ชื่อวิจัย การแก้ปัญหาเด็กนักเรียนมีพฤติกรรมก้าวร้าว

รูปภาพของ harisa

ชื่อวิจัย  การแก้ปัญหาเด็กนักเรียนมีพฤติกรรมก้าวร้าวผู้วิจัย   นางสาวฮาริซา    เคดาร์ความเป็นมาการวิจัยครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักเรียนที่มีนิสัยก้าวร้าว   ไม่มีสมัมาคารวะ และไม่สุภาพกับอาจารย์ผู้สอนในวิชาสังคม  ชั้นมัธยมตอนปลายปีที่4 /3  จำนวนนักเรียน  46  คน   แต่นักเรียน จำนวน   2  คน   ที่มีนิสัยลักษณะก้าวร้าว  ไม่สุภาพ   ขาดสัมมาคาวะ  พูดจาเสียงดัง   และเวลาครูพูดด้วยหรือเรียกให้พบจะไม่มีหางเสียงเช่น  ครับผม   จำนวน  2 คน  คือ นาย  รุสรัน     มิแย   และนายวสันต์     สุหลง  วัตถุประสงค์ของการวิจัย

  1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สุภาพ

ไม่มีสัมมาคารวะ 

  1. เพื่อหาวิธีที่จะทำให้เด็กนักเรียน มีพฤติกรรมที่ดี

วิธีการศึกษาการรวบรวมข้อมูล

  1. วิธีการสังเกตพฤติกรรมในห้องเรียน
  2. วิธีการซักถาม  โดยการพูดคุยกับตัวนักเรียน
  3. วิธีการซักถามเพื่อนๆในห้อง

การเลือกศึกษานักเรียนเป็นรายกลุ่ม จำนวน  2  คนคือ นาย  รุสรัน    มิแย   และนายวสันต์   สุหลงเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3   เมื่อเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2  คือ นาย  รุสรัน     มิแย   และนายวสันต์ สุหลง เริ่มมีพฤติกรรมพูดเสียงดังในห้อง เล่นสนุกสนาน พูดจาไม่สุภาพกับเพื่อนและอาจารย์เริ่มรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต  สัมภาษณ์ และสอบถามบุคคลที่ใกล้ชิด  โดยครูจดบันทึกและสรุปผลบันทึกทุกสัปดาห์ของแต่ละเดือนระยะเวลาการเก็บข้อมูล  ตั้งแต่ เดือน  พฤศจิกายน  -  มกราคม  2553  วิธีการศึกษารวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต  สัมภาษณ์จากคนใกล้ชิด    ทำการจดบันทึกทุกครั้ง  โดยสรุปผลการบันทึกเดือนที่1   วันที่   1   พฤศจิกายน  2553ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง  มาจากสภาพแวดล้อมจากบ้านและโรงเรียน  เกิดการสร้างความเสนใจให้กับตนเองในหมู่บ้านเนื่องจากเด็กชายจึงมีศักดิ์ศรีมาก   เรียกร้องความสนใจ   เดือน  ที่ 2   วันที่ 1  ธันวาคม 31   ธันวาคม     2553                   ครูเริ่มให้ความสนใจและ มีการพูดคุยกับตัวนักเรียน   ให้คำแนะนำและสังสอนในกการกระทำของตัวนักเรียนเอง   จะไม่ต่อว่า   พุดเหตุและผลให้ฟัง   เมื่อเขาไม่สนใจ   ครูก็จะบอกว่าคะแนนเรียนเรามีอยู่ไม่พอดี  แต่ถ้ายังทำตัวแบบนี้  อาจจะส่งผลกระทบต่อตัวนักเรียนภายหลังได้นักเรียนจึงเริ่มตั้งสติและมีความรับผิดชอบขั้น

สาเหตุ

  1. เด็กนักเรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมหรือในกลุ่มเดียวกัน
  2. ปัญหาจากกการกลัวเสียสักดิ์ศรีในกลุ่มเพื่อนชาย
  3. เรียกร้องความสนใจ 

วิธีแก้ไข1.     ให้ความรักและความเห็นใจ2.     ทำให้เพื่อนในห้องยอมรับ3.     ให้ความชมเชยเมื่อเด็กมีการพัฒนาที่ดีขึ้นจากปัจจัยและวิธีการแก้ไขพฤติกรรมเด็กก้าวร้าว1.ปัจจัยที่ทำให้ นายรุสรัน    มิแย   และนายวสันต์    สุหลง  มาจากสภาพแวดล้อมในลักษณะกลุ่มเดียวกันมีศักดิ์ศรีลูกผู้ชายมากจนทำให้เกิดการเรียกร้องความสนใจในหมู่เพื่อน2.วิธีการแก้ไข  ครูและเพื่อนในชั้นเรียน พูดเหตุและผลให้เขาฟังจนเข้าใจ  เข้าใจในศักดิ์ศรีลูกผู้ชายมากขึ้น  

เรียน  อาจารย์ฮาริซา    เคดาร์

ขณะนี้  สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา  กำลังรับสมัครงานวิจัยไปนำเสนอในการประชุมสัมมนาวิจัยไทย-มาเลเซีย  ถ้าสนใจโปรดเปิดดูใน www.onec.go.th  นะคะ 

วรัยพร แสงนภาบวร

รูปภาพของ plymanas

ในความคิดของปลาย

ไม่ว่าครูหรือเพื่อนจะพูดยังไง ถ้าเด็กไม่เชื่อในครูและเพื่อนแล้วก็ยากที่จะเปลี่ยน

 

ปลายทำค่ายองค์กรเยาวชน เป็นการทำงานกับเด็กที่ไม่ได้เรียนหนังสือ

ปัญหาความก้าวร้าวอย่างที่อาจารย์บอกจึงพบบ่อยๆ

วิธีการหนึ่งที่ปลายใช้แล้วได้ผลคือ การใช้ใจของเราคุยกับน้องเค้า

อย่ามองว่าเค้าไม่ได้ เค้าผิด ถ้าเรามองอย่างนั้น เราก็ฝังใจว่าเค้าเป็นอย่างนั้น ฝังความเชื่อลงทั้งในตัวเราและตัวเด็ก

เด็กน่ะค่ะอาจารย์ เค้าทำตามอย่างที่เราอยากให้ทำให้เป็นฃ

ถ้าเพียงแต่ว่าเราเป็นฮีโร่ในใจเค้าให้ได้เสียก่อน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 522 คน กำลังออนไลน์