• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:35ccd9895a6a1b5ecf1a4b3860d937af' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\">เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical view)</span></span> คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางเคมีที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือไฟฟ้าเป็นเคมี</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\">เซลล์ไฟฟ้าเคมี</span></span> แบ่งออกเป็น 2 ประเภท</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\">1. เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell)</span></span> คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า เกิดจากสารเคมีทำปฏิกิริยากันในเซลล์ แล้วเกิดกระแสไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์ปรอท เซลล์เงิน แบตเตอรี่</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\">2. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)</span></span> คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี เกิดจากการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเซลล์ แล้วเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น เช่น เซลล์แยกน้ำด้วยไฟฟ้า การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small\">ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff00ff\">1. ขั้วไฟฟ้า</span> มี 2 ชนิด</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\">    <span style=\"color: #008000\">1.1 ขั้วว่องไว (Active electrode)</span> ได้แก่ ขั้วโลหะทั่วไป เช่น Zn Cu Pb ขั้วพวกนี้บางโอกาสจะมีส่วนร่วมในปฏิกิริยาด้วย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\">    <span style=\"color: #008000\">1.2 ขั้วเฉื่อย (Inert electrode)</span> คือ ขั้วที่ไม่มีส่วนร่วมใดๆ ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น Pt C(แกรไฟต์)</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\">    ในเซลล์ไฟฟ้าปกติ จะประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วเสมอ ดังนี้</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\">   <span style=\"color: #008000\"> 1. ขั้วแอโนด (Anode)</span> คือ ขั้วที่เกิดออกซิเดชัน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"font-size: x-small\">    <span style=\"color: #008000\">2. ขั้วแคโทด (Cathode)</span> คือ ขั้วที่เกิดรีดักชัน</span></span> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)</span>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #008000\">อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)</span> คือ สารที่มีสถานะเป็นของเหลว นำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนเคลื่อนที่ไปมาอยู่ในสารละลาย\n</p>\n<p>\n    สารละลายอิเล็กโทรไลต์ มี 2 ชนิดคือ\n</p>\n<p>\n    1. สารประกอบไอออนิกหลอมเหลว เช่น สารละลาย NaCl\n</p>\n<p>\n    2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ เช่น สารละลายกรด เบส เกลือ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เซลล์กัลวานิก หรือเซลล์วอลตาอิก(Voltaic cell)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell)</span> คือ เซลล์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า ประกอบด้วยครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์มาต่อกัน และเชื่อมให้ครบวงจรโดยใช้สะพานไอออนต่อระหว่างครึ่งเซลล์ไฟฟ้าทั้งสอง\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"365\" src=\"/files/u2329/she-zn_1_.gif\" height=\"252\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">รูปที่ 1</span><span style=\"color: #0000ff\"> แสดงเซลล์กัลวานิก ซึ่งอิเล็กตรอนไหลจากขั้วแอโนด(-)ไปยังขั้วแคโทด(+)</span>  \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ครึ่งเซลล์ (Half cell)</span> คือ ระบบที่มีสารจุ่มอยู่ในไอออนของสารนั้น ถ้าสารที่จุ่มเป็นโลหะก็ใช้โลหะนั้นเป็นขั้ว (ขั้วว่องไว) เช่น Zn จุ่มอยู่ใน Zn<sup>2+</sup> ดังรูป\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"361\" src=\"/files/u2329/everyday_electro_fig1.gif\" height=\"238\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">รูปที่ 2 แสดงครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน (Oxidation half cell)และครึ่งเซลล์รีดักชัน(Reduction half cell)</span>\n</p>\n<div>\n                                ที่มา www. <b><u><span style=\"color: #0000cc\">library.kcc.hawaii.edu/.../<wbr></wbr>everyday_electro.html</span></u></b>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<strong><u><span style=\"color: #000000\"></span></u></strong>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">สะพานไอออน (Salt bridge)</span> คือ ตัวเชื่อมวงจรภายในของแต่ละครึ่งเซลล์ให้ครบวงจร ทำให้ไอออนในแต่ละครึ่งเซลล์สามารถไหลผ่านสะพานไอออนนี้ได้ และมีหน้าที่รักษาสมดุลของไอออนของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในแต่ละครึ่งเซลล์ เพื่อทำให้ประจุในแต่ละครึ่งเซลล์สมดุลกัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     </span><span style=\"color: #0000ff\">สมบัติของสารที่ใช้ทำเป็นสะพานไอออน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     1. เป็นสารประกอบไอออนิกที่สามารถแตกตัวละลายน้ำได้ดี มีปริมาณไอออนมาก</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     2. ไอออนต้องไม่ทำทำปฏิกิริยาเคมีใดๆ กับสารละลายของแต่ละครึ่งเซลล์</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     3. ไอออนบวกและไอออนลบที่แตกตัวออกมาต้องมีความสามารถในการเคลื่อนที่ใกล้เคียงกัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     4. สารที่ใช้ทำสะพานไอออน ได้แก่ KNO<sub>3</sub>, </span><span style=\"color: #000000\">KCl, NH<sub>4</sub>Cl</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     5. ต้องเป็นสารละลายอิ่มตัว ประกอบด้วยไอออนมาก</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\">ลักษณะสำคัญของเซลล์กัลวานิก</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     1. กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเป็นกระแสตรง  คือ กระแสอิเล็กตรอน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">     2. อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลล์ที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำไปยังครึ่งเซลล์ที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\">เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n     <span style=\"color: #ff9900\">เซลล์อิเล็กโทรไลต์</span> คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่ใช้พลังงานไฟฟ้าให้เปลี่ยนเป็นพลังงานเคมี หรือเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น นั่นเอง\n</div>\n<div>\nปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นก็จะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ ซึ่งเซลล์ประเภทนี้จะมีค่า E<sup>0 </sup>cell ติดลบ\n</div>\n<div>\n  \n</div>\n<div>\n     เซลล์อิเล็กโทรไลต์ประกอบด้วยภาชนะที่บรรจุสารเคมีที่จะเกิดปฏิกิริยา และมีขั้วไฟฟ้าซึ่งต่ออยู่กับแหล่งไฟฟ้ากระแสตรง โดยทั่วไปมักเป็นขั้วเฉื่อยที่ไม่มีส่วนร่วมกับปฏิกิริยา ดังรูป\n</div>\n<div>\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u2329/electrolysis.gif\" height=\"329\" />\n</div>\n<div>\n  <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">รูปที่ 3  แสดงเซลล์อิเล็กโทรไลต์</span></span> \n<div>\n<span style=\"color: #000000\"> <span style=\"color: #000000\">จากรูป </span>ใช้สารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ขณะที่ผ่านไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไป ไอออนบวก (Cation) จะเคลื่อนที่ไปยังขั้วลบ (แคโทด) และไอออนลบ (Anion) จะเคลื่อนที่ไปยังขั้วบวก (แอโนด) เพื่อให้อิเล็กตรอนถูกออกซิไดส์</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #0000ff\">ส่วนประกอบของเซลล์อิเล็กโทรไลต์</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">1. ขั้วไฟฟ้า(Electrode)</span> เป็นโลหะหรือแกรไฟต์ที่นำไฟฟ้าได้ดี โดยทั่วไปมักจะใช้ขั้วเฉื่อย เช่น ขั้ว Pt สามารถจำแนกขั้วไฟฟ้าได้ดังนี้</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">จำแนกตามการเกิดปฏิกิริยา</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">1.1 ขั้วแอโนด (Anode)</span> เป็นขั้วที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">1.2 ขั้วแคโทด (Cathode)</span> เป็นขั้วที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">จำแนกขั้วตามการต่อเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">1.1 ขั้วบวก</span> เป็นขั้วที่ต่อเข้ากับขั้วบวกของแบตเตอรี่หรือแหล่งกำเนิดไฟฟ้า</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">1.2 ขั้วลบ</span> เป็นขั้วที่ต่อเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี่หรือแหล่งกำเนิดไฟฟ้า</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">2. สารอิเล็กโทรไลต์</span> คือ สารที่มีสถานะของเหลวประกอบด้วยไอออนที่เคลื่อนที่ และนำไฟฟ้าได้  </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">2.1 สารประกอบไอออนิกหลอมเหลว</span> เช่น สารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลว</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">2.2 สารละลายอิเล็กโทรไลต์</span> เช่น สารละลายกรด เบส เกลือ </span>\n</div>\n</div>\n', created = 1715722487, expire = 1715808887, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:35ccd9895a6a1b5ecf1a4b3860d937af' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e580c3e89c186b7ac9ff7e6c0433a643' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ชอบครับ ชอบมากเลยมีประโยชน์ดีครับ ฝากดูผลงานผมทีนะครับ <a href=\"/node/57950\">http://www.thaigoodview.com/node/57950</a></p>\n', created = 1715722487, expire = 1715808887, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e580c3e89c186b7ac9ff7e6c0433a643' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:daf9391acf2440e46f473c7366bfff37' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ครับของขอวคุณก็ดีเหมือนกัน</p>\n', created = 1715722487, expire = 1715808887, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:daf9391acf2440e46f473c7366bfff37' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical cell)

เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical view) คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางเคมีที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า หรือไฟฟ้าเป็นเคมี

เซลล์ไฟฟ้าเคมี แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1. เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell) คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า เกิดจากสารเคมีทำปฏิกิริยากันในเซลล์ แล้วเกิดกระแสไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์ปรอท เซลล์เงิน แบตเตอรี่

2. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell) คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี เกิดจากการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเซลล์ แล้วเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น เช่น เซลล์แยกน้ำด้วยไฟฟ้า การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า

ส่วนประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี

1. ขั้วไฟฟ้า มี 2 ชนิด

    1.1 ขั้วว่องไว (Active electrode) ได้แก่ ขั้วโลหะทั่วไป เช่น Zn Cu Pb ขั้วพวกนี้บางโอกาสจะมีส่วนร่วมในปฏิกิริยาด้วย

    1.2 ขั้วเฉื่อย (Inert electrode) คือ ขั้วที่ไม่มีส่วนร่วมใดๆ ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น Pt C(แกรไฟต์)

    ในเซลล์ไฟฟ้าปกติ จะประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วเสมอ ดังนี้

    1. ขั้วแอโนด (Anode) คือ ขั้วที่เกิดออกซิเดชัน

    2. ขั้วแคโทด (Cathode) คือ ขั้วที่เกิดรีดักชัน 

2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte)

    อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) คือ สารที่มีสถานะเป็นของเหลว นำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนเคลื่อนที่ไปมาอยู่ในสารละลาย

    สารละลายอิเล็กโทรไลต์ มี 2 ชนิดคือ

    1. สารประกอบไอออนิกหลอมเหลว เช่น สารละลาย NaCl

    2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ เช่น สารละลายกรด เบส เกลือ

เซลล์กัลวานิก หรือเซลล์วอลตาอิก(Voltaic cell)

เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell) คือ เซลล์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า ประกอบด้วยครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์มาต่อกัน และเชื่อมให้ครบวงจรโดยใช้สะพานไอออนต่อระหว่างครึ่งเซลล์ไฟฟ้าทั้งสอง

รูปที่ 1 แสดงเซลล์กัลวานิก ซึ่งอิเล็กตรอนไหลจากขั้วแอโนด(-)ไปยังขั้วแคโทด(+)  

ครึ่งเซลล์ (Half cell) คือ ระบบที่มีสารจุ่มอยู่ในไอออนของสารนั้น ถ้าสารที่จุ่มเป็นโลหะก็ใช้โลหะนั้นเป็นขั้ว (ขั้วว่องไว) เช่น Zn จุ่มอยู่ใน Zn2+ ดังรูป

รูปที่ 2 แสดงครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน (Oxidation half cell)และครึ่งเซลล์รีดักชัน(Reduction half cell)

                                ที่มา www. library.kcc.hawaii.edu/.../everyday_electro.html
สะพานไอออน (Salt bridge) คือ ตัวเชื่อมวงจรภายในของแต่ละครึ่งเซลล์ให้ครบวงจร ทำให้ไอออนในแต่ละครึ่งเซลล์สามารถไหลผ่านสะพานไอออนนี้ได้ และมีหน้าที่รักษาสมดุลของไอออนของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในแต่ละครึ่งเซลล์ เพื่อทำให้ประจุในแต่ละครึ่งเซลล์สมดุลกัน
    
     สมบัติของสารที่ใช้ทำเป็นสะพานไอออน
     1. เป็นสารประกอบไอออนิกที่สามารถแตกตัวละลายน้ำได้ดี มีปริมาณไอออนมาก
     2. ไอออนต้องไม่ทำทำปฏิกิริยาเคมีใดๆ กับสารละลายของแต่ละครึ่งเซลล์
     3. ไอออนบวกและไอออนลบที่แตกตัวออกมาต้องมีความสามารถในการเคลื่อนที่ใกล้เคียงกัน
     4. สารที่ใช้ทำสะพานไอออน ได้แก่ KNO3, KCl, NH4Cl
     5. ต้องเป็นสารละลายอิ่มตัว ประกอบด้วยไอออนมาก
ลักษณะสำคัญของเซลล์กัลวานิก
     1. กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเป็นกระแสตรง  คือ กระแสอิเล็กตรอน
     2. อิเล็กตรอนจะไหลจากครึ่งเซลล์ที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำไปยังครึ่งเซลล์ที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell)
     เซลล์อิเล็กโทรไลต์ คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่ใช้พลังงานไฟฟ้าให้เปลี่ยนเป็นพลังงานเคมี หรือเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น นั่นเอง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นก็จะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ ซึ่งเซลล์ประเภทนี้จะมีค่า E0 cell ติดลบ
  
     เซลล์อิเล็กโทรไลต์ประกอบด้วยภาชนะที่บรรจุสารเคมีที่จะเกิดปฏิกิริยา และมีขั้วไฟฟ้าซึ่งต่ออยู่กับแหล่งไฟฟ้ากระแสตรง โดยทั่วไปมักเป็นขั้วเฉื่อยที่ไม่มีส่วนร่วมกับปฏิกิริยา ดังรูป
  รูปที่ 3  แสดงเซลล์อิเล็กโทรไลต์
 จากรูป ใช้สารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ขณะที่ผ่านไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไป ไอออนบวก (Cation) จะเคลื่อนที่ไปยังขั้วลบ (แคโทด) และไอออนลบ (Anion) จะเคลื่อนที่ไปยังขั้วบวก (แอโนด) เพื่อให้อิเล็กตรอนถูกออกซิไดส์
ส่วนประกอบของเซลล์อิเล็กโทรไลต์
1. ขั้วไฟฟ้า(Electrode) เป็นโลหะหรือแกรไฟต์ที่นำไฟฟ้าได้ดี โดยทั่วไปมักจะใช้ขั้วเฉื่อย เช่น ขั้ว Pt สามารถจำแนกขั้วไฟฟ้าได้ดังนี้
จำแนกตามการเกิดปฏิกิริยา
1.1 ขั้วแอโนด (Anode) เป็นขั้วที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
1.2 ขั้วแคโทด (Cathode) เป็นขั้วที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน
จำแนกขั้วตามการต่อเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
1.1 ขั้วบวก เป็นขั้วที่ต่อเข้ากับขั้วบวกของแบตเตอรี่หรือแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
1.2 ขั้วลบ เป็นขั้วที่ต่อเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี่หรือแหล่งกำเนิดไฟฟ้า
2. สารอิเล็กโทรไลต์ คือ สารที่มีสถานะของเหลวประกอบด้วยไอออนที่เคลื่อนที่ และนำไฟฟ้าได้ 
2.1 สารประกอบไอออนิกหลอมเหลว เช่น สารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลว
2.2 สารละลายอิเล็กโทรไลต์ เช่น สารละลายกรด เบส เกลือ

ชอบครับ ชอบมากเลยมีประโยชน์ดีครับ ฝากดูผลงานผมทีนะครับ http://www.thaigoodview.com/node/57950

ครับของขอวคุณก็ดีเหมือนกัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 409 คน กำลังออนไลน์