• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6c17502b5fe9d6b48804fddd27e9d00d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #33cccc\">สถานีดาวเทียมไทยคม</span> </strong>\n</p>\n<dd><span style=\"color: #9966cc\"><strong><span style=\"color: #993300\">Satellite Control Facility ( SCF )</span> ได้แก่ อาคารปฎิบัติการและระบบสนับสนุนต่าง ๆ ที่ทันสมัย ส่วนด้าน หน้าชั้นล่างของอาคารได้จัดเตรียมไว้เป็นห้องสัมมนาทางวิชาการและห้องนิทรรศการ ให้ผู้ที่เข้าสัมมนา และผู้ เยี่ยมชมได้ศึกษาหาความรู้ โดยได้จัดเตรียมไว้ยริการเพื่อได้ประโยชน์สูงสุด </strong><br />\n<dd><span style=\"color: #9966cc\"><strong>ชั้นล่างส่วนกลางของอาคาร ประกอบด้วยระบบไฟฟ้าต่อเนื่อง ( Uninterrupt Power Supply หรือ UPS ขนาด 400 กิโลวัตต์ ) และแบตเตอรี่สามารถจ่ายไฟได้นานถึง 30 นาที ระบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองขนาด 1,000 กิโลวัตต์ สามารถจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบได้ภายใน 3 วินาที เมื่อเกิดเหตุระบบไฟฟ้าปกติขัดข้อง และผลิต ไฟจ่ายได้ไม่ต่ำกว่า 42 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังมีระบบป้องกันไฟกระชาก ( Surge Protection ) ระบบล่อฟ้า ระบบป้องกันเพลิง ระบบดับเพลิง และระบบควบคุมความปลอดภัย </strong><br />\n<dd><span style=\"color: #9966cc\"><strong>ส่วนหลังของอาคารประกอบด้วยห้องควบคุมและติดตามดาวเทียม ( Control Room ) ประกอบด้วยห้อง อุปกรณ์ความถี่วิทยุ ( RF Room ) และสนามจานสายอากาศ 5 จาน ประกอบด้วยจาน C-Band 3 จาน ( ขนาด 11 เมตร 2 จาน สำหรับไทยคม 1,2 ส่วนจานที่ 3 เป็นจานสำรองขนาด 8.1 เมตร ใช้สำหรับกรณีจานใดจาน หนึ่งต้องการต้องการการซ่อมแซม หรือ ถึงกำหนดการดูแลรักษา ส่วน Ku-Band มี 2 จาน มี ขนาด 11 เมตร เช่นกัน เพื่อใช้กับไทยคม 1,2ในย่าน Ku-Band ) </strong></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0033ff\"><strong><span style=\"color: #339966\">Telemetry Tracking Control &amp; Monitoring ( TTC&amp;M )</span> ระบบตรวจวัด ติดตาม ควบคุมและเฝ้าดู ระบบ นี้จะเป็นระบที่มีทั้งส่วนที่อยู่บนตัวดาวเทียมและสถานีควบคุมภาคพื้นดิน โดยระบบตรวจวัด ( Telemetry ) จะส่งข้อมูลที่ได้ จากการตรวจวัดสัญญาณควบคุมต่าง ๆ อาทิ แรงดันในถังเก็บเชื้อเพลิง แรงดันกระแสไฟฟ้า เป็นต้น </strong><br />\n<dd><span style=\"color: #0033ff\"><strong>ในส่วนที่ผลิตพลังงานไฟฟ้าตลอดจนค่ากระแสและแรงดันต่าง ๆ ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนตัวดาวเทียมแล้วส่งมาสถานี คงบคุมภาคพื้นดิน ส่วนระบบติดตาม ( Tracking ) เป็นระบบที่อยู่ภาคพื้นดิน ซึ่งคอยจัดการเกี่ยวกับข้อมูลทางตำแหน่งของ ตัวดาวเทียม เช่น ระยะห่างจากโลก มุมกวาดในแนวนอนของจานสายอากาศ ( Azimuth ) และมุมเงยของจานสายอากาศ ( Elevation ) จากการตรวจจับพารามิเตอร์ทั้งสามซ้ำ ๆ กันหลายครั้ง ก็จะทำให้สถานีควบคุมภาคพื้นดิน สามารถกำหนดตำแหน่งที่ถูกต้อง ของตัวดาวเทียม ณ ขณะนั้น ๆ ได้ อุปกรณ์ภาคพื้นดินที่ติดตั้งอยู่นั้นมีความแม่นยำในการบอกตำแหน่งของดาวเทียมได้ภาย ในระยะผิดผลาดไม่เกิน 100 เมตร ในขณะที่ดาวเทียมมีวงโคจรอยู่เหนือพื้นผิวโลกประมาณ 35,786 กิโลเมตร การรับสัญญาณ ระบบตรวจวัด ( Telemetry ) จากดาวเทียม และข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่งและโคจร จากระบบการติดตาม ( Tracking ) จะ ทำให้สถานีควบคุมภาคพื้นดินสามารถส่งสัญญาณควบคุม ( Command Control ) ไปยังตัวดาวเทียมเพื่อใช้ในการปรับสภาพ ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในการทำงานได้ตลอดเวลา </strong><br />\n<dd><span style=\"color: #0033ff\"><strong>ส่วนการเฝ้าดูผล ( Monitoring ) นอกจากจะดูผลหลังจากการควบคุมและออกคำสั่งแล้วสถานีควบคุมดาวเทียมยังสามารถ ดูผลของการใช้ช่องสัญญาณอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูงสุด มีการตรวจสอบว่ามีการรบกวนชึ่งกันและกันหรือไม่ เนื่องจาก ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมนั้นมีจำนวนมากและซับซ้อนจึงจำเป็นต้องนำระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล( Computer and Data processing System ) เข้ามาช่วยในการคำนวณและประมวลผล </strong><br />\n<dd><span style=\"color: #0033ff\"><strong>สถานีควบคุมดาวเทียมไทยคมนี้ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฎิบัติงาน พร้อมกันนั้นยังมีหน่วย งานอื่น ๆ อาทิ ฝ่ายการพาณิชย์ ฝ่ายธุรการและงานบริการทั่วไป ที่สามารถให้บริการแก่ผู้เช่าช่องสัญญาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ </strong><br />\n<dd><strong>\n<hr />\n</strong></dd>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #33cccc\">อุปกรณ์หลักของสถานีภาคพื้นดิน</span><br />\n</strong>\n</p>\n<p></p></span></dd>\n<p></p></span></dd>\n<p></p></span></dd>\n<p></p></span></dd>\n<p></p></span></dd>\n<p></p></span></dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"> -อุปกรณ์มัลติเพลกซ์</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff99cc\">ทางด้านส่งอุปกรณ์มัลติเพลกซ์จะทำหน้าที่รวมช่องสัญญาณต่างๆเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถส่งไปในคลื่นพาห์เดียวกันได้ ส่วนทางด้านรับอุปกรณ์ ดีมัลติเพลกซ์ทำหน้าที่แยกช่องสัญญาณที่รวมอยู่กับคลื่นพาห์ ออกเป็นช่องสัญญาณสื่อสารแต่ละช่อง</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-อุปกรณ์ GCE และup/down converter </span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ด้านส่งจะรับสัญญาณจากอุปกร์มัลติเพลกซ์และทำการมอดูเลท ให้เป็นสัญญาณ IF(intermediat frequency) ความถี่ 70 หรือ 140 MHz จากนั้นอุปกรณ์ up-converter จะแปลงเป็นสัญญาณ RF <radio></radio>ในย่านความถี่ 5925-6425 MHz เพื่อส่งไปยังเครื่องส่งกำลังสูง ด้านรับจะรับ สัญญาณ RF จากเครื่องรับสัญญาณรบกวนต่ำและแปลงเป็นสัญญาณ IF ด้วย อุปกรณ์ Down-converter และการทำดีมอดูเลท สัญญาณเพื่อส่งต่อไปยังอุปกรณ์ดีมัลติเพลกซ์</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff9900\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff9900\">-อุปกรณ์เครื่องส่งกำลัง</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff9900\">ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ RF ให้มีความแรงของสัญญาณเพียงพอ ที่จะส่งไปยังดาวเทียม</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #99cc00\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #99cc00\">-อุปกรณ์สายอากาศและอุปกรณ์ควบคุม</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #99cc00\">จานสายอากาศจะทำหน้าที่ทั้งรับและส่งสัญญาณระหว่างสถานีภาคพื้นดินกับดาวเทียม ส่วนรับบการควบคุม จานสายอากาศทำหน้าที่ ควบคุมทิศทางของจานฯ ให้ชัดตรงดาวเทียมอยู่เกือบตลอดเวลา</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #808000\">-อุปกรณ์เครื่องรับสัญญาณรบกวนต่ำ</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #808000\">ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ RF ที่รับจากดาวเทียมซึ่งมีกำลังต่ำมากให้สูงขึ้น</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">-ระบบไฟฟ้ากำลังและ UPS</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">เป็นระบบทำหน้าที่จ่ายไฟให้กับอปกรณ์สื่อสารเพื่อให้สามารถทำงานได้ จะช่วยไม่ให้มีการหยุดชะงักของการให้บริการ</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\">-ระบบเฝ้าดูและควบคุม</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ผู้ปฏิบัติงานสามารถควบคุมอุปกรณ์ได้ทั้งหมดในห้องควบคุมและมีสัญญาณเตือนเมื่อเกิดความขัดข้องของอุปกรณ์นั้นๆ</span>\n</div>\n<dd><strong>\n<hr />\n</strong></dd>\n', created = 1726767983, expire = 1726854383, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6c17502b5fe9d6b48804fddd27e9d00d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไทยคมดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร

สถานีดาวเทียมไทยคม 

Satellite Control Facility ( SCF ) ได้แก่ อาคารปฎิบัติการและระบบสนับสนุนต่าง ๆ ที่ทันสมัย ส่วนด้าน หน้าชั้นล่างของอาคารได้จัดเตรียมไว้เป็นห้องสัมมนาทางวิชาการและห้องนิทรรศการ ให้ผู้ที่เข้าสัมมนา และผู้ เยี่ยมชมได้ศึกษาหาความรู้ โดยได้จัดเตรียมไว้ยริการเพื่อได้ประโยชน์สูงสุด
ชั้นล่างส่วนกลางของอาคาร ประกอบด้วยระบบไฟฟ้าต่อเนื่อง ( Uninterrupt Power Supply หรือ UPS ขนาด 400 กิโลวัตต์ ) และแบตเตอรี่สามารถจ่ายไฟได้นานถึง 30 นาที ระบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองขนาด 1,000 กิโลวัตต์ สามารถจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบได้ภายใน 3 วินาที เมื่อเกิดเหตุระบบไฟฟ้าปกติขัดข้อง และผลิต ไฟจ่ายได้ไม่ต่ำกว่า 42 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังมีระบบป้องกันไฟกระชาก ( Surge Protection ) ระบบล่อฟ้า ระบบป้องกันเพลิง ระบบดับเพลิง และระบบควบคุมความปลอดภัย
ส่วนหลังของอาคารประกอบด้วยห้องควบคุมและติดตามดาวเทียม ( Control Room ) ประกอบด้วยห้อง อุปกรณ์ความถี่วิทยุ ( RF Room ) และสนามจานสายอากาศ 5 จาน ประกอบด้วยจาน C-Band 3 จาน ( ขนาด 11 เมตร 2 จาน สำหรับไทยคม 1,2 ส่วนจานที่ 3 เป็นจานสำรองขนาด 8.1 เมตร ใช้สำหรับกรณีจานใดจาน หนึ่งต้องการต้องการการซ่อมแซม หรือ ถึงกำหนดการดูแลรักษา ส่วน Ku-Band มี 2 จาน มี ขนาด 11 เมตร เช่นกัน เพื่อใช้กับไทยคม 1,2ในย่าน Ku-Band )
Telemetry Tracking Control & Monitoring ( TTC&M ) ระบบตรวจวัด ติดตาม ควบคุมและเฝ้าดู ระบบ นี้จะเป็นระบที่มีทั้งส่วนที่อยู่บนตัวดาวเทียมและสถานีควบคุมภาคพื้นดิน โดยระบบตรวจวัด ( Telemetry ) จะส่งข้อมูลที่ได้ จากการตรวจวัดสัญญาณควบคุมต่าง ๆ อาทิ แรงดันในถังเก็บเชื้อเพลิง แรงดันกระแสไฟฟ้า เป็นต้น
ในส่วนที่ผลิตพลังงานไฟฟ้าตลอดจนค่ากระแสและแรงดันต่าง ๆ ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนตัวดาวเทียมแล้วส่งมาสถานี คงบคุมภาคพื้นดิน ส่วนระบบติดตาม ( Tracking ) เป็นระบบที่อยู่ภาคพื้นดิน ซึ่งคอยจัดการเกี่ยวกับข้อมูลทางตำแหน่งของ ตัวดาวเทียม เช่น ระยะห่างจากโลก มุมกวาดในแนวนอนของจานสายอากาศ ( Azimuth ) และมุมเงยของจานสายอากาศ ( Elevation ) จากการตรวจจับพารามิเตอร์ทั้งสามซ้ำ ๆ กันหลายครั้ง ก็จะทำให้สถานีควบคุมภาคพื้นดิน สามารถกำหนดตำแหน่งที่ถูกต้อง ของตัวดาวเทียม ณ ขณะนั้น ๆ ได้ อุปกรณ์ภาคพื้นดินที่ติดตั้งอยู่นั้นมีความแม่นยำในการบอกตำแหน่งของดาวเทียมได้ภาย ในระยะผิดผลาดไม่เกิน 100 เมตร ในขณะที่ดาวเทียมมีวงโคจรอยู่เหนือพื้นผิวโลกประมาณ 35,786 กิโลเมตร การรับสัญญาณ ระบบตรวจวัด ( Telemetry ) จากดาวเทียม และข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่งและโคจร จากระบบการติดตาม ( Tracking ) จะ ทำให้สถานีควบคุมภาคพื้นดินสามารถส่งสัญญาณควบคุม ( Command Control ) ไปยังตัวดาวเทียมเพื่อใช้ในการปรับสภาพ ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในการทำงานได้ตลอดเวลา
ส่วนการเฝ้าดูผล ( Monitoring ) นอกจากจะดูผลหลังจากการควบคุมและออกคำสั่งแล้วสถานีควบคุมดาวเทียมยังสามารถ ดูผลของการใช้ช่องสัญญาณอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูงสุด มีการตรวจสอบว่ามีการรบกวนชึ่งกันและกันหรือไม่ เนื่องจาก ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมนั้นมีจำนวนมากและซับซ้อนจึงจำเป็นต้องนำระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล( Computer and Data processing System ) เข้ามาช่วยในการคำนวณและประมวลผล
สถานีควบคุมดาวเทียมไทยคมนี้ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฎิบัติงาน พร้อมกันนั้นยังมีหน่วย งานอื่น ๆ อาทิ ฝ่ายการพาณิชย์ ฝ่ายธุรการและงานบริการทั่วไป ที่สามารถให้บริการแก่ผู้เช่าช่องสัญญาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อุปกรณ์หลักของสถานีภาคพื้นดิน

 -อุปกรณ์มัลติเพลกซ์
ทางด้านส่งอุปกรณ์มัลติเพลกซ์จะทำหน้าที่รวมช่องสัญญาณต่างๆเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถส่งไปในคลื่นพาห์เดียวกันได้ ส่วนทางด้านรับอุปกรณ์ ดีมัลติเพลกซ์ทำหน้าที่แยกช่องสัญญาณที่รวมอยู่กับคลื่นพาห์ ออกเป็นช่องสัญญาณสื่อสารแต่ละช่อง
-อุปกรณ์ GCE และup/down converter
ด้านส่งจะรับสัญญาณจากอุปกร์มัลติเพลกซ์และทำการมอดูเลท ให้เป็นสัญญาณ IF(intermediat frequency) ความถี่ 70 หรือ 140 MHz จากนั้นอุปกรณ์ up-converter จะแปลงเป็นสัญญาณ RF ในย่านความถี่ 5925-6425 MHz เพื่อส่งไปยังเครื่องส่งกำลังสูง ด้านรับจะรับ สัญญาณ RF จากเครื่องรับสัญญาณรบกวนต่ำและแปลงเป็นสัญญาณ IF ด้วย อุปกรณ์ Down-converter และการทำดีมอดูเลท สัญญาณเพื่อส่งต่อไปยังอุปกรณ์ดีมัลติเพลกซ์
-อุปกรณ์เครื่องส่งกำลัง
ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ RF ให้มีความแรงของสัญญาณเพียงพอ ที่จะส่งไปยังดาวเทียม
-อุปกรณ์สายอากาศและอุปกรณ์ควบคุม
จานสายอากาศจะทำหน้าที่ทั้งรับและส่งสัญญาณระหว่างสถานีภาคพื้นดินกับดาวเทียม ส่วนรับบการควบคุม จานสายอากาศทำหน้าที่ ควบคุมทิศทางของจานฯ ให้ชัดตรงดาวเทียมอยู่เกือบตลอดเวลา
-อุปกรณ์เครื่องรับสัญญาณรบกวนต่ำ
ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ RF ที่รับจากดาวเทียมซึ่งมีกำลังต่ำมากให้สูงขึ้น
-ระบบไฟฟ้ากำลังและ UPS
เป็นระบบทำหน้าที่จ่ายไฟให้กับอปกรณ์สื่อสารเพื่อให้สามารถทำงานได้ จะช่วยไม่ให้มีการหยุดชะงักของการให้บริการ
-ระบบเฝ้าดูและควบคุม
ผู้ปฏิบัติงานสามารถควบคุมอุปกรณ์ได้ทั้งหมดในห้องควบคุมและมีสัญญาณเตือนเมื่อเกิดความขัดข้องของอุปกรณ์นั้นๆ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 496 คน กำลังออนไลน์