• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fda8d11b70f4363ff40e87544fd60909' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>  <span style=\"color: #000080\"><a href=\"/node/39744/edit?page=0%2c1\"></a></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/aaa333.jpg\" style=\"width: 464px; height: 118px\" height=\"148\" width=\"502\" />\n</div>\n<p></p>\n<h2><big></big></h2>\n<p><big></big><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></p>\n<p>\n<big></big>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<big>วิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 1</big>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #0000ff\">                                                                 </span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/SV400159_1_.jpg\" height=\"234\" width=\"353\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">รูปที่ 4 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 1<br />\nแหล่งที่มาของภาพhttp://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=29926&amp;mode=view</span></span>\n</p>\n<p><br />\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><i><span style=\"color: #993300\"><big>ระยะที่ 1</big></span></i><big> เรียกว่า เครื่องถ้วยเชลียง หรือ เครื่องถ้วยมอญ เป็นเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแกร่งมีทั้งเคลือบและไม่เคลือบ ประเภท ไห ชามจาน เนื้อดินมีลักษณะหยาบมีแร่เหล็กผสมอยู่ เมื่อเผาแล้วบริเวณที่ไม่เคลือบ มีสนิมเหล็กฉาบอยู่ ผิวไม่เรียบมีรูพรุน สีเคลือบ มีสีเขียวมะกอกเข้ม เขียวแกมเหลือง เขียวแกมน้ำตาล น้ำตาลแกมเหลือง น้ำตาลเข้ม การเคลือบจาน มักเว้นบริเวณปากชาม เนื่องจากใช้วิธีวางเอาปากประกบกันในการนำเข้าเตา ลายบนภาชนะ</big></span></span></span></span></span><big> <span style=\"color: #800000\">มีการใช้น้ำดินสีขาวค่อนข้างหนา รองพื้นก่อนตกแต่งลวดลายและเคลือบ การตกแต่งลวดลาย มักใช้วิธี ขูด ขีด เป็นลวดลายเลขาคณิตแบบง่ายๆ ภายใน ชาม จาน ที่ทำลวดลายขูดขีด ก่อนเคลือบการขูดลวดลายจะเจาะทะลุชั้นน้ำดินสีขาว ทะลุลงไปถึงเนื้อดินสีดำ ดังนั้นเมื่อเคลือบและผ่านการเผาแล้ว ตรงที่เป็นรอยลวดลาย จึงมีสีเข้ม ซึ่งเป็นสีของเนื้อดินจริงๆอายุราว พุทธศตวรรษที่ 17</span></big><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u17830/438.jpg\" style=\"width: 367px; height: 38px\" height=\"50\" width=\"450\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></p>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">\n<p>\nวิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 2\n</p>\n<p></p></span></span></span></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></p>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></span></span></span></h2>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></span></span></span></h2>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></span></h2>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></span></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></span></p>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u17830/b3.jpg\" height=\"372\" width=\"373\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">\n<h2>รูปที่ 5 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 2 <br />\nแหล่งที่มาของภาพ <a href=\"http://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30105&amp;mode=view\">http://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30105&amp;mode=view</a> </h2>\n<p></p></span></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span>\n</p></div>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><i><big>ระยะที่ 2</big></i><big> ระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ ลักษณะเนื้อดินของกลุ่มนี้ มีเนื้อละเอียดขึ้น และการขึ้นรูปดีกว่าเครื่องเคลือบแบบเชลียง เนื้อดินค่อนข้างละเอียด แกร่ง สีขาวอมเทา มีส่วนผสมของแร่เหล็กปนน้อย น้ำเคลือบบางใส เรียบสม่ำเสมอ ยุคหัวเลี้ยวหัวต่อ ภาชนะประเภท จาน ชาม มักตกแต่งลวดลาย บริเวณรอบภาชนะ ด้วยการขูด สลัก หรือเซาะร่องเล็กๆ เรียงขนาน กันตามแนวตั้งโดยรอบ เครื่องถ้วยกลุ่มนี้ รูปทรงและลวดลาย เปรียบเทียบได้กับ เครื่องถ้วยเคลือบสีเขียวจากเตาหลงเฉียน ในสมัยต้นราชวงศ์หมิง ดังนั้นชามกลุ่มนี้ จึงมีอายุราว ปลาย พุทธศตวรรษที่ 19 -20 ตอนต้นและได้มีการตกแต่งลวดลายสีดำใต้เคลือบ ซึ่งแสดงถึงอิทธิพลจากภายนอกอย่างชัดเจน ลวดลายที่ตกแต่งมากสุดในช่วงนี้ ได้แก่ ลายปลาคาบกิ่งพันธ์พฤกษา และลายช่อดอกไม้ หรือลายดอกไม้ก้านขด</big></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/430_0.jpg\" style=\"width: 364px; height: 38px\" height=\"50\" width=\"450\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n  \n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><big>วิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 3</big> </span></span></span><span style=\"color: #008000\">  </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></p>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></h2>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/b2.jpg\" height=\"382\" width=\"372\" />\n</p>\n<p></p>\n<h2></h2>\n<h2></h2>\n<div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">\n<p>\nรูปที่ 6 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 3<br />\nแหล่งที่มาของภาพ <a href=\"http://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30107&amp;mode=view\">http://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30107&amp;mode=view</a>\n</p>\n<p></p></span></span></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span>\n</p></div>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><i><big>ระยะที่ 3</big></i><big> ยุครุ่งเรือง เป็นยุคที่เปลี่ยนจากอุตสาหกรรมระดับเล็ก มาสู่ระดับเมืองยุคนี้เป็นยุคที่เครื่องเคลือบมีการพัฒนาจนได้เนื้อดินปั้นค่อนข้างบริสุทธิ์ สีขาว มีสิ่งเจือปนน้อยมาก (การเตรียมดินดีขึ้น มีการกรองสิ่งสกปรกออกดีขึ้น อาจเป็นเพราะต้องการพัฒนาคุณภาพให้ดีเพื่อส่งขายภายนอก (แข่งขันกับเวียดนาม) น้ำเคลือบมีทั้งสี ขาวน้ำนม เขียว น้ำตาล งานประณีตสวยงาม ในยุคนี้การที่เนื้อดินค่อนข้างดี ทำให้ตกแต่งลวดลายได้ดีกว่าเดิม การตกแต่งลวดลายต่างๆดีขึ้น เช่นลายดอกไม้ ลายกลีบบัว ลายปลา น้ำเคลือบเรียบสม่ำเสมอ มีการไล่ระดับสีต่างๆกัน ประเภทเขียนลายสีดำ มีการตกแต่งลวดลายมากและวิจิตรมากกว่าเดิมโดยเฉพาะลายช่อดอกไม้ ลายปลาคาบดอกไม้ ปลาคู่และลายรูปสัตว์ต่างๆการเคลือบสีขาว และเคลือบ 2 สี อยู่ในยุคนี้ อายุราวพุทธศตวรรษ20-21</big></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u17830/14line16kf8.jpg\" style=\"width: 375px; height: 46px\" height=\"100\" width=\"500\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><big>วิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 4</big> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<h2 align=\"center\"></h2>\n<p></p>\n<h2></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></p>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></p>\n<h2>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/11_2_.jpg\" height=\"341\" width=\"387\" />\n</div>\n</h2>\n<p></p>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">\n<p>\nรูปที่ 7 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 4 <br />\nแหล่งที่มาของภาพhttp://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30112&amp;mode=view\n</p>\n<p></p></span></span></span></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></p>\n<h2 align=\"left\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"><i><big>ระยะที่ 4</big></i><big> ระยะปลาย ระยะนี้สังคโลกมักมีเนื้อดินหยาบหนา (ความหนาเนื่องจากคุณภาพดินไม่ดีทำให้ขึ้นรูปได้ยาก) ส่วนที่ถูกไฟจัด จะมีสีส้ม น้ำเคลือบสีเขียวน้ำทะเลใส และแตกรานบางครั้งน้ำเคลือบจะไหลย้อยรวมกันที่ก้นภาชนะและรานเล็กๆคล้ายตกผลึก ยุคนี้เน้นปริมาณจึงทำให้ไม่ประณีตเหมือนเดิม การผลิตเครื่องเคลือบของศรีสัชนาลัยเริ่มเสื่อมลง ทำให้ ลวดลายต่างๆ เป็นลายง่ายๆ ลวดลายในยุคนี้ได้แก่ ลายขูดขีด หรือลายจักสานอย่างง่ายๆ ที่นิยมตกแต่งในภาชนะประเภทกระปุก ชามและ จาน เคลือบเขียว ส่วนลายประเภท สีดำใต้เคลือบมักตกแต่งบริเวณก้นภาชนะด้านใน ด้วยลายรูปบุคคล ลายกิเลน หอยสังข์หรือลายดอกบัวอยู่ท่ามกลางคลื่น ตัวภาชนะเขียนลายใบไม้ก้านขด หรือลายกลีบสามเหลี่ยม บริเวณขอบปากมักตกแต่งด้วยลายคล้ายคลื่น กลุ่มนี้มีอายุในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ตอนต้น</big> </span></span></span></span></h2>\n<h2 align=\"left\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<h2 align=\"left\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\">\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/f62.gif\" height=\"52\" width=\"350\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\">  \n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/39744\"><img border=\"0\" src=\"/files/u17830/hom.jpg\" height=\"91\" width=\"77\" /></a>\n</div>\n<p></p></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<p></p>\n<h2><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<p></p>\n<h2><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #333399\"><span style=\"color: #800000\"></span></span></span></span></h2>\n<p><span style=\"color: #008000\"></span></p>\n<h2 align=\"center\">\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<a href=\"/node/39744?page=0%\"></a>\n</p>\n<p></p></h2>\n<p>\n</p></div>\n<p></p>\n', created = 1715733886, expire = 1715820286, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fda8d11b70f4363ff40e87544fd60909' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ถ้วยจานสังคโลก...วิวัฒนาการระยะต่างๆ

 

วิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 1

                                                                

 

รูปที่ 4 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 1
แหล่งที่มาของภาพhttp://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=29926&mode=view


ระยะที่ 1 เรียกว่า เครื่องถ้วยเชลียง หรือ เครื่องถ้วยมอญ เป็นเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแกร่งมีทั้งเคลือบและไม่เคลือบ ประเภท ไห ชามจาน เนื้อดินมีลักษณะหยาบมีแร่เหล็กผสมอยู่ เมื่อเผาแล้วบริเวณที่ไม่เคลือบ มีสนิมเหล็กฉาบอยู่ ผิวไม่เรียบมีรูพรุน สีเคลือบ มีสีเขียวมะกอกเข้ม เขียวแกมเหลือง เขียวแกมน้ำตาล น้ำตาลแกมเหลือง น้ำตาลเข้ม การเคลือบจาน มักเว้นบริเวณปากชาม เนื่องจากใช้วิธีวางเอาปากประกบกันในการนำเข้าเตา ลายบนภาชนะ มีการใช้น้ำดินสีขาวค่อนข้างหนา รองพื้นก่อนตกแต่งลวดลายและเคลือบ การตกแต่งลวดลาย มักใช้วิธี ขูด ขีด เป็นลวดลายเลขาคณิตแบบง่ายๆ ภายใน ชาม จาน ที่ทำลวดลายขูดขีด ก่อนเคลือบการขูดลวดลายจะเจาะทะลุชั้นน้ำดินสีขาว ทะลุลงไปถึงเนื้อดินสีดำ ดังนั้นเมื่อเคลือบและผ่านการเผาแล้ว ตรงที่เป็นรอยลวดลาย จึงมีสีเข้ม ซึ่งเป็นสีของเนื้อดินจริงๆอายุราว พุทธศตวรรษที่ 17

 

 

 

 

วิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 2

 

รูปที่ 5 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 2
แหล่งที่มาของภาพ http://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30105&mode=view

ระยะที่ 2 ระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ ลักษณะเนื้อดินของกลุ่มนี้ มีเนื้อละเอียดขึ้น และการขึ้นรูปดีกว่าเครื่องเคลือบแบบเชลียง เนื้อดินค่อนข้างละเอียด แกร่ง สีขาวอมเทา มีส่วนผสมของแร่เหล็กปนน้อย น้ำเคลือบบางใส เรียบสม่ำเสมอ ยุคหัวเลี้ยวหัวต่อ ภาชนะประเภท จาน ชาม มักตกแต่งลวดลาย บริเวณรอบภาชนะ ด้วยการขูด สลัก หรือเซาะร่องเล็กๆ เรียงขนาน กันตามแนวตั้งโดยรอบ เครื่องถ้วยกลุ่มนี้ รูปทรงและลวดลาย เปรียบเทียบได้กับ เครื่องถ้วยเคลือบสีเขียวจากเตาหลงเฉียน ในสมัยต้นราชวงศ์หมิง ดังนั้นชามกลุ่มนี้ จึงมีอายุราว ปลาย พุทธศตวรรษที่ 19 -20 ตอนต้นและได้มีการตกแต่งลวดลายสีดำใต้เคลือบ ซึ่งแสดงถึงอิทธิพลจากภายนอกอย่างชัดเจน ลวดลายที่ตกแต่งมากสุดในช่วงนี้ ได้แก่ ลายปลาคาบกิ่งพันธ์พฤกษา และลายช่อดอกไม้ หรือลายดอกไม้ก้านขด

 

 
 

วิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 3  

รูปที่ 6 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 3
แหล่งที่มาของภาพ http://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30107&mode=view

ระยะที่ 3 ยุครุ่งเรือง เป็นยุคที่เปลี่ยนจากอุตสาหกรรมระดับเล็ก มาสู่ระดับเมืองยุคนี้เป็นยุคที่เครื่องเคลือบมีการพัฒนาจนได้เนื้อดินปั้นค่อนข้างบริสุทธิ์ สีขาว มีสิ่งเจือปนน้อยมาก (การเตรียมดินดีขึ้น มีการกรองสิ่งสกปรกออกดีขึ้น อาจเป็นเพราะต้องการพัฒนาคุณภาพให้ดีเพื่อส่งขายภายนอก (แข่งขันกับเวียดนาม) น้ำเคลือบมีทั้งสี ขาวน้ำนม เขียว น้ำตาล งานประณีตสวยงาม ในยุคนี้การที่เนื้อดินค่อนข้างดี ทำให้ตกแต่งลวดลายได้ดีกว่าเดิม การตกแต่งลวดลายต่างๆดีขึ้น เช่นลายดอกไม้ ลายกลีบบัว ลายปลา น้ำเคลือบเรียบสม่ำเสมอ มีการไล่ระดับสีต่างๆกัน ประเภทเขียนลายสีดำ มีการตกแต่งลวดลายมากและวิจิตรมากกว่าเดิมโดยเฉพาะลายช่อดอกไม้ ลายปลาคาบดอกไม้ ปลาคู่และลายรูปสัตว์ต่างๆการเคลือบสีขาว และเคลือบ 2 สี อยู่ในยุคนี้ อายุราวพุทธศตวรรษ20-21

 

 

วิวัฒนาการของถ้วยจานสังคโลกระยะที่ 4

รูปที่ 7 ถ้วยจานสังคโลก วิวัฒนาการระยะที่ 4
แหล่งที่มาของภาพhttp://www.thaioldbead.com/download/file.php?id=30112&mode=view

ระยะที่ 4 ระยะปลาย ระยะนี้สังคโลกมักมีเนื้อดินหยาบหนา (ความหนาเนื่องจากคุณภาพดินไม่ดีทำให้ขึ้นรูปได้ยาก) ส่วนที่ถูกไฟจัด จะมีสีส้ม น้ำเคลือบสีเขียวน้ำทะเลใส และแตกรานบางครั้งน้ำเคลือบจะไหลย้อยรวมกันที่ก้นภาชนะและรานเล็กๆคล้ายตกผลึก ยุคนี้เน้นปริมาณจึงทำให้ไม่ประณีตเหมือนเดิม การผลิตเครื่องเคลือบของศรีสัชนาลัยเริ่มเสื่อมลง ทำให้ ลวดลายต่างๆ เป็นลายง่ายๆ ลวดลายในยุคนี้ได้แก่ ลายขูดขีด หรือลายจักสานอย่างง่ายๆ ที่นิยมตกแต่งในภาชนะประเภทกระปุก ชามและ จาน เคลือบเขียว ส่วนลายประเภท สีดำใต้เคลือบมักตกแต่งบริเวณก้นภาชนะด้านใน ด้วยลายรูปบุคคล ลายกิเลน หอยสังข์หรือลายดอกบัวอยู่ท่ามกลางคลื่น ตัวภาชนะเขียนลายใบไม้ก้านขด หรือลายกลีบสามเหลี่ยม บริเวณขอบปากมักตกแต่งด้วยลายคล้ายคลื่น กลุ่มนี้มีอายุในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ตอนต้น

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 325 คน กำลังออนไลน์