตำแหน่งของจุดหมุน และแรงที่กระทำและแรงที่ได้

 คานระดับที่ 1

คานระดับที่ 1 เป็นคานที่มีจุดหมุนระหว่างแรงกดและแรงยก และกระทำโดยออกแรงกดหรือผลักไปบนส่วนหนึ่งของคานนั้น และทำให้คานหมุน และเอาชนะแรงต้านได้

ตัวอย่าง:

  1. ไม้กระดก
  2. หัวค้อน (สำหรับถอนตะปู)
  3. คีม (คานคู่)
  4. กรรไกร (คานคู่)
  5. พาย เมื่อใช้พาย คัดท้าย
  6. ล้อและเพลา เพราะล้อหมุนตามจุดหมุน
  7. คันโยกสูบน้ำ

คานระดับที่2

คานระดับที่ 2 เป็นคานที่มีแรงต้านอยู่ระหว่างจุดหมุนและแรงกระทำ โดยจะต้องออกแรงยกตรงปลายเพื่อเอาชนะแรงต้าน ซึ่งคานประเภทนี้จะช่วยผ่อนแรง

ตัวอย่าง:

  1. ที่ตัดกระดาษ
  2. รถเข็นทราย
  3. เครื่องกระเทาะเม็ดมะม่วงหิมพานต์
  4. อุปกรณ์หนีบกล้วย

คานระดับที่3

คานระดับที่ 3 เป็นคานที่มีแรงกระทำอยู่ระหว่างจุดหมุนกับแรงต้าน โดยจะต้องออกแรงยกตรงกลางของคานเพื่อเอาชนะแรงต้าน ซึ่งคานประเภทนี้จะไม่ช่วยผ่อนแรง

ตัวอย่าง:

  1. ตะเกียบ
  2. คีมคีบถ่าน
  3. คีมคีบน้ำแข็ง
  4. การกวาดพื้น

 โมเมนต์ของคาน

โมเมนต์ของคานคือระยะทางจากวัตถุถึงจุดหมุนคูณด้วยน้ำหนักของวัตถุ มีหน่วยเป็นนิวตันเมตร(N*M) โดยโมเมนต์ของคานแบ่งเป็น2ประเภท

  • โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
  • โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา

 คานสมดุล

คือคานที่มี โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา คานจะอยู่ในสภาวะสมดุล


เช่น กำหนดให้คานในรูปสมดุลกัน โดยคานฝั่งด้านซ้ายของจุดหมุนมีการออกแรง20นิวตันที่ระยะห่างจากจุดหมุน30ซม. คานฝั่งด้านขวาของจุดหมุนมีการออกแรง5นิวตันที่ระยะห่างจากจุดหมุน120ซม. จะได้สมการ Momentt = Momentw


20(30) = 5(120)


600Nm. = 600Nm

 ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/

รูปภาพของ virat

ครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 496 คน กำลังออนไลน์