• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a49087ae949d77dcc3a8a034f75fa9d8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><em><span style=\"color: #ff0000\">ไทยคมดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร</span></em></u></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc33\"></span>\n</p>\n<h1 align=\"center\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #99cc33\"><strong> </strong></span></span><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #99cc33\"><strong>ประเทศไทยกับระบบสื่อสารดาวเทียม</strong></span></span></h1>\n<h1 align=\"center\"><span style=\"color: #99cc33\"></span></h1>\n<h1><span style=\"color: #99cc33\"></span></h1>\n<h1><span style=\"color: #99cc33\">         <span style=\"color: #ff00ff\">   </span><span style=\"color: #0000ff\">ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นผู้ถือหุ้นขององค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ หรืออินเทลแสท (INTELSAT-International Telecommunications Satellite Organization) เมื่อปี พ.ศ. 2509 โดยกรมไปรษณีย์โทรเลขขณะนั้นได้รับมอบหมายให้เป็นตัวแทนรัฐบาลไทยในองค์การดังกล่าว (ปัจจุบันได้โอนมา อยู่ในความรับผิดชอบของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศทย พ.ศ.2519) ไทยสมัครเป็นสมาชิกองค์การ INTELSAT เป็นอันดับที่ 49 โดยร่วมทุนถือหุ้นครั้งแรก 0.1% ปัจจุบันได้ เพิ่มทุนเป็น 1.17% เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2536 เป็นอันดับที่ 20 ในจำนวนผู้ถือหุ้นทั้งหมด นับตั้งแต่องค์การนี้เริ่มก่อตั้งมาจนถึงปัจจุบันได้ส่งชุดดาวเทียม INTELSAT ขึ้นสู่อวกาศแล้วหลายรุ่น รุ่นล่าสุดคือ INTELSAT VII (ปี 2536) และในปี 2538 จะมีการพัฒนารุ่น INTELSAT VII-A มาใช้งานต่อไป</span><br />\n<dd></dd>\n<dd>\n<hr />\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong>ดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ &quot;ไทยคม&quot; HS-376</strong> </span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div>\n<span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #008080\">ไทยคม ดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรกของรัฐบาลไทย เป็นดาวเทียมรูปทรงกระบอก ผลิตโดยบริษัท ฮิวจ์ แอร์คราฟท์ แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อรุ่นเรียกว่า ดาวเทียมรุ่น HS-376 เป็นดาวเทียมรุ่นแรกที่ได้รับความนิยมใช้อย่างมากเพราะมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา อายุกางใช้งานของดาวเทียมรุ่นนี้ จะเท่ากับประมาณ 15 ปี (สามารถบรรจุเชื้อเพลิงได้สำหรับการใช้งานเต็มที่ 15 ปี ซึ่งอายุการใช้งาน 15 ปี มิใช่การหมดอายุของอุปกรณ์สื่อสารและอุปกรณ์ต่างๆในตัวดาวเทียมนั้นเอง) ดังนั้นในช่วงระยะเวลาสัมปทานของโครงการฯไทยคมรวม 30 ปีจะมีการส่งดาวเทียมขึ้นสู่ตำแหน่งวงโคจรบนอวกาศอย่างน้อย 2 รุ่น และตามข้อกำหนดในสัมปทานนั้น ในการส่งดาวเทียมแต่ละรุ่นจะต้องส่ง 2 ดวงเพื่อเป็น ดาวเทียมสำรองเมื่อรวมทั้งหมดแล้วโครงการฯไทยคม จะมีการยิงดาวเทียมขึ้นสู่ตำแหน่งวงโคจรทั้งสิ้นอย่างน้อย 4 ดวง</span> </span>\n</div>\n</dd>\n<h1></h1>\n<h1 align=\"center\"><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" /><img height=\"230\" width=\"123\" src=\"/files/u25033/_________________HS-376.jpg\" border=\"0\" /> </h1>\n<h1 align=\"center\">อ้างอืง : <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/skn422/ttc/thaicom11.htm\">http://www.skn.ac.th/skl/skn422/ttc/thaicom11.htm</a> </h1>\n<dd>\n<div align=\"center\">\n<hr />\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"center\">\n<h1><strong><span style=\"color: #33cccc\">โครงการดาวเทียมแห่งชาติ</span></strong></h1>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div>\n<h1><span style=\"color: #99cc00\">พ.ศ. 2533 รัฐบาลไทย โดย กระทรวงคมนาคมได้ประกาศเชิญชวนให้ภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุน<br />\nในโครงการดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรกของไทยซึ่งต่อมา บริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์<br />\nแอนด์ คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด โดยบริษัท ชินวัตรแซทแทลไลท์ จำกัดได้รับความไว้วางใจจาก<br />\nกระทรวงคมนาคม ให้เป็นผู้รับสัมปทานในการทำดำเนินโครงการแห่งประวัติศาสตร์นี้ เป็นเวลา<br />\n30 ปีทั้งนี้บริษัทฯ จะได้ดำเนินการจัดสร้าง จัดส่ง และให้บริการวงจรดาวเทียมแก่ผู้ใช้ใน<br />\nประเทศไทย และ ภูมิภาคนี้โดยใช้เงินลงทุนกว่า 5,000 ล้านบาท โดยบริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์<br />\nจำกัด ได้ลงนามในสัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารดวงแรกของไทยกับกระทรวงคมนาคม<br />\nเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2534 โครงการแห่งชาติ เนื่องจากตัวดาวเทียมและอุปกรณ์ต่าว ๆ จะเป็น<br />\nสมบัติของกระทรวงคมนาคม<br />\n</span></h1>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div>\n<span style=\"color: #99cc00\">     ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรงเกล้าฯ พระราชทาน ชื่อดาวเทียมสื่อสารดวงแรกอันเป็นสมบัติของชาติว่า ดาวเทียม &quot; ไทยคม &quot; ซึ่งมาจากคำว่า &quot; ไทยคม (นาคม) &quot; หรือ เขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า &quot; THAICOM &quot; อันเป็นชื่อที่จะถูกจารึกไว้ในสารบบดาวเทียมของโลกตลอด</span>\n</div>\n</dd>\n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<h1>\n<hr />\n</h1>\n<h1 align=\"center\"><strong><span style=\"color: #33cccc\">รายละเอียดโครงการ</span></strong> </h1>\n<h1><span style=\"color: #99ccff\">         <span style=\"color: #ff00ff\"> ประวัติศาสตร์จะต้องจารึกไว้ว่า ประเทศไทยได้จัดส่งดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรก ชื่อดาวเทียม &quot; ไทยคม-1 &quot; เป็นดาวเทียมรุ่น HS 376 ซึ่งเป็นรุ่นที่ได้รับการยอมรับและใช้งาน มากที่สุดในโลกที่สร้างโดยบริษัท Hughes Aircraft แห่งสหรัฐอเมริกา ดาวเทียม &quot; ไทยคม &quot; ประกอบด้วยวงจรดาวเทียม 12 ทรานส์พอนเดอร์ [ Transponder ] ใช้ความถี่ย่าน C-Band จำนวนดวงละ 10 ทรานส์พอนเดอร์ และความถี่ย่าน Ku-Band จำนวนดวงละ 2 ทรานส์พอนเดอร์ สามารถให้พื้นที่บริการ [ Footprint ] ครอบคลุมประเทศไทยและทุกประเทศในแถบอินโดจีนจนถึง เกาหลี ญี่ปุ่นและแถบชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจีนซึ่งไทยเป็นศูนย์กลางการโทรคมนาคม แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกจากการเตรียมงานโดยทีมผู้เชี่ยวชาญของบริษัทฯ นานกว่า 2ปี ปลายปี 2536ดาวเทียม &quot; ไทยคม-1 &quot; จะถูกจัดส่งโดยบริษัท Arianespace แห่งฝรั่งเศส ผู้เชี่ยวชาญในการยิงจรวดส่งดาวเทียม ขึ้นสู่วงโคจรในอวกาศเหนือเส้นศูนย์สูตรที่ระดับ ความสูง 35,786 กิโลเมตร หลังจากถูกส่งเข้าสู่วงโคจรเรียบร้อยแล้วดาวเทียม &quot; ไทยคม-1&quot; จะพร้อมให้บริการได้ในราวต้นปี 2537 ดาวเทียม &quot; ไทยคม-2 &quot;จะถูกส่งขึ้นอีกในราวหนึ่งปี ถัดไปซึ่งดาวเทียมทั้ง 2 จะอยู่ ณ Orbital Slot ที่ 101 และ 78.5 องศาตะวันออกและ ดาวเทียมทั้ง 2 ดวงจะทำหน้าที่สำรองซึ่งกันและกัน </span></span></h1>\n<h1>\n<hr />\n</h1>\n<p></p></span></h1>\n<p><span style=\"color: #66ccff\"></span><center><strong></strong></center><center><strong></strong></center><center><strong></strong></center><center><strong><span style=\"color: #33cccc\">กำเนิดระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม</span></strong></center><center><strong></strong></center><center><strong></strong></center><center><strong></strong></center><center><strong></strong></center><center></center></p>\n<div align=\"left\">\n           <span style=\"color: #ff00ff\"> <span style=\"color: #ff99cc\">ผู้ที่มีจินตนาการกว้างไกล และจุดประกายความใฝ่ฝันคือ อาเธอร์ ซีคลาร์ก นักเขียนนิยายและสารคดีวิทยาศาสตร์ชื่อดัง ในปี ค.ศ. 1945 บทความเรื่อง .Extra-Terrestrail Relays&quot; บทความนี้กล่าวถึงการเชื่อมระบบสัญญาณวิทยุจากมุมโลกหนึ่งไปยังอีกมุมโลกหนึ่ง ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยใช้สถานีถ่ายทอดวิทยุที่ลอยอยู่ในอวกาศเหนือพื้นโลกขึ้นไปประมาณ 36,000 กิโลเมตร จำนวน 3 สถานี สถานีถ่ายทอดวิทยุของคลาร์กก็คือ ดาวเทียมในปัจจบุน และเหตุที่ต้องใช้ดาวเทียมอย่างน้อย 3 ดวง ก็เพื่อให้แต่ละดวงรับส่งสัญญาณกินอาณาบริเวณ 1 ใน 3 ของโลก ในปี ค.ศ. 1957 ความคิดของคลาร์กก็เริ้มเป็นจริง เมื่อรัสเซียได้ส่งสปุตนิก 1 ดาวเทียมดวงแรกขึ้นสู่อวกาศได้สำเร็จ</span></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<hr />\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n', created = 1726785746, expire = 1726872146, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a49087ae949d77dcc3a8a034f75fa9d8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไทยคมดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร

ไทยคมดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร

 ประเทศไทยกับระบบสื่อสารดาวเทียม

            ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นผู้ถือหุ้นขององค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ หรืออินเทลแสท (INTELSAT-International Telecommunications Satellite Organization) เมื่อปี พ.ศ. 2509 โดยกรมไปรษณีย์โทรเลขขณะนั้นได้รับมอบหมายให้เป็นตัวแทนรัฐบาลไทยในองค์การดังกล่าว (ปัจจุบันได้โอนมา อยู่ในความรับผิดชอบของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศทย พ.ศ.2519) ไทยสมัครเป็นสมาชิกองค์การ INTELSAT เป็นอันดับที่ 49 โดยร่วมทุนถือหุ้นครั้งแรก 0.1% ปัจจุบันได้ เพิ่มทุนเป็น 1.17% เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2536 เป็นอันดับที่ 20 ในจำนวนผู้ถือหุ้นทั้งหมด นับตั้งแต่องค์การนี้เริ่มก่อตั้งมาจนถึงปัจจุบันได้ส่งชุดดาวเทียม INTELSAT ขึ้นสู่อวกาศแล้วหลายรุ่น รุ่นล่าสุดคือ INTELSAT VII (ปี 2536) และในปี 2538 จะมีการพัฒนารุ่น INTELSAT VII-A มาใช้งานต่อไป

ดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ "ไทยคม" HS-376 
ไทยคม ดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรกของรัฐบาลไทย เป็นดาวเทียมรูปทรงกระบอก ผลิตโดยบริษัท ฮิวจ์ แอร์คราฟท์ แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อรุ่นเรียกว่า ดาวเทียมรุ่น HS-376 เป็นดาวเทียมรุ่นแรกที่ได้รับความนิยมใช้อย่างมากเพราะมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา อายุกางใช้งานของดาวเทียมรุ่นนี้ จะเท่ากับประมาณ 15 ปี (สามารถบรรจุเชื้อเพลิงได้สำหรับการใช้งานเต็มที่ 15 ปี ซึ่งอายุการใช้งาน 15 ปี มิใช่การหมดอายุของอุปกรณ์สื่อสารและอุปกรณ์ต่างๆในตัวดาวเทียมนั้นเอง) ดังนั้นในช่วงระยะเวลาสัมปทานของโครงการฯไทยคมรวม 30 ปีจะมีการส่งดาวเทียมขึ้นสู่ตำแหน่งวงโคจรบนอวกาศอย่างน้อย 2 รุ่น และตามข้อกำหนดในสัมปทานนั้น ในการส่งดาวเทียมแต่ละรุ่นจะต้องส่ง 2 ดวงเพื่อเป็น ดาวเทียมสำรองเมื่อรวมทั้งหมดแล้วโครงการฯไทยคม จะมีการยิงดาวเทียมขึ้นสู่ตำแหน่งวงโคจรทั้งสิ้นอย่างน้อย 4 ดวง

อ้างอืง : http://www.skn.ac.th/skl/skn422/ttc/thaicom11.htm


โครงการดาวเทียมแห่งชาติ

พ.ศ. 2533 รัฐบาลไทย โดย กระทรวงคมนาคมได้ประกาศเชิญชวนให้ภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุน
ในโครงการดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรกของไทยซึ่งต่อมา บริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์
แอนด์ คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด โดยบริษัท ชินวัตรแซทแทลไลท์ จำกัดได้รับความไว้วางใจจาก
กระทรวงคมนาคม ให้เป็นผู้รับสัมปทานในการทำดำเนินโครงการแห่งประวัติศาสตร์นี้ เป็นเวลา
30 ปีทั้งนี้บริษัทฯ จะได้ดำเนินการจัดสร้าง จัดส่ง และให้บริการวงจรดาวเทียมแก่ผู้ใช้ใน
ประเทศไทย และ ภูมิภาคนี้โดยใช้เงินลงทุนกว่า 5,000 ล้านบาท โดยบริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์
จำกัด ได้ลงนามในสัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารดวงแรกของไทยกับกระทรวงคมนาคม
เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2534 โครงการแห่งชาติ เนื่องจากตัวดาวเทียมและอุปกรณ์ต่าว ๆ จะเป็น
สมบัติของกระทรวงคมนาคม

     ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรงเกล้าฯ พระราชทาน ชื่อดาวเทียมสื่อสารดวงแรกอันเป็นสมบัติของชาติว่า ดาวเทียม " ไทยคม " ซึ่งมาจากคำว่า " ไทยคม (นาคม) " หรือ เขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า " THAICOM " อันเป็นชื่อที่จะถูกจารึกไว้ในสารบบดาวเทียมของโลกตลอด


รายละเอียดโครงการ

          ประวัติศาสตร์จะต้องจารึกไว้ว่า ประเทศไทยได้จัดส่งดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรก ชื่อดาวเทียม " ไทยคม-1 " เป็นดาวเทียมรุ่น HS 376 ซึ่งเป็นรุ่นที่ได้รับการยอมรับและใช้งาน มากที่สุดในโลกที่สร้างโดยบริษัท Hughes Aircraft แห่งสหรัฐอเมริกา ดาวเทียม " ไทยคม " ประกอบด้วยวงจรดาวเทียม 12 ทรานส์พอนเดอร์ [ Transponder ] ใช้ความถี่ย่าน C-Band จำนวนดวงละ 10 ทรานส์พอนเดอร์ และความถี่ย่าน Ku-Band จำนวนดวงละ 2 ทรานส์พอนเดอร์ สามารถให้พื้นที่บริการ [ Footprint ] ครอบคลุมประเทศไทยและทุกประเทศในแถบอินโดจีนจนถึง เกาหลี ญี่ปุ่นและแถบชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจีนซึ่งไทยเป็นศูนย์กลางการโทรคมนาคม แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกจากการเตรียมงานโดยทีมผู้เชี่ยวชาญของบริษัทฯ นานกว่า 2ปี ปลายปี 2536ดาวเทียม " ไทยคม-1 " จะถูกจัดส่งโดยบริษัท Arianespace แห่งฝรั่งเศส ผู้เชี่ยวชาญในการยิงจรวดส่งดาวเทียม ขึ้นสู่วงโคจรในอวกาศเหนือเส้นศูนย์สูตรที่ระดับ ความสูง 35,786 กิโลเมตร หลังจากถูกส่งเข้าสู่วงโคจรเรียบร้อยแล้วดาวเทียม " ไทยคม-1" จะพร้อมให้บริการได้ในราวต้นปี 2537 ดาวเทียม " ไทยคม-2 "จะถูกส่งขึ้นอีกในราวหนึ่งปี ถัดไปซึ่งดาวเทียมทั้ง 2 จะอยู่ ณ Orbital Slot ที่ 101 และ 78.5 องศาตะวันออกและ ดาวเทียมทั้ง 2 ดวงจะทำหน้าที่สำรองซึ่งกันและกัน


กำเนิดระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม

            ผู้ที่มีจินตนาการกว้างไกล และจุดประกายความใฝ่ฝันคือ อาเธอร์ ซีคลาร์ก นักเขียนนิยายและสารคดีวิทยาศาสตร์ชื่อดัง ในปี ค.ศ. 1945 บทความเรื่อง .Extra-Terrestrail Relays" บทความนี้กล่าวถึงการเชื่อมระบบสัญญาณวิทยุจากมุมโลกหนึ่งไปยังอีกมุมโลกหนึ่ง ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยใช้สถานีถ่ายทอดวิทยุที่ลอยอยู่ในอวกาศเหนือพื้นโลกขึ้นไปประมาณ 36,000 กิโลเมตร จำนวน 3 สถานี สถานีถ่ายทอดวิทยุของคลาร์กก็คือ ดาวเทียมในปัจจบุน และเหตุที่ต้องใช้ดาวเทียมอย่างน้อย 3 ดวง ก็เพื่อให้แต่ละดวงรับส่งสัญญาณกินอาณาบริเวณ 1 ใน 3 ของโลก ในปี ค.ศ. 1957 ความคิดของคลาร์กก็เริ้มเป็นจริง เมื่อรัสเซียได้ส่งสปุตนิก 1 ดาวเทียมดวงแรกขึ้นสู่อวกาศได้สำเร็จ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 393 คน กำลังออนไลน์