• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e91d9711d24b03d7be8b585dc204a75a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table cellPadding=\"0\" border=\"0\" align=\"center\" width=\"524\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"260\">\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt\"><b>ความหมายและส่วนประกอบของดาราจักร</b></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">ดาราจักรคือวัตถุท้องฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในเอกภพ</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">       ประกอบด้วย<br />\n          ระบบรวมของดาวฤกษ์<br />\n          กระจุกดาว<br />\n          เนบิวลา<br />\n          ฝุ่นธุลีคอสมิก และก๊าซ <br />\n          ที่ว่าง</span></span> \n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n<td width=\"260\">\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"><img border=\"0\" src=\"/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/picture/prakob.jpg\" height=\"184\" width=\"83\" /></span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\" width=\"520\">\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #6699ff\"><span style=\"font-size: 10pt\"><b>ดาราจักรแบ่งออกเป็น</b></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">1.ส่วนใจกลาง มีดาวฤกษ์เป็นส่วนมาก</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">2.จาน ส่วนที่เป็นแผ่นราบอยู่รอบๆใจกลาง</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">3.แขนของดาราจักร ส่วนที่อยู่ถัดจากจานออกไป</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">ใจกลางของดาราจักรจะมีดาวฤกษ์อยู่เป็นจำนวนมากและจะเริ่มน้อยลงเมื่ออยู่บริเวณขอบของดาราจักร</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #6699ff\"><span style=\"font-size: 10pt\">ดาราจักรแบ่งได้เป็น 2 พวกใหญ่ๆด้วยกันคือ</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">1.<b>ดาราจักรของเรา</b> คือ ดาราจักรทางช้างเผือก เป็นดาราจักรที่มีระบบสุริยะของเราอยู่ ห่างจากใจกลางดาราจักร<br />\n ประมาณ 30000 ปีแสง ลักษณะคล้ายเลนส์นูน</span></span>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"><img border=\"0\" src=\"/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/picture/galaxy1.jpg\" height=\"155\" width=\"198\" /></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">ดวงดาวที่เรามองเห็นล้วนเป็นดวงดาวในดาราจักรของเราทั้งนั้น ดาวต่างๆจะเคลื่อนที่รอบดาราจักรด้วยความเร็ว<br />\n ต่างกันตามระยะทางพวกที่อยู่ใกล้แกนจะมีความเร็วมาก</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">2.<b>ดาราจักรอื่นๆ</b> ที่ค้นพบมี 2 ดาราจักร คือ ดาราจักรอันโดรเมดา และกลุ่มเมฆแมกเจลแลน</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">        ดาราจักรแอนโดรเมดา อยู่ห่างออกไป1.5ล้านปีแสงมีขนาดใหญ่กว่าดาราจักรของเรา</span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\">   </span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"><img border=\"0\" src=\"/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/picture/galaxy2.jpg\" height=\"139\" width=\"276\" />   </span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"> กลุ่มเมฆแมกเจลแลน รูปร่างไม่สม่ำเสมอ เป็นกลุ่มประจำถิ่น ซึ่งมีรูปร่างดังนี้</span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"> ดาราจักรรูปกังหัน</span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"> ดาราจักรรูปไม่สม่ำเสมอ</span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"> ดาราจักรรูปไข่</span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: 10pt\"><img border=\"0\" src=\"/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/picture/galaxy.jpg\" height=\"138\" width=\"328\" /></span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nอ้างอิง <a href=\"/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/mean.html\">http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/mean.html</a>\n</p>\n', created = 1715722430, expire = 1715808830, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e91d9711d24b03d7be8b585dc204a75a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมายและส่วนประกอบของดาราจักร

ความหมายและส่วนประกอบของดาราจักร

ดาราจักรคือวัตถุท้องฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในเอกภพ

       ประกอบด้วย
         ระบบรวมของดาวฤกษ์
         กระจุกดาว
         เนบิวลา
         ฝุ่นธุลีคอสมิก และก๊าซ
         ที่ว่าง
 

 

 

 

ดาราจักรแบ่งออกเป็น

1.ส่วนใจกลาง มีดาวฤกษ์เป็นส่วนมาก

2.จาน ส่วนที่เป็นแผ่นราบอยู่รอบๆใจกลาง

3.แขนของดาราจักร ส่วนที่อยู่ถัดจากจานออกไป

ใจกลางของดาราจักรจะมีดาวฤกษ์อยู่เป็นจำนวนมากและจะเริ่มน้อยลงเมื่ออยู่บริเวณขอบของดาราจักร

ดาราจักรแบ่งได้เป็น 2 พวกใหญ่ๆด้วยกันคือ

1.ดาราจักรของเรา คือ ดาราจักรทางช้างเผือก เป็นดาราจักรที่มีระบบสุริยะของเราอยู่ ห่างจากใจกลางดาราจักร
ประมาณ 30000 ปีแสง ลักษณะคล้ายเลนส์นูน

 

 

ดวงดาวที่เรามองเห็นล้วนเป็นดวงดาวในดาราจักรของเราทั้งนั้น ดาวต่างๆจะเคลื่อนที่รอบดาราจักรด้วยความเร็ว
ต่างกันตามระยะทางพวกที่อยู่ใกล้แกนจะมีความเร็วมาก

2.ดาราจักรอื่นๆ ที่ค้นพบมี 2 ดาราจักร คือ ดาราจักรอันโดรเมดา และกลุ่มเมฆแมกเจลแลน

        ดาราจักรแอนโดรเมดา อยู่ห่างออกไป1.5ล้านปีแสงมีขนาดใหญ่กว่าดาราจักรของเรา

   

   

 

 กลุ่มเมฆแมกเจลแลน รูปร่างไม่สม่ำเสมอ เป็นกลุ่มประจำถิ่น ซึ่งมีรูปร่างดังนี้

 ดาราจักรรูปกังหัน

 ดาราจักรรูปไม่สม่ำเสมอ

 ดาราจักรรูปไข่

 

 

อ้างอิง http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/mean.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 406 คน กำลังออนไลน์