• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6eae5b44c13f47cbb770db1c3b79c96a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">อารยธรรมเมโสโปเตเมีย</span></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></p>\n<p>\n<b>เมโสโปเตเมีย</b> (<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษากรีก\" title=\"ภาษากรีก\"><span style=\"color: #002bb8\">กรีก</span></a>: Μεσοποταμία : เมโสโปตาเมีย; <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาอังกฤษ\" title=\"ภาษาอังกฤษ\"><span style=\"color: #002bb8\">ภาษาอังกฤษ</span></a>: Mesopotamia) เป็นคำกรีกโบราณ ตามรูปศัพท์แปลว่า &quot;ที่ระหว่างแม่น้ำ&quot; โดยมีนัยหมายถึง &quot;ดินแดนระหว่างแม่น้ำ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แม่น้ำไทกรีส\" title=\"แม่น้ำไทกรีส\"><span style=\"color: #002bb8\">แม่น้ำไทกรีส</span></a>และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ยูเฟรตีส\" title=\"ยูเฟรตีส\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #002bb8\">ยูเฟรตีส</span></a>&quot; เมโสโปเตเมีย (meso=กลาง,potamia=แม่น้ำ)ดินแดนดังกล่าวนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ &quot;ดินแดนรูป<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%A7&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"พระจันทร์เสี้ยว (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">พระจันทร์เสี้ยว</span></a>อันอุดมสมบูรณ์&quot; ซึ่งเป็นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่ง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน\" title=\"ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน\"><span style=\"color: #002bb8\">ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน</span></a>ไปจรด<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อ่าวเปอร์เซีย\" title=\"อ่าวเปอร์เซีย\"><span style=\"color: #002bb8\">อ่าวเปอร์เซีย</span></a>\n</p>\n<p>\nเมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่อากาศร้อนและกันดารฝน น้ำที่ได้รับส่วนใหญ่เป็น น้ำจากแม่น้ำที่มาจากหิมะละลายในภาคฤดูร้อนบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย(Armenia) น้ำจะพัดพาเอาโคลนตมมาทับถมชายฝั่งทั้งสอง ทำให้พื้นดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก การเอ่อล้นของน้ำอันเกิดจากหิมะละลายไม่มีกำหนดเวลาที่แน่นอนและบางครั้งทำความเสียหายแก่บ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและชีวิตผู้คน การกสิกรรมที่จะได้ผลดีในสภาพแวดล้อมเช่นนี้ต้องอาศัยระบบ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%8A%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"การชลประทาน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">การชลประทาน</span></a>ที่มีประสิทธิภาพ\n</p>\n<p>\nความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำเป็นเครื่องดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาทำมาหากินในบริเวณนี้ แต่ความร้อนของอากาศก็เป็นเครื่องบั่นทอนกำลังของผู้คนที่อาศัยอยู่ทำให้คนเหล่านั้นขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีพวกอื่นเข้ารุกรานจึงต้องหลีกทางให้ผู้ที่เข้ามาใหม่ ซึ่งเมื่ออยู่ไปนาน ๆ เข้าก็ประสบภาวะเดียวกันต้องหลีกให้ผู้อื่นต่อไป พวกที่เข้ามารุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือ และตะวันออกซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขาหินปูนไม่อุดมสมบูรณ์เท่าเขตลุ่มแม่น้ำ และยังมีพวกที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย เรื่องราวของดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของคนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่มมิได้เป็นเรื่องราวของอารยธรรมที่สืบต่อกันเป็นเวลายาวนานดังเช่นอารยธรรมอียิปต์\n</p>\n<p>\nคนกลุ่มแรกที่สร้างอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาว<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติชน\" title=\"ประวัติชน\"><span style=\"color: #002bb8\">ประวัติชน</span></a> <sup class=\"noprint Template-Fact\"><span style=\"white-space: nowrap\" title=\"เนื้อหาของประโยคหรือวลีนี้ต้องการแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ\">[<i><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/วิธีใช้:การอ้างอิงแหล่งที่มา\" title=\"วิธีใช้:การอ้างอิงแหล่งที่มา\"><span style=\"color: #002bb8\">ต้องการอ้างอิง</span></a></i>]</span></sup> ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนขึ้นเป็น พื้นฐานสำคัญ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยธรรม ตัวอักษร ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียน ได้ดำรงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้ำทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span id=\".E0.B8.81.E0.B8.A5.E0.B8.B8.E0.B9.88.E0.B8.A1.E0.B8.8A.E0.B8.99.E0.B8.95.E0.B9.88.E0.B8.B2.E0.B8.87_.E0.B9.86_.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.AA.E0.B8.A3.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.84.E0.B9.8C.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A2.E0.B8.98.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.A1.E0.B9.80.E0.B8.A1.E0.B9.82.E0.B8.AA.E0.B9.82.E0.B8.9B.E0.B9.80.E0.B8.95.E0.B9.80.E0.B8.A1.E0.B8.B5.E0.B8.A2\" class=\"mw-headline\">กลุ่มชนต่าง ๆ ที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย</span> </span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<ol>\n<li>\n<div align=\"center\">\n </div>\n</li>\n<p>  </p>\n<div>\n </div>\n<li>ชาวสุเมเรียน </li>\n<li>ชาวอัคคาเดีย (Akkadians) </li>\n<li>ชาวอมอไรต์ (Amorites) </li>\n<li>ชาวแอสซีเรียน (Assyrian) </li>\n<li>ชาวคาลเดียน (Chaldeans</li>\n<li><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b8/Mesopotamië.jpg\"><img width=\"600\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b8/Mesopotami%C3%AB.jpg\" alt=\"ไฟล์:Mesopotamië.jpg\" height=\"542\" /></a></li>\n<li>\n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ไฟล์:Mesopotamië.jpg\" title=\"ขยาย\" class=\"internal\"><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #800080\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://bits.wikimedia.org/skins-1.5/common/images/magnify-clip.png\'); width: 1px; height: 1px\"></span></span></a>\n </div>\n<p> แผนที่บริเวณเมโสโปเตเมีย\n </p></div>\n</li>\n</ol>\n<p class=\"thumbcaption\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"thumbcaption\">\n<span id=\".E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.93.E0.B8.B0.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.95.E0.B8.B1.E0.B9.89.E0.B8.87.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.A0.E0.B8.B9.E0.B8.A1.E0.B8.B4.E0.B8.A8.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B9.8C\" class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #ff0000\">ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์</span></span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<p>\nเมโสโปเตเมีย เป็นอู่อารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกสมัยโบราณ โดยตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สาย คือ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แม่น้ำไทกรีส\" title=\"แม่น้ำไทกรีส\"><span style=\"color: #002bb8\">แม่น้ำไทกรีส</span></a> (Tigris) และ <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%AA&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แม่น้ำยูเฟรตีส (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">แม่น้ำยูเฟรตีส</span></a> (Euphrates)ซึ่งปัจจุบันนี้ อยู่ในเขตแดนของ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศอิรัก\" title=\"ประเทศอิรัก\"><span style=\"color: #002bb8\">ประเทศอิรัก</span></a> ซึ่งมีกรุง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แบกแดด\" title=\"แบกแดด\"><span style=\"color: #002bb8\">แบกแดด</span></a> เป็นเมืองหลวง แม่น้ำทั้ง 2 สายมีต้นน้ำอยู่ใน<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อาร์มีเนีย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">อาร์มีเนีย</span></a> และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เอเซียไมเนอร์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">เอเซียไมเนอร์</span></a>ไหลลงสู่ทะเลที่<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อ่าวเปอร์เซีย\" title=\"อ่าวเปอร์เซีย\"><span style=\"color: #002bb8\">อ่าวเปอร์เซีย</span></a>\n</p>\n<p>\nบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่า<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/บาบิโลเนีย\" title=\"บาบิโลเนีย\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #002bb8\">บาบิโลเนีย</span></a> (Babylonia) เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย มีชื่อเรียกในสมัยหนึ่งว่าชินาร์ (Shina) เกิดจากการทับถมของดินที่แม่น้ำพัดพามากล่าวคือในฤดูร้อนหิมะบนภูเขาในอาร์มีเนียละลายไหลบ่าลงมาทางใต้พัดพาเอาโคลนตมมาทับถมไว้ยังบริเวณปากน้ำทำให้พื้นดินตรงปากแม่น้ำงอกออกทุกปี โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 1 ไมล์ครึ่ง ทุกๆ ศตวรรษ ( ประมาณปีละ 29 นิ้วครึ่ง) อาณาบริเวณที่เรียกว่าเมโสโปเตเมีย มีทิศเหนือจรด<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ทะเลดำ\" title=\"ทะเลดำ\"><span style=\"color: #002bb8\">ทะเลดำ</span></a> และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ทะสาบแคสเบียน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">ทะสาบแคสเบียน</span></a> ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรด<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"คาบสมุทรอาระเบีย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">คาบสมุทรอาระเบีย</span></a> ซึ่งล้อมรอบด้วย<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ทะเลแดง\" title=\"ทะเลแดง\"><span style=\"color: #002bb8\">ทะเลแดง</span></a> และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/มหาสมุทรอินเดีย\" title=\"มหาสมุทรอินเดีย\"><span style=\"color: #002bb8\">มหาสมุทรอินเดีย</span></a> ทิศตะวันตกจรดที่ราบ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ซีเรีย\" title=\"ซีเรีย\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #002bb8\">ซีเรีย</span></a> และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปาเลสไตน์\" title=\"ปาเลสไตน์\"><span style=\"color: #002bb8\">ปาเลสไตน์</span></a> ส่วนทิศตะวันออกจรดที่ราบสูง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อิหร่าน\" title=\"อิหร่าน\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #002bb8\">อิหร่าน</span></a>\n</p>\n<p>\nเมโสโปเตเมียแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนล่างใกล้กับอ่าวเปอร์เซีย มีความอุดมสมบูรณ์เรียกว่าบาบิโลเนีย (Babylonia)ส่วนบนซึ่งค่อนข้างแห้งแล้งเรียกว่าแอสซีเรีย (Assyria) บริเวณทั้งหมดมีชนชาติหลายเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่ มีการรบพุ่งกันอยู่เสมอ เมื่อชาติใดมีอำนาจก็เข้าไปยึดครองและกลายเป็นชนชาติเดียวกัน นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่า ไม่มีแห่งหนตำบลใด จะมีชาติพันธุ์มนุษย์ผสมปนเปกันมากมายเหมือนที่นี่ และยังเป็นยุทธภูมิระหว่างตะวันตก กับตะวันออกตลอดสมัยประวัติศาสตร์ ดังนั้น ประวัติเรื่องราวต่างๆ ของชนชาติเหล่านี้จึงค่อนข้างสับสน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<table width=\"175\" style=\"font-size: 11px; margin: 0px 0px 1em 1em; text-align: center\" class=\"infobox\">\n<tbody>\n<tr>\n<th style=\"background: #f6e6ae\"><b><strong class=\"selflink\">อารยธรรมเมโสโปเตเมีย</strong></b></th>\n</tr>\n<tr>\n<td><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ไฟล์:Babylonlion.JPG\" class=\"image\"><img width=\"120\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/8/88/Babylonlion.JPG/120px-Babylonlion.JPG\" alt=\"Babylonlion.JPG\" height=\"106\" /></a></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><b>แม่น้ำไทกริส • แม่น้ำยูเฟรติส</b></td>\n</tr>\n<tr>\n<th style=\"background: #f6e6ae\"><b>เมือง / จักรวรรดิ</b></th>\n</tr>\n<tr>\n<td><b><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สุเมเรียน\" title=\"สุเมเรียน\"><span style=\"color: #002bb8\">สุเมเรียน</span></a></b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><b>อีลาม</b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><b>จักรวรรดิอัคคาเดียน</b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><b>อะมอร์ไรท์:</b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><b>บาบิโลเนีย:</b> Babylon • คาลเดีย</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><b>ฮิตไต</b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><b>อัสสิเรีย</b></td>\n</tr>\n<tr>\n<th style=\"background: #f6e6ae\"><b>ข้อมูลอารยธรรมเมโสโปเตเมีย</b></th>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong class=\"selflink\">ประวัติศาสตร์โมเสโปเตเมีย</strong></td>\n</tr>\n<tr>\n<td>ประวัติชาวซูเมอร์ • รายนามกษัตริย์ชาวซูเมอร์</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>รายนามกษัตริย์อัสสิเรีย</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>รายนามกษัตริย์บาโบโลเนีย</td>\n</tr>\n<tr>\n<th style=\"background: #f6e6ae\"><b><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษา\" title=\"ภาษา\"><span style=\"color: #002bb8\">ภาษา</span></a></b></th>\n</tr>\n<tr>\n<td><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาสุเมเรีย\" title=\"ภาษาสุเมเรีย\"><span style=\"color: #002bb8\">ภาษาสุเมเรีย</span></a></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาอัคคาเดียน\" title=\"ภาษาอัคคาเดียน\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #002bb8\">ภาษาอัคคาเดียน</span></a></td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p>\n <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาฮิตไตต์\" title=\"ภาษาฮิตไตต์\"><span style=\"color: #002bb8\">ภาษาฮิตไตต์</span></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ffff00\"><strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #ff0000\">จัดทำโดย</span></strong> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ffff00\"><strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #ff0000\">น.ส. นาฏยา จริยาธัญวัฒน์</span></strong> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ffff00\"><strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #ff0000\">เลขที่ 9 ม.6/4</span></strong> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ffff00\"><strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #ff0000\">แหล่งที่มา</span></strong> </span>\n </p>\n<p>\n <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เมโสโปเตเมีย\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%A2</a>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p>\n', created = 1715771978, expire = 1715858378, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6eae5b44c13f47cbb770db1c3b79c96a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารยธรรมในยุคโบราณ

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

เมโสโปเตเมีย (กรีก: Μεσοποταμία : เมโสโปตาเมีย; ภาษาอังกฤษ: Mesopotamia) เป็นคำกรีกโบราณ ตามรูปศัพท์แปลว่า "ที่ระหว่างแม่น้ำ" โดยมีนัยหมายถึง "ดินแดนระหว่างแม่น้ำ แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส" เมโสโปเตเมีย (meso=กลาง,potamia=แม่น้ำ)ดินแดนดังกล่าวนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ "ดินแดนรูปพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์" ซึ่งเป็นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจรดอ่าวเปอร์เซีย

เมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่อากาศร้อนและกันดารฝน น้ำที่ได้รับส่วนใหญ่เป็น น้ำจากแม่น้ำที่มาจากหิมะละลายในภาคฤดูร้อนบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย(Armenia) น้ำจะพัดพาเอาโคลนตมมาทับถมชายฝั่งทั้งสอง ทำให้พื้นดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก การเอ่อล้นของน้ำอันเกิดจากหิมะละลายไม่มีกำหนดเวลาที่แน่นอนและบางครั้งทำความเสียหายแก่บ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและชีวิตผู้คน การกสิกรรมที่จะได้ผลดีในสภาพแวดล้อมเช่นนี้ต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ

ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำเป็นเครื่องดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาทำมาหากินในบริเวณนี้ แต่ความร้อนของอากาศก็เป็นเครื่องบั่นทอนกำลังของผู้คนที่อาศัยอยู่ทำให้คนเหล่านั้นขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีพวกอื่นเข้ารุกรานจึงต้องหลีกทางให้ผู้ที่เข้ามาใหม่ ซึ่งเมื่ออยู่ไปนาน ๆ เข้าก็ประสบภาวะเดียวกันต้องหลีกให้ผู้อื่นต่อไป พวกที่เข้ามารุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือ และตะวันออกซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขาหินปูนไม่อุดมสมบูรณ์เท่าเขตลุ่มแม่น้ำ และยังมีพวกที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย เรื่องราวของดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของคนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่มมิได้เป็นเรื่องราวของอารยธรรมที่สืบต่อกันเป็นเวลายาวนานดังเช่นอารยธรรมอียิปต์

คนกลุ่มแรกที่สร้างอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวประวัติชน [ต้องการอ้างอิง] ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนขึ้นเป็น พื้นฐานสำคัญ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยธรรม ตัวอักษร ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียน ได้ดำรงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้ำทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ

 

กลุ่มชนต่าง ๆ ที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

  1.  

  2. ชาวสุเมเรียน
  3. ชาวอัคคาเดีย (Akkadians)
  4. ชาวอมอไรต์ (Amorites)
  5. ชาวแอสซีเรียน (Assyrian)
  6. ชาวคาลเดียน (Chaldeans
  7. ไฟล์:Mesopotamië.jpg
  8. แผนที่บริเวณเมโสโปเตเมีย

 

ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์

เมโสโปเตเมีย เป็นอู่อารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกสมัยโบราณ โดยตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สาย คือแม่น้ำไทกรีส (Tigris) และ แม่น้ำยูเฟรตีส (Euphrates)ซึ่งปัจจุบันนี้ อยู่ในเขตแดนของ ประเทศอิรัก ซึ่งมีกรุงแบกแดด เป็นเมืองหลวง แม่น้ำทั้ง 2 สายมีต้นน้ำอยู่ในอาร์มีเนีย และเอเซียไมเนอร์ไหลลงสู่ทะเลที่อ่าวเปอร์เซีย

บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่าบาบิโลเนีย (Babylonia) เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย มีชื่อเรียกในสมัยหนึ่งว่าชินาร์ (Shina) เกิดจากการทับถมของดินที่แม่น้ำพัดพามากล่าวคือในฤดูร้อนหิมะบนภูเขาในอาร์มีเนียละลายไหลบ่าลงมาทางใต้พัดพาเอาโคลนตมมาทับถมไว้ยังบริเวณปากน้ำทำให้พื้นดินตรงปากแม่น้ำงอกออกทุกปี โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 1 ไมล์ครึ่ง ทุกๆ ศตวรรษ ( ประมาณปีละ 29 นิ้วครึ่ง) อาณาบริเวณที่เรียกว่าเมโสโปเตเมีย มีทิศเหนือจรดทะเลดำ และทะสาบแคสเบียน ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดคาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลแดง และมหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตกจรดที่ราบซีเรีย และปาเลสไตน์ ส่วนทิศตะวันออกจรดที่ราบสูงอิหร่าน

เมโสโปเตเมียแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนล่างใกล้กับอ่าวเปอร์เซีย มีความอุดมสมบูรณ์เรียกว่าบาบิโลเนีย (Babylonia)ส่วนบนซึ่งค่อนข้างแห้งแล้งเรียกว่าแอสซีเรีย (Assyria) บริเวณทั้งหมดมีชนชาติหลายเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่ มีการรบพุ่งกันอยู่เสมอ เมื่อชาติใดมีอำนาจก็เข้าไปยึดครองและกลายเป็นชนชาติเดียวกัน นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่า ไม่มีแห่งหนตำบลใด จะมีชาติพันธุ์มนุษย์ผสมปนเปกันมากมายเหมือนที่นี่ และยังเป็นยุทธภูมิระหว่างตะวันตก กับตะวันออกตลอดสมัยประวัติศาสตร์ ดังนั้น ประวัติเรื่องราวต่างๆ ของชนชาติเหล่านี้จึงค่อนข้างสับสน

 

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Babylonlion.JPG
แม่น้ำไทกริส • แม่น้ำยูเฟรติส
เมือง / จักรวรรดิ
สุเมเรียน
อีลาม
จักรวรรดิอัคคาเดียน
อะมอร์ไรท์:
บาบิโลเนีย: Babylon • คาลเดีย
ฮิตไต
อัสสิเรีย
ข้อมูลอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ประวัติศาสตร์โมเสโปเตเมีย
ประวัติชาวซูเมอร์ • รายนามกษัตริย์ชาวซูเมอร์
รายนามกษัตริย์อัสสิเรีย
รายนามกษัตริย์บาโบโลเนีย
ภาษา
ภาษาสุเมเรีย
ภาษาอัคคาเดียน

ภาษาฮิตไตต์

 

 

 

จัดทำโดย

น.ส. นาฏยา จริยาธัญวัฒน์

เลขที่ 9 ม.6/4

แหล่งที่มา

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%A2

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 323 คน กำลังออนไลน์