• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4f6964be213014999b07cbe43bd7ac33' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ffff99\">1<span style=\"background-color: #000000\">. </span></span><span style=\"color: #ff9900; background-color: #000000\">ประวัติเมืองพะเยา</span>   <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" /> <br />\n</span>                <span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"color: #000000; background-color: #ffff99\">น้ำพะเยา มีเนื้อที่ประมาณ 6,335 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อำเภอ  ได้แก่  อำเภอเมืองพะเยา  อำเภอจุน อำเภอเชียงคำ  อำเภอเชียงม่วน อำเภอปง อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่ใจ อำเภอภูซาง และอำเภอภูกามยาว <br />\n                พะเยา เป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในแถบลานนาไทย เดิมมีชื่อว่า ภูกามยาว หรือ พะยาว  มีอายุกว่า 900 ปี        โดยพ่อขุนศรีจอมธรรม กษัตริย์แห่งราชวงศ์ลัวะจักรราชหิรัญนครเงินยาง  เมืองเชียงแสน และเจริญรุ่งเรืองสูงสุด   ในสมัยพ่อขุนงำเมือง &quot;เมืองภูกามยาว หรือ พะยาว&quot;  เคยมีเอกราชสมบูรณ์มีกษัตริย์ปกครองสืบราชสันติวงศ์มาปรากฏตามตำนานเมืองพะเยา พุทธศักราช 1602  (จุลศักราช 421) พ่อขุนเงิน      หรือลาวเงิน กษัตริย์ผู้ครองนครเงินยางเชียงแสน มีพระโอรส 2 พระองค์ คือ ขุนชิน        และขุนจอมธรรม เมื่อโอรสทั้งสองเจริญวัยขึ้น พ่อขุนเงิน ได้ให้</span>        </span><span style=\"color: #ffff99\"><span style=\"background-color: #ff0000\"> ขุนจอมธรรม ปกครองเมืองภูกามยาว ซึ่งเป็นหัวเมืองฝ่ายใต้ ส่วนขุนชินปกครองเมืองนครเงินยางเชียงแสน ในราชสำนักขุนจอมธรรมและไพร่พลได้ไปถึงเมืองภูกามยาว และสร้างเมืองขึ้นอีกแห่งหนึ่งซึ่งแต่เดิมเป็นที่ตั้งเมืองโบราณชื่อเมืองสิงหราช ณ เชิงเขาชมพู และได้ครองเมืองภูกามยาวได้ 24 ปี ขุนจอมธรรมมีพระโอรส 2 พระองค์ คือ ขุนเจือง และขุนจอง เมื่อขุนจอมธรรมสิ้นพระชนม์ ขุนเจืองโอรส    จึงได้ขึ้นครองราชย์แทน ในขณะครองเมืองได้รวบรวมลี้พลไปช่วยเมืองนครเงินยาง ของขุนชินผู้เป็นลุงจนรอดพ้นจากการรุกรานของแกวหรือ ญวนได้สำเร็จ ขุนชินทรงโสมนัสยิ่งนัก จึงยกธิดาชื่อ พระนางอั๊วคำสอน ให้ และสละราชสมบัติให้แก่ขุนเจือง      เมื่อขุนเจืองได้ครองเมืองเงินยางแล้ว จึงให้โอรสชื่อว่า&quot;ลาวเงินเรือง&quot; ขึ้นครองเมืองพะเยาแทน ท้าวลาวเงินเรือง ครองเมืองพะเยาได้ 17 ปี ก็สิ้นพระชนม์ ขุนแดงโอรสครองราชย์ต่อมาเป็น เวลา 7 ปี    ขุนชอง ซึ่งเป็นน้าก็แย่งราชสมบัติ และ ได้ครองเมืองพะเยาประมาณ 20 ปี และมีผู้ครองราชย์สืบต่อมาจนถึงพระยางำเมืองกษัตริย์เมืองพะเยา องค์ที่ 9 ซึ่งเป็นราชบุตรของพ่อขุนมิ่งเมือง เมื่อพระชนมายุได้ 16 ชันษา พระบิดาส่งไปศึกษา ที่สำนักสุกันตฤาษี เมืองลพบุรี จึงได้รู้จักกับพระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย   โดยได้ศึกษาศิลปศาสตร์จากอาจารย์เดียวกัน และทรงเป็นสหายกันตั้งแต่นั้นมา เมื่อเรียนจบก็เสด็จกลับเมืองพะเยา <br />\nปีพุทธศักราช 1310 พ่อขุนมิ่งเมืองพระราชบิดาสิ้น      พระชนม์ จึงได้ขึ้นครองราชย์แทน ต่อมาพ่อขุนเม็งราย ได้ยกทัพมาประชิดเมืองพะเยา พ่อขุนงำเมืองสั่งให้ไพร่พล อยู่ในความสงบและได้ให้เสนาอำมาตย์ออกต้อนรับโดยดี พระองค์ได้ยกเมืองชายแดนบางเมืองให้แก่พ่อขุนเม็งรายเพื่อเป็นการสงบศึก และทั้งสองพระองค์ยังได้ทำสัญญาเป็นมิตรต่อกันตลอดไปพระยาร่วง ซึ่งเป็นสหายสนิทได้เสด็จมาเยี่ยมเยือนพ่อขุนงำเมืองเป็นประจำทุกปี และได้มีโอกาสรู้จัก พ่อขุนเม็งราย ทั้งสามพระองค์ทรงเป็น  พระสหายสนิทกันมาก ถึงกับได้หันหลังพิงกัน พร้อมกับทำสัจจะปฏิญาณ แก่กัน ณ ริมฝั่งแม่น้ำกู (แม่น้ำอิง) ว่าจะไม่ผูกเวร   แก่กันจะเป็นมิตรสหายที่ดีต่อกันและได้กรีดโลหิตออกรวมกัน ในขันผสมดื่มพร้อมกัน <br />\nเมื่อปีพุทธศักราช 1816 พ่อขุนงำเมืองสิ้นพระชนม์ลง ขุนคำแดงและขุนคำลือได้สืบราชสมบัติ   ต่อมาตามลำดับ    ในสมัยขุนคำลือนี้เองที่เมืองพะเยาต้องเสียเอกราชไป พระยาคำฟู แห่งนครชัยบุรีศรีเชียงแสน ได้ร่วมกับพระยากาวเมืองน่าน ยกทัพมาตีเมืองพะเยา พระยาคำฟูตีเมืองพะเยาได้ก่อน และ ได้เกิดขัดใจกับพระยากาว ทำให้ เกิดการสู้รบ พระยาคำฟูเสียทีจึงยกทัพกลับเชียงแสน เมืองพะเยาจึงได้รวมอยู่กับอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่นั้นมา พุทธศักราช 2386 การนี้ชี้ให้เห็นถึงการเลือกชัยภูมิในการสร้างเมืองพะเยา เพราะเมืองพะเยามีชัยมงคล 3 ประการ คือ</span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" /></span>\n</p>\n', created = 1720193933, expire = 1720280333, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4f6964be213014999b07cbe43bd7ac33' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติเมืองพะเยา

1. ประวัติเมืองพะเยา   Tongue out 
                น้ำพะเยา มีเนื้อที่ประมาณ 6,335 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อำเภอ  ได้แก่  อำเภอเมืองพะเยา  อำเภอจุน อำเภอเชียงคำ  อำเภอเชียงม่วน อำเภอปง อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่ใจ อำเภอภูซาง และอำเภอภูกามยาว
                พะเยา เป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในแถบลานนาไทย เดิมมีชื่อว่า ภูกามยาว หรือ พะยาว  มีอายุกว่า 900 ปี        โดยพ่อขุนศรีจอมธรรม กษัตริย์แห่งราชวงศ์ลัวะจักรราชหิรัญนครเงินยาง  เมืองเชียงแสน และเจริญรุ่งเรืองสูงสุด   ในสมัยพ่อขุนงำเมือง "เมืองภูกามยาว หรือ พะยาว"  เคยมีเอกราชสมบูรณ์มีกษัตริย์ปกครองสืบราชสันติวงศ์มาปรากฏตามตำนานเมืองพะเยา พุทธศักราช 1602  (จุลศักราช 421) พ่อขุนเงิน      หรือลาวเงิน กษัตริย์ผู้ครองนครเงินยางเชียงแสน มีพระโอรส 2 พระองค์ คือ ขุนชิน        และขุนจอมธรรม เมื่อโอรสทั้งสองเจริญวัยขึ้น พ่อขุนเงิน ได้ให้
        
ขุนจอมธรรม ปกครองเมืองภูกามยาว ซึ่งเป็นหัวเมืองฝ่ายใต้ ส่วนขุนชินปกครองเมืองนครเงินยางเชียงแสน ในราชสำนักขุนจอมธรรมและไพร่พลได้ไปถึงเมืองภูกามยาว และสร้างเมืองขึ้นอีกแห่งหนึ่งซึ่งแต่เดิมเป็นที่ตั้งเมืองโบราณชื่อเมืองสิงหราช ณ เชิงเขาชมพู และได้ครองเมืองภูกามยาวได้ 24 ปี ขุนจอมธรรมมีพระโอรส 2 พระองค์ คือ ขุนเจือง และขุนจอง เมื่อขุนจอมธรรมสิ้นพระชนม์ ขุนเจืองโอรส    จึงได้ขึ้นครองราชย์แทน ในขณะครองเมืองได้รวบรวมลี้พลไปช่วยเมืองนครเงินยาง ของขุนชินผู้เป็นลุงจนรอดพ้นจากการรุกรานของแกวหรือ ญวนได้สำเร็จ ขุนชินทรงโสมนัสยิ่งนัก จึงยกธิดาชื่อ พระนางอั๊วคำสอน ให้ และสละราชสมบัติให้แก่ขุนเจือง      เมื่อขุนเจืองได้ครองเมืองเงินยางแล้ว จึงให้โอรสชื่อว่า"ลาวเงินเรือง" ขึ้นครองเมืองพะเยาแทน ท้าวลาวเงินเรือง ครองเมืองพะเยาได้ 17 ปี ก็สิ้นพระชนม์ ขุนแดงโอรสครองราชย์ต่อมาเป็น เวลา 7 ปี    ขุนชอง ซึ่งเป็นน้าก็แย่งราชสมบัติ และ ได้ครองเมืองพะเยาประมาณ 20 ปี และมีผู้ครองราชย์สืบต่อมาจนถึงพระยางำเมืองกษัตริย์เมืองพะเยา องค์ที่ 9 ซึ่งเป็นราชบุตรของพ่อขุนมิ่งเมือง เมื่อพระชนมายุได้ 16 ชันษา พระบิดาส่งไปศึกษา ที่สำนักสุกันตฤาษี เมืองลพบุรี จึงได้รู้จักกับพระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย   โดยได้ศึกษาศิลปศาสตร์จากอาจารย์เดียวกัน และทรงเป็นสหายกันตั้งแต่นั้นมา เมื่อเรียนจบก็เสด็จกลับเมืองพะเยา
ปีพุทธศักราช 1310 พ่อขุนมิ่งเมืองพระราชบิดาสิ้น      พระชนม์ จึงได้ขึ้นครองราชย์แทน ต่อมาพ่อขุนเม็งราย ได้ยกทัพมาประชิดเมืองพะเยา พ่อขุนงำเมืองสั่งให้ไพร่พล อยู่ในความสงบและได้ให้เสนาอำมาตย์ออกต้อนรับโดยดี พระองค์ได้ยกเมืองชายแดนบางเมืองให้แก่พ่อขุนเม็งรายเพื่อเป็นการสงบศึก และทั้งสองพระองค์ยังได้ทำสัญญาเป็นมิตรต่อกันตลอดไปพระยาร่วง ซึ่งเป็นสหายสนิทได้เสด็จมาเยี่ยมเยือนพ่อขุนงำเมืองเป็นประจำทุกปี และได้มีโอกาสรู้จัก พ่อขุนเม็งราย ทั้งสามพระองค์ทรงเป็น  พระสหายสนิทกันมาก ถึงกับได้หันหลังพิงกัน พร้อมกับทำสัจจะปฏิญาณ แก่กัน ณ ริมฝั่งแม่น้ำกู (แม่น้ำอิง) ว่าจะไม่ผูกเวร   แก่กันจะเป็นมิตรสหายที่ดีต่อกันและได้กรีดโลหิตออกรวมกัน ในขันผสมดื่มพร้อมกัน
เมื่อปีพุทธศักราช 1816 พ่อขุนงำเมืองสิ้นพระชนม์ลง ขุนคำแดงและขุนคำลือได้สืบราชสมบัติ   ต่อมาตามลำดับ    ในสมัยขุนคำลือนี้เองที่เมืองพะเยาต้องเสียเอกราชไป พระยาคำฟู แห่งนครชัยบุรีศรีเชียงแสน ได้ร่วมกับพระยากาวเมืองน่าน ยกทัพมาตีเมืองพะเยา พระยาคำฟูตีเมืองพะเยาได้ก่อน และ ได้เกิดขัดใจกับพระยากาว ทำให้ เกิดการสู้รบ พระยาคำฟูเสียทีจึงยกทัพกลับเชียงแสน เมืองพะเยาจึงได้รวมอยู่กับอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่นั้นมา พุทธศักราช 2386 การนี้ชี้ให้เห็นถึงการเลือกชัยภูมิในการสร้างเมืองพะเยา เพราะเมืองพะเยามีชัยมงคล 3 ประการ คือ

Tongue out

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 668 คน กำลังออนไลน์