• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0f5bdad0f7df193588f329aed2d0d91d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n          เดือนก่อนเพิ่งกลับจากเที่ยวหนองคาย ขอนแก่น ลาวมาหยกๆ <br />\n          เดือนนี้ไปน่านอีกแล้ว!<br />\n          พูดถึงขอนแก่น ดีนะเนี่ย พวกเราไปเที่ยวพิพิธภัณฑ์ขอนแก่นมาก่อนหน้าที่จะมีมือดีขโมยสมบัติชาติไปเฉิบ\n</p>\n<p>\n          จัดแจงจองห้องพักสองห้องที่อุทยานแห่งชาติภูคา จองไว้สองห้อง นอนห้องละ 4 คน จองผ่านเว็บไซต์ จ่ายเงินผ่านธนาคารกรุงไทย ห้องละ 800 บาท \n</p>\n<p>\n          กว่าจะออกเดินทางตอนทุ่มกว่า รถติดเล็กน้อย ไปถึงแบบเฉียดฉิว ขึ้นรถทัวร์ทันเวลาสามทุ่ม พอมีเวลาเข้าห้องน้ำและนั่งชื่นชมกับสภาพรถ แหม! ดี๊ดี ดีนะไม่จองวีไอพี (แพงกว่าตั้งเยอะ) <br />\n          แบบนี้เรียกว่าฟลุคได้รถดี พนักงานขายตั๋วบอกแต่แรกแล้ว “ไม่รู้จะได้รถแบบไหน” แปลว่าอาจดีหรือดีน้อยหน่อย\n</p>\n<p>\n<br />\n          รถคันใหญ่ เก้าอี้นวดตัวได้ มีผ้าห่มบรรจุใส่ถุงปิดสนิท มีหมอนรองศีรษะให้ ที่ว่างระหว่างเก้าอี้กว้างพอสมควร ถ้าไม่โชคร้ายเจอคนแถวหน้าเอาเปรียบ ปรับเบาะ 180 องศา (ประเภทลืมตัวนึกว่าอยู่ห้องนอนตัวเอง) <br />\n          ขนมนมเนยพร้อม ทันทีที่สิ้นเสียงพนักงานต้อนรับสูงยาว เอวบาง เสียงต่ำระบุ เพศที่เธอเป็น “สมบัติทัวร์ ยินดีต้อนรับผู้โดยสารทุกน่าน เราจะใช้เวลาเดินทางประมาณ 10 ชั่วโมง และแวะพักรับประทานอาหารที่ร้านอาหารแม่สุรีย์ เพื่อเปลี่ยนพนักงานขับรถ อีกสักครู่จะมีบริการอาหารว่างและเครื่องดื่ม..ขอบคุณค่ะ”<br />\n          ขนมหนึ่งกล่อง น้ำเปล่าหนึ่งขวด น้ำส้มหนึ่งขวด ผ้าเย็น อะไรจะมากมายขนาดนั้น คิดในใจ งดบริการพวกนี้แล้วลดราคาค่าตั๋วด้วยดีกว่า เอ๊ะ! หรือบริษัทกลัวพนักงานสาวสวยชุดบานเย็นจะไม่มีอะไรทำ\n</p>\n<p>\n          หุ่นผอมบาง เดินผ่านช่องว่างระหว่างเก้าอี้อย่างคล่องตัว เดินอยู่หลายรอบ กว่าจะยกน้ำและขนมจากห้องเก็บของ เดินเสิร์ฟผู้โดยสารจนครบทุกคน ใช้เวลาอยู่พักใหญ่<br />\n          เสร็จสิ้นภารกิจของเธอแล้ว ไฟในรถทัวร์เริ่มดับลง แต่โทรทัศน์ยังเปิดอยู่ เล่นจนจบแผ่น ทุกสิ่งทุกอย่างก็อยู่ในความเงียบ ยกเว้นเสียงกรนที่ดังมาจากด้านหลัง..ชายมีอายุหลับสนิท\n</p>\n<p>\n          เสียงเพลงดังขึ้นตอนตีหนึ่งกว่า ทิ้งระยะให้ผู้โดยสารที่กำลังงัวเงีย ปลุกตัวเองขึ้นมากินอาหาร (มื้ออะไรก็ไม่รู้) <br />\n          กินทำไมตอนตีหนึ่ง!! ลดราคาตั๋วเหอะ..คิดอีกที ถ้าไม่มีอาหารเลี้ยง ไม่มีขนมเสิร์ฟบนรถ คงไม่ต้องจ้างแม่ครัว ไม่ต้องมีพนักงานต้อนรับ งานก็ไม่เกิด เศรษฐกิจไม่หมุนเวียน คิดได้แบบนี้แล้ว กินก็กิน!!<br />\n          “ท่านผู้โดยสารคะ เรามีเวลาประมาณ 20 นาที สำหรับการรับประทานอาหารค่ะ ก่อนลุกจากที่นั่ง กรุณาปรับเบาะของท่านให้ตรงด้วยนะคะ” (พูดคุ้นๆ เหมือนบนเครื่องบินเลย..ท่านผู้โดยสารคะ เครื่องบินกำลังลงจอด กรุณาปรับเบาะโดยสารให้ตรงค่ะ)\n</p>\n<p>\n          คูปองที่แนบมากับตั๋วรถทัวร์ ใช้สำหรับแลกอาหารที่อยากกิน ถ้าไม่อยากกินอาหาร ให้แลกเครื่องดื่มได้ ดูๆ แล้วไม่มีเครื่องดื่มขวดไหนเกิน 20 บาท <br />\n          ความเด๋อๆ ด๋าๆ ปรี่เข้าไปที่ซุ้มข้าวต้ม สามคน สามชาม พนักงานต้อนรับคนเดิม ง่วนอยู่กับการเสิร์ฟน้ำเปล่าให้ลูกทัวร์<br />\nกินไปมองเพื่อนไป ถึงได้รู้ว่านอกจากข้าวต้ม มีเมนูอื่นให้เลือกอีกเยอะ ทั้งก๋วยเตี๋ยวและข้าวราดแกง <br />\n          กินแบบเร่งรีบ เดี๋ยวไม่มีเวลาเข้าห้องน้ำ แปรงฟัน ทำธุระให้เสร็จที่นี่เลย ไม่คิด เสี่ยงกับการเข้าห้องน้ำบนรถทัวร์\n</p>\n<p>\n          กาแฟ ชา ไหมคะ?<br />\n          ฮ่า..เสิร์ฟอีกแล้วรึ ไม่อั้นเลย!! พอเหอะ นอนดีกว่า\n</p>\n<p>\n<br />\n          เก้าชั่วโมงกว่า รถทัวร์จอดที่ขนส่งเวียงสา ก่อนเคลื่อนตัวไปจุดหมายปลายทาง ขนส่งน่าน ตามระเบียบรถทัวร์ เปิดเพลงปลุกพร้อมกาแฟร้อนๆ เดินถามหาคนกิน<br />\n          รถถึงที่หมายปลอดภัย โดยไม่รู้สึกหวาดเสียวตอนรถขับไปตามไหล่เขาช้าๆ ในเวลามืด ภูมิประเทศแบบนี้ ถ้าขับกันเอง ทั้งที่สว่างก็อดรู้สึกกลัวไม่ได้\n</p>\n<p>\n          มาคราวนี้พ่อของเพื่อนมารับไปพักเก็บข้าวของบางชิ้นไว้ที่บ้านก่อนขึ้นดอยภูคา<br />\n          เด็กๆ พาไปล่ากบที่บ้านน้องตูน เด็กป.4 มีรอยยิ้มเป็นอาวุธให้คนหลงใหล ราคากบกิโลกรัมละ 60 บาท จับใส่ถุงมาได้ 6 ตัว  ชั่งได้หนึ่งกิโลพอดี<br />\n          กบตัวใหญ่ที่จ่ายไปร้อยหนึ่ง คืนนี้เสร็จพวกเราแน่ ฮ่า..น้ำลายไหล <br />\n \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/frog.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n          น้องๆ พาไปเที่ยววัดพี้ใต้ วันนี้โบสถ์ปิด แต่โชคดีได้เห็นชาวบ้านเกี่ยวข้าว สีทองไปทั้งท้องทุ่ง ชอบบรรยากาศแบบนี้จัง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/farmer.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n          พ่อขับรถเข้าเมือง ไปรับพี่อีกคนหนึ่ง แล้วก็เตรียมเสบียงเล็กน้อย จากนั้นแวะไปไหว้พระธาตุแช่แห้งด้วย วันนี้เป็นวันเสาร์ เงียบจัง ผิดกับเทศกาลที่คนแห่ไปซะมาก\n</p>\n<p>\n         <span style=\"background-color: #ffff00\"> พระธาตุแช่แห้ง</span><span style=\"background-color: #ffff00\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"background-color: #ffff00\"></span><span style=\"background-color: #ffff00\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20/pratatchaehang.jpg\" height=\"300\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n          ลักษณะขององค์พระธาตุเป็นเจดีย์ทรงระฆัง มีความยาวของฐานล่าง ด้านละ 19.25 เมตร ความสูงจากฐานล่างระดับพื้นดินถึงปลายสุดของดอกไม้ทิพย์ สูง 43.49 เมตร เป็นพระธาตุเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดของล้านนา  ตามตำนานเดิมและพงศาวดารเมืองน่านกล่าวว่า เจ้าพระยาการเมือง เจ้าผู้ครองนครปัวสร้างขึ้นในระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ 19 หลังจากนั้นมีการสร้างเสริมโครงสร้างหลายครั้ง ครั้งสุดท้าย เจ้าศรีสองเมืองสร้างเจดีย์องค์ปัจจุบันครอบองค์เดิม เมื่อปี 2153 \n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n          พระธาตุแช่แห้งเป็นพระธาตุประจำปีเกิดของคนเกิดปีเถาะ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างสมัยใด ในตำนานกล่าวว่าเมื่อครั้งพุทธกาล ภูเพียงแช่แห้งแห่งนี้ได้ประดิษฐานพระเกศาธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อพระองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว พระอรหันต์ทั้งหลายได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุข้อพระหัตถ์ด้านซ้าย และเศษของพระสรีรังคารธาตุมาประดิษฐานไว้อีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้มนุษย์และเทวดาได้สักการะตราบ 5,000 พระวัสสา\n</p>\n<p>\n<br />\n          สันนิษฐานว่าพระธาตุแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อปี 1896 ตรงกับสมัยของพระยาการเมืองแห่งราชวงศ์ภูคา พระองค์ได้เสด็จลงไปสร้างวัดหลวงอภัยที่อาณาจักรสุโขทัย เมื่อภารกิจแล้วเสร็จ พระมหาธรรมราชาลิไทได้ถวายพระมหาชินธาตุเจ้า 7 พระองค์ มีพระวรรณะเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด สุกใสดังแก้ว 2 พระองค์ มีพระวรรณะดั่งมุก 3 พระองค์ มีพระวรรณะดั่งทองคำ เท่าเมล็ดงาดำ 2 พระองค์ พร้อมด้วยพระพิมพ์เงินพิมพ์ทองอันงามประณีต อย่างละ 20 องค์ ให้แก่พระยาการเมือง เมื่อพระองค์เสด็จกลับถึงเมืองน่าน ได้ทรงปรึกษากับพระมหาเถระธรรมบาล และเห็นสมควรประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ไว้ที่เนินภูเพียงแช่แห้ง ระหว่างแม่น้ำเดี๋ยน (แม่น้ำเกี๋ยน) และแม่น้ำลิงค์ (น้ำลิ่งแม่น้ำน่าน) พระยาการเมืองโปรดให้ช่างหล่อเต้าปูนสำริดขนาดใหญ่ แล้วทรงนำพระบรมสารีริกธาตุพร้อมด้วยพระพิมพ์เงินพิมพ์ทองลงบรรจุไว้ปิดฝาสนิทพอกหุ้มด้วยสะดายจีน (ปูนผสมแบบโบราณ) เป็นก้อนกลมเกลี้ยงเหมือนศิลา เสร็จแล้วพระองค์โปรดให้ขุดหลุมลึก 1 วา แล้วอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุและพระพิมพ์เงินพิมพ์ทองลงประดิษฐานไว้และก่ออิฐทับครอบเป็นเจดีย์สูง 1 วา ตลอดรัชกาลของพระองค์ ทรงให้ความสำคัญแก่วัดนี้มากถึงกับย้ายเมืองจากวรนครเมืองพลัวมาสร้างเมืองใหม่ โดยมีวัดพระธาตุแช่แห้งเป็นวัดหลวงประจำราชสำนัก \n</p>\n<p>\n<br />\n          หลักฐานการย้ายเมืองครั้งนั้นคือแนวกำแพงเมืองและคูเมืองโบราณที่สร้างไว้ 2 ชั้น เมื่อปี 1902 อายุกว่า 600 ปี เมื่อสิ้นราชวงศ์ภูคา เมืองน่านจะถูกปกครองโดยเชียงใหม่ (1993-2101) หรือโดยพม่า (2101-2331) และที่สุดจะขึ้นตรงต่อกรุงรัตนโกสินทร์ จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย \n</p>\n<p>\n<br />\n          เสียดายเวลาน้อย เกือบบ่ายสาม สมควรเวลาต้องออกเดินทางต่อ ตามระเบียบการจองห้องที่อุทยาน ให้ถึงที่พักก่อนสี่โมงเย็น\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/phuka.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<p>\n          ขับรถจากเมืองไปถึงปัว ใช้เวลาประมาณหนึ่งชั่วโมง ขับรถต่อไปถึงอุทยานฯ อีกครึ่งชั่วโมง โชคไม่ดีเลย ฝนตกมาได้ไง..<br />\nจ่ายค่ารถ 30 บาท คนอีก 40 บาท ที่ด่านตรวจ แล้วขับรถเข้าไปติดต่อห้องพักที่จองไว้ ภูคา 104/1 104/2 ห้องติดกันมีทางเชื่อมตรงกลาง ด้านหลังมีที่นั่งให้ชมหมอก เสียดายวันนี้ฝนตก ทำให้พื้นเปียก ต้องนั่งกินข้าวเย็นกันในห้อง กบ 6 ตัว แปลงร่างเป็นกบทอดกระเทียมเรียบร้อย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/phuka4.jpg\" height=\"200\" /> บ้านที่พวกเรานอน\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/phuka5.jpg\" height=\"200\" /> นอนแบบล้อเกวียนได้ 2 คน หรือจะกางเตนท์ก็ได้\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/phuka1.jpg\" height=\"200\" /> อีกมุมหนึ่งของห้องพัก\n</div>\n<p>\n    </p>\n<p>\n          อากาศหนาวลดต่ำกว่ายี่สิบองศา หนาวแค่ไหนก็ไม่กลัว ในห้องมีน้ำอุ่นพร้อม  ห้องกว้างนอนได้มากกว่าสี่คน เบาะปูกับพื้นไม้ แยกห้องน้ำกับห้องอาบน้ำ กระติกน้ำ ร้อนมีให้ แก้วน้ำ แก้วกาแฟ รองเท้าแตะครบ ตู้เย็นก็มี แสดงว่าหน้าร้อนคนก็มาเที่ยว\n</p>\n<p>\n          ตื่นเช้าวันรุ่งขึ้น อยากดูพระอาทิตย์ขึ้น ทั้งที่ไม่รู้ว่าจะได้เห็นหรือเปล่า ไปไหนต่อไหน ไม่เคยได้ตื่นมาดูแสงแรงของวัน คราวนี้มีแนวร่วมเยอะ ปลุกเด็กๆ จอมตื่นเต้นได้แล้วก็ชวนเด็กโข่ง พากันขึ้นรถกระบะพร้อมขนมและกระติกน้ำร้อน \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/phuka3.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<p>\n   </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/phuka2.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20/phuka6.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          นักท่องเที่ยวน้อย อะไรๆ ก็ดูไม่รีบเร่ง ไม่ต้องแย่งวิวกันถ่ายรูป 6 โมงกว่าแล้ว ไม่มีทีท่าจะเห็นแสงแดด มีแต่หมอกหนาและอากาศเย็น แหม! มันดีจริงๆ <br />\n          วันนี้อุณหภูมิต่ำสุด 9 องศา ไม่รู้ตอนกี่โมง คงจะแต่เช้ามืด ตอนที่นอนหนาวอยู่ในผ้าห่ม<br />\n          ถ่ายรูปจนหนำใจ ขับรถกลับที่พัก ต้มยำยำกิน พลาดไปหน่อยที่มียำยำน้อย หนึ่งซองแบ่งกันสองคน ส่วนชามต้องใช้ใบเมื่อคืนที่ยังไม่ล้าง ไม่มีใครคิดว่าต้องเอา น้ำยาล้างจานมาด้วย นึกแล้วก็ขำ เมื่อคืนอาหารการกิน จานชามเพียบ\n</p>\n<p>\n          ได้เวลาเช็คเอาท์ บ๊ายบายอุทยานฯ มาแป๊บๆ ไม่ทันได้เดินสำรวจเส้นทางธรรมชาติ ..\n</p>\n<p>\n<br />\n          เมื่อเช้าจากอุทยานฯ ขับรถเลี้ยวซ้ายไปดูพระทิตย์ขึ้น แล้วก็ขับกลับมาอุทยานฯ จะไปบ่อเกลือก็ต้องไปทางเดิม เวลาจะกลับเข้าเมืองก็ต้องย้อนกลับมาเส้นทางอุทยานฯ ขับไปขับมาอยู่หลายรอบ\n</p>\n<p>\n          บ่อเกลือเป็นอำเภอ แหล่งทำเกลือสินเธาว์ภูเขาแห่งเดียวในโลก เห็นชนบทแบบนี้ จดหมายส่งถึงกรุงเทพฯ เร็วไม่น่าเชื่อ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20/boklue.jpg\" height=\"300\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n          คำบอกเล่าของผู้อาวุโสประจำหมู่บ้านที่จดจำจากปั๊บปิ้น เป็นเอกสารใบลานซึ่งเขียนเป็นอักษรธรรมล้านนาไว้และได้สูญหายไปจากวัดบ่อหลวงราว 40-70 ปี มาแล้วมีผู้จดจำเรื่องราวในเอกสารนั้นเป็นอย่างดีคือ อดีตกำนันนนท์ถี เขื่อนเมือง และเป็นผู้เดียวที่จดจำเรื่องราวเหล่านี้ได้\n</p>\n<p>\n<br />\n          บรรพบุรุษเล่าว่า เป็นกลุ่มคนที่อพยพมาจากมองโกเลียออกมาทางแม่น้ำเหลืองทางหัวพันห้าทั้งหก เมื่อล่องแม่น้ำโขงมาถึงลาว จึงมาหยุดอยู่ที่เมืองหลวงน้ำทา แต่พวกลาวไม่ให้อยู่ จึงข้ามมาอยู่ที่เชียงแสน เจ้าหลวงภูคาจึงไปบอกให้มาหักล้างถางพงอยู่บริเวณนี้ มีแม่น้ำลำธารดี ให้มาทำเกลือโดยที่เจ้าหลวงภูคาไปขอเจ้าหลวงน่าน เจ้าหลวงน่านไปขอพญาเม็งรายเพื่อขอคนเชียงแสนที่อพยพมาให้มาอยู่ที่นี่ พ.ศ.2323-2327 ในสมัยล้านนาเป็นเมืองขึ้นพม่า\n</p>\n<p>\n<br />\n          ด้วยเหตุผลที่เกลือเป็นทรัพยากรที่สำคัญและมีบทบาทต่อชุมชนคนเมืองน่านและบ้านเมืองชุมชนร่วมสมัยที่อยู่รอบๆ เมืองน่าน ทั้งรัฐสุโขทัย ล้านช้าง และล้านนา เป็นสาเหตุประการหนึ่งที่ทำให้พระเจ้าติโลกราชแห่งล้านนาเสด็จมาตีเมืองน่านราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 และเอาเมืองน่านเข้าไว้เป็นส่วนหนึ่งของล้านนา และมีความสำคัญสืบเนื่องมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์\n</p>\n<p>\n<br />\n          มีเรื่องราวเล่าสืบต่อกันมาอีกว่า เจ้าหลวงน่านจะต้องให้คนส่งเกลือไปถวายที่เมืองน่านเป็นการส่งส่วยเกลือ 5 ล้าน 5 แสน 5 หมื่น 5 พัน (ประมาณ 7,395 กิโลกรัมต่อปี) โดยใช้คนที่ไม่ได้ต้มเกลือนำไปส่ง เช่น คนบ่อเกลือเหนือซึ่งส่วนมากเป็นชาวลั๊วะ การส่งเกลือไปถวายพระเจ้าน่านจะมีคนมารับที่นาปางถิ่น (สนามบินน่านปัจจุบัน) โดยมีหัวหน้าเป็นชาวบ่อหลวงเป็นผู้ควบคุมไป การส่งส่วยเหล่านี้เริ่มเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแต่กระทำเรื่อยมาจนถึงเจ้ามหาพรหมสุรธาดา (พ.ศ.2461-2474) เป็นเจ้าผู้ครองนคร และถูกยกเลิกไปในช่วงเวลานั้นเมื่อระบบรวมอำนาจสู่ศูนย์กลางของกรุงเทพฯ สามารถใช้ได้เต็มที่ \n</p>\n<p>\n<br />\n          ในอดีตอำเภอบ่อเกลือขึ้นตรงกับอำเภอปัว มีสองตำบลคือ ตำบลบ่อเกลือเหนือ และบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือถูกปิดล้อมด้วยขุนเขา การเดินทางลำบาก การติดต่อสื่อสารทำได้โดยทางเท้าเท่านั้น ใช้เวลาเดินทาง 1-2 วัน กว่าจะถึงอำเภอปัว จึงถูกปิดล้อมด้วยกองกำลังติดอาวุธพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยตั้งแต่ปี 2509 เมื่อสงครามการใช้กำลังอาวุธยุติลง มีผู้เข้าร่วมพัฒนาชาติไทยเป็นจำนวนมาก ทางราชการจึงได้แยกตำบลบ่อเกลือเหนือ และตำบลบ่อเกลือใต้ออกจากอำเภอปัว จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอบ่อเกลือเมื่อปี 2531 และยกฐานะเป็นอำเภอบ่อเกลือในปี 2538 \n</p>\n<p>\n         <span style=\"background-color: #ffff00\"> การค้นพบบ่อเกลือ<br />\n</span>          มีนายพรานผู้หนึ่งมาล่าสัตว์ และเห็นว่าพวกเหล่าสัตว์ทั้งหลายมักมากินน้ำที่นี่เป็นประจำ เมื่อลองชิมดูจึงรู้ว่าเค็ม ข่าวล่วงรู้ไปถึงเจ้าหลวงภูคาและเจ้าหลวงบ่อ จึงชวนกันมาดูน้ำเกลือ โดยทั้งสองพระองค์ขึ้นไปอยู่ที่บนยอดดอยภูจั่น เพื่อแขงขันกันพุ่งสะเดา (หอก) เจ้าหลวงภูคาพุ่งหอกไปตกทางตะวันตกของน้ำมาง ตรงที่ตั้งของหอนอกในปัจจุบัน เจ้าหลวงบ่อพุ่งหอกไปตกทางตะวันตกของน้ำมาง ข้ามน้ำมางตรงที่ตั้งของหอเจ้าพ่อหลวงในปัจจุบัน ชาวบ้านที่ชมการพุ่งหอก ไปนำเอาหินมาก่อเป็นที่สังเกตแล้วตั้งเป็นโรงหอทำพิธีเพื่อตอบแทนบุญคุณเจ้าทั้งสองพระองค์ทุกปี\n</p>\n<p>\n<br />\n          ภายหลังทั้งสองพระองค์คิดกันว่าจะนำคนที่ไหนมาอยู่ เมื่อปรึกษากันแล้วจึงไปนำคนที่อยู่เชียงแสน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวบ่อหลวงมาหักล้างถางพงและทำเกลืออยู่ที่นี่\n</p>\n<p>\n<br />\n          บ่อเกลือที่เห็นปัจจุบัน ปากบ่อกรุด้วยไม้กั้นเป็นคอกอย่างดี อดีตกำนันนนท์ถี เขื่อนเมือง เล่าว่าเมื่อสมัยแม่ของตนยังเป็นเด็ก เจ้าผู้ครองเมืองส่งคนมาสร้างดอกไม้เป็นขอบบ่อ เพราะแต่เดิมเป็นเพียงบ่อดิน ใช้ไม้กลวงสวมตรงกลางกันดินถล่มเท่านั้น ในขณะนั้นแม่ได้ช่วยตักน้ำมาเลี้ยงผู้ที่มาทำการก่อสร้างนั้นด้วย\n</p>\n<p>\n<br />\n          <span style=\"background-color: #ffff00\">กรรมวิธีในการต้มเกลือ</span><br />\n          ตักน้ำเกลือจากบ่อเกลือ...นำมาพักไว้ในกระบอกไม้ไผ่...นำน้ำเกลือใส่ในกระทะใบบัวเกือบเต็ม...สุมไฟในเตาต้มเกลือให้ร้อนสม่ำเสมอ...ตักเกลือที่ตกผลึกแล้วใส่ตระกร้าที่แขวนไว้บนกระทะเพื่อสะเด็ดน้ำ...นำเกลือในตระกร้าไปเก็บไว้ในเปาะ (ชะลอม)...น้ำเกลือที่แห่งสนิทแล้ว ผสมไอโอดีน..บรรจุถุงติดฉลากจำหน่าย\n</p>\n<p>\n          มื้อเย็นเตรียมเสบียงจากตลาด อาหารเหนือล้วนๆ ไม่ลืมแวะซื้อเค้กฉลองวันเกิดด้วย แต่กว่าจะได้กินข้าวเย็น ต้องอาบน้ำกันครบถ้วนเพื่อทำบายศรีสู่ขวัญ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20/food.jpg\" height=\"300\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n          คืนนี้นอนที่บ้านพ่อเพื่อน ห้องไม่ต้องใช้พัดลม และใช้ผ้านวมสองผืนซ้อน ก็มันหนาว......ว\n</p>\n<p>\n<br />\n          เสียงไก่ขันแต่เช้าตรู่สลับกับเสียงรถแต๋น ชาวบ้านตื่นกันแต่เช้าไปทำงาน วันนี้เด็กๆ ก็ไปเรียน ผู้ใหญ่ที่เหลือตกลงไปเที่ยวในเมืองกันเอง\n</p>\n<p>\n<br />\n          <span style=\"background-color: #ccffff\">วัดมิ่งเมือง</span><br />\n          ปี 2400 เจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่านได้สถาปนาวัดร้างขึ้นใหม่และตั้งชื่อว่าวัดมิ่งเมือง เพราะว่ามีเสามิ่งหรือเสามิ่งเมืองตั้งอยู่ในวัด เป็นไม้สักทองท่อนซุงขนาดสองคนโอบ (คนภาคกลางเรียกเสาพระหลักเมือง) <br />\n          อุโบสถล้านนาวัดมิ่งเมืองออกแบบตามจินตนาการของเจ้าอาวาส การก่อสร้างตัวอาคารฝีมือสล่า (ช่าง) พื้นบ้านเมืองน่าน ลวดลายปฏิมากรรมปูนปั้นโดยสกุลช่างเชียงแสนโบราณ ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถเป็นภาพตำนานประวัติเมืองน่านโดยจิตรกรพรสวรรค์พื้นบ้านเมืองน่าน \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20/108_0037.jpg\" height=\"267\" />\n</div>\n<p>\n          <span style=\"background-color: #ccffff\">วัดภูมินทร์</span><br />\n          สร้างเมื่อปี 2139 เดิมวัดนี้มีชื่อว่า วัดพรหมมินทร์ตามนามผู้สร้างคือพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ผู้ครองนครน่าน ก่อนจะเพี้ยนเป็นวัดภูมินทร์ สิ่งสำคัญที่สุดในวัดนี้ที่ถือว่ามีอยู่แห่งเดียวในประเทศไทย คือ พระอุโบสถทรงจตุรมุข พระประธานจตุรพักตร์นาคสดุ้งขนาดใหญ่ มีแท่นพระอุโบสถเทินไว้กลางลำตัวนาค ตรงใจกลางพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ 4 องค์ หันพระพักตร์ออกด้านประตูทั้งสี่ทิศ หันเบื้องพระปฤษฎางค์ชนกัน ประทับนั่งบนฐานชุกชี ผู้ที่มาชมความงามของพระอุโบสถนี้ ไม่ว่าจะเดินขึ้นบันไดทางทิศไหน ก็จะพบพระพักตร์พระพุทธรูปทุกด้านไป นอกจากนี้ยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ ชาดก ชีวิต ตำนานพื้นบ้าน และความเป็นอยู่ของชาวน่านในอดีต \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/pumin.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n          ที่วัดนี้ยังได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น โดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ <br />\n          ที่มาของแบงก์บาทเกิดขึ้นสมัยสงครามเอเชียบูรพา ปี 2484 ด้วยเหตุผลทางการเมืองและการทหาร ประเทศไทยจำเป็นต้องเข้าร่วมรบกับกองทัพญี่ปุ่น เป็นผลให้ต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างของระบบการเงิน และมีการจัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยในเวลาต่อมา โดยที่ทางการไม่สามารถติดต่อกับโรงพิมพ์ธนบัตรในประเทศอังกฤษได้ รัฐบาลไทยจึงขอให้ญี่ปุ่นจัดพิมพ์ธนบัตร ราคา 1 บาท โดยกำหนดให้ใช้รูปโบสถ์ของวัดภูมินทร์เป็นภาพด้านหน้าของธนบัตร\n</p>\n<p>\n         <span style=\"background-color: #ccffff\"> พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ น่าน</span>\n</p>\n<p>\n          สร้างขึ้นเมื่อปี 2446 บริเวณคุ้มอดีตเจ้าผู้ครองนครน่าน ถ.ผากอง ต.ในเวียง อ.เมือง 14 ไร่ 2 งาน 32 ตารางวา เดิมเป็นหอคำที่พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้าน่านสร้างเป็นที่ประทับ (2446) ระหว่างครองนครน่าน 2463-2461 <br />\n          เมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าองค์สุดท้ายถึงแก่พิราลัย เจ้านายบุตรหลานจึงได้มอบหอคำพร้อมที่ดินให้รัฐบาลใช้เป็นศาลากลางจังหวัด ปี 2475 มหาดไทยสร้างศาลากลางใหม่ กรมศิลปากรจึงรับมอบหอคำเป็นที่จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ ปี 2517 และประกาศเป็นพิพิธภัณฑ์อย่างเป็นทางการ ปี 2528 หลังการจัดแสดงสมบูรณ์ พระเทพฯ เป็นองค์ประธานประกอบพิธีเปิดและให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ปี 2530 \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/museum_nan.jpg\" height=\"200\" /> (ด้านซ้ายคือวัดน้อย ด้านหลังเป็นพิพิธภัณฑ์)\n</div>\n<p>  </p>\n<p>\n<br />\n          สถานที่แห่งนี้มีต้นไม้ใหญ่ ชื่อว่าต้นโพธิ์ หรือต้นสหรีและวัดน้อย เชื่อว่าเป็นที่สิงสถิตย์ของเทพเทวดาผู้รักษาเมือง อยู่ระหว่างคุ้มหลวงและวัดหลวง เป็นที่ประดิษฐานโบราณวัตถุคู่เมืองน่าน “งาช้างดำ”<br />\nเปิดทุกวัน 09.00-16.00 น. ต่างชาติ 100 บาท คนไทย 20 บาท โทร.0-5471-0561, 0-5477-2777 <br />\n \n</p>\n<p>\n          <span style=\"background-color: #ccffff\">วัดน้อย </span><br />\n          วัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย อยู่บริเวณพิพิธภัณฑ์ฯ จากคำบอกเล่าเชื่อว่าพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 63 กราบบังคมทูลถึงจำนวนวัดในเมืองน่าน ต่อรัชกาลที่ 5 แต่ปรากฏว่านับจำนวนเกินไปหนึ่งวัด จึงได้สร้างวัดน้อยขึ้นมาให้ครบตามจำนวนที่กราบบังคมทูลไป รูปทรงของวัดเป็นวิหาร ก่ออิฐ ถือปูน ขนาดกว้าง 1.98 เมตร ยาว 2.34 เมตร สูง 3.35 เมตร แบบศิลปะล้านนา สกุลช่างน่าน มีพระพุทธรูปและแผงพระพิมพ์ไม้ประดิษฐานอยู่ภายใน\n</p>\n<p>\n          <span style=\"background-color: #ccffff\">วัดหัวข่วง</span><br />\n          สร้างเมื่อใดไม่ปรากฏ เป็นไปได้ว่าสร้างปี 2068 และปรากฏหลักฐานกล่าวถึงการซ่อมแซมปฏิสังขรณ์พระอุโบสถครั้งแรกเมื่อปี 2425 โดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน สมัยรัชกาลที่ 4 ในปี 2471 พลตรีเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้าย บูรณะปฏิสังขรณ์อีกครั้ง\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20/huakuang.jpg\" height=\"267\" />\n</div>\n<p> <br />\n          สิ่งก่อสร้างภายในวัด ได้แก่ เจดีย์ อุโบสถ์ ธรรมมาสและหอไตร มีรูปแบบศิลปกรรมแบบล้านนา </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          <span style=\"background-color: #ccffff\">วัดช้างค้ำวรวิหาร</span> <br />\n          หรือวัดหลวงกลางเวียง เป็นวัดหลวงประจำเมืองน่าน ตั้งอยู่ใจกลางเมืองน่าน สร้างขึ้นปี 1949 โดยพญาผาภูเซ็ง เจ้าผู้ครองนครน่าน อายุของวัด 600 กว่าปี เป็นหนึ่งในจำนวนโบราณสถานที่มีอายุร่วมสมัยเดียวกับสุโขทัย\n</p>\n<p>\n         \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20/changkam.jpg\" height=\"267\" />\n</div>\n<p>  </p>\n<p>\n         <span style=\"background-color: #ccffff\"> วัดสวนตาล</span> <br />\n          วัดสวนตาลหรือวัดม่าน เก่าแก่เป็นอันดับ 4 ของน่าน พระปรางเดิมเป็นเจดีย์ทรงดอกบัวตูม หรือพุ่มข้าวบิณฑ์ ศิลปสมัยสุโขทัย <br />\nปี 2101 ในสมัยพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่ายกทัพตีหัวเมืองล้านนา เมืองเชียงใหม่และเมืองน่าน ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ทางพม่าที่เมืองเชียงใหม่ได้แต่งตั้งเจ้าเมืองมาปกครองเมืองน่าน 200 ปีเศษ ในช่วงนี้ได้นำช่างฝีมือชาวพม่ามาสร้างวัด<br />\n          ในสมัยพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้าเมืองน่านลำดับที่ 63 บูรณะใหม่จนเป็นศิลปตอนปลายพุทธศตรวรรษที่ 25 พระพุทธรูปทองทิพย์ (พระเจ้าทองทิพย์ พระประจำจังหวัดน่าน)ในพระอุโบสถหล่อด้วยทองสัมริด ศิลปน่านยุคที่ 2 ผสมผสานระหว่างศิลปสมัยสุโขทัยกับล้านนา มีอายุ 500 กว่าปี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"267\" src=\"/files/u20/suantan.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<p>\n          ไปน่าน 3 วัน 2 คืน นอนในรถอีก 2 คืน ยังรู้สึกว่าน้อยไปที่จะได้อยู่กับเมืองที่เต็มไปด้วยเสน่ห์เช่น &quot;นครน่าน&quot; \n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<br />\nประชาสัมพันธ์น่าน 0-5477-3047<br />\nศูนย์บริการนักท่องเที่ยว 0-5775-1169, 0-5475-0247\n</p>\n', created = 1719805567, expire = 1719891967, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0f5bdad0f7df193588f329aed2d0d91d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f35f4bd06d69c0b5f1c98fd3ec82c897' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>อ่านแล้ว ...ดอยภูคาน่าไปนอนมาก </p>\n', created = 1719805567, expire = 1719891967, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f35f4bd06d69c0b5f1c98fd3ec82c897' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9cd528b4f73e1b2dca7d349fddbeb3ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>อ่านแล้ว ...เรื่องสนุกดี ดอยภูคาน่าไปนอนมาก ..</p>\n', created = 1719805567, expire = 1719891967, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9cd528b4f73e1b2dca7d349fddbeb3ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไปน่าน..แล้วจะหลงรักเมืองน่าน

          เดือนก่อนเพิ่งกลับจากเที่ยวหนองคาย ขอนแก่น ลาวมาหยกๆ 
          เดือนนี้ไปน่านอีกแล้ว!
          พูดถึงขอนแก่น ดีนะเนี่ย พวกเราไปเที่ยวพิพิธภัณฑ์ขอนแก่นมาก่อนหน้าที่จะมีมือดีขโมยสมบัติชาติไปเฉิบ

          จัดแจงจองห้องพักสองห้องที่อุทยานแห่งชาติภูคา จองไว้สองห้อง นอนห้องละ 4 คน จองผ่านเว็บไซต์ จ่ายเงินผ่านธนาคารกรุงไทย ห้องละ 800 บาท 

          กว่าจะออกเดินทางตอนทุ่มกว่า รถติดเล็กน้อย ไปถึงแบบเฉียดฉิว ขึ้นรถทัวร์ทันเวลาสามทุ่ม พอมีเวลาเข้าห้องน้ำและนั่งชื่นชมกับสภาพรถ แหม! ดี๊ดี ดีนะไม่จองวีไอพี (แพงกว่าตั้งเยอะ) 
          แบบนี้เรียกว่าฟลุคได้รถดี พนักงานขายตั๋วบอกแต่แรกแล้ว “ไม่รู้จะได้รถแบบไหน” แปลว่าอาจดีหรือดีน้อยหน่อย


          รถคันใหญ่ เก้าอี้นวดตัวได้ มีผ้าห่มบรรจุใส่ถุงปิดสนิท มีหมอนรองศีรษะให้ ที่ว่างระหว่างเก้าอี้กว้างพอสมควร ถ้าไม่โชคร้ายเจอคนแถวหน้าเอาเปรียบ ปรับเบาะ 180 องศา (ประเภทลืมตัวนึกว่าอยู่ห้องนอนตัวเอง) 
          ขนมนมเนยพร้อม ทันทีที่สิ้นเสียงพนักงานต้อนรับสูงยาว เอวบาง เสียงต่ำระบุ เพศที่เธอเป็น “สมบัติทัวร์ ยินดีต้อนรับผู้โดยสารทุกน่าน เราจะใช้เวลาเดินทางประมาณ 10 ชั่วโมง และแวะพักรับประทานอาหารที่ร้านอาหารแม่สุรีย์ เพื่อเปลี่ยนพนักงานขับรถ อีกสักครู่จะมีบริการอาหารว่างและเครื่องดื่ม..ขอบคุณค่ะ”
          ขนมหนึ่งกล่อง น้ำเปล่าหนึ่งขวด น้ำส้มหนึ่งขวด ผ้าเย็น อะไรจะมากมายขนาดนั้น คิดในใจ งดบริการพวกนี้แล้วลดราคาค่าตั๋วด้วยดีกว่า เอ๊ะ! หรือบริษัทกลัวพนักงานสาวสวยชุดบานเย็นจะไม่มีอะไรทำ

          หุ่นผอมบาง เดินผ่านช่องว่างระหว่างเก้าอี้อย่างคล่องตัว เดินอยู่หลายรอบ กว่าจะยกน้ำและขนมจากห้องเก็บของ เดินเสิร์ฟผู้โดยสารจนครบทุกคน ใช้เวลาอยู่พักใหญ่
          เสร็จสิ้นภารกิจของเธอแล้ว ไฟในรถทัวร์เริ่มดับลง แต่โทรทัศน์ยังเปิดอยู่ เล่นจนจบแผ่น ทุกสิ่งทุกอย่างก็อยู่ในความเงียบ ยกเว้นเสียงกรนที่ดังมาจากด้านหลัง..ชายมีอายุหลับสนิท

          เสียงเพลงดังขึ้นตอนตีหนึ่งกว่า ทิ้งระยะให้ผู้โดยสารที่กำลังงัวเงีย ปลุกตัวเองขึ้นมากินอาหาร (มื้ออะไรก็ไม่รู้) 
          กินทำไมตอนตีหนึ่ง!! ลดราคาตั๋วเหอะ..คิดอีกที ถ้าไม่มีอาหารเลี้ยง ไม่มีขนมเสิร์ฟบนรถ คงไม่ต้องจ้างแม่ครัว ไม่ต้องมีพนักงานต้อนรับ งานก็ไม่เกิด เศรษฐกิจไม่หมุนเวียน คิดได้แบบนี้แล้ว กินก็กิน!!
          “ท่านผู้โดยสารคะ เรามีเวลาประมาณ 20 นาที สำหรับการรับประทานอาหารค่ะ ก่อนลุกจากที่นั่ง กรุณาปรับเบาะของท่านให้ตรงด้วยนะคะ” (พูดคุ้นๆ เหมือนบนเครื่องบินเลย..ท่านผู้โดยสารคะ เครื่องบินกำลังลงจอด กรุณาปรับเบาะโดยสารให้ตรงค่ะ)

          คูปองที่แนบมากับตั๋วรถทัวร์ ใช้สำหรับแลกอาหารที่อยากกิน ถ้าไม่อยากกินอาหาร ให้แลกเครื่องดื่มได้ ดูๆ แล้วไม่มีเครื่องดื่มขวดไหนเกิน 20 บาท 
          ความเด๋อๆ ด๋าๆ ปรี่เข้าไปที่ซุ้มข้าวต้ม สามคน สามชาม พนักงานต้อนรับคนเดิม ง่วนอยู่กับการเสิร์ฟน้ำเปล่าให้ลูกทัวร์
กินไปมองเพื่อนไป ถึงได้รู้ว่านอกจากข้าวต้ม มีเมนูอื่นให้เลือกอีกเยอะ ทั้งก๋วยเตี๋ยวและข้าวราดแกง 
          กินแบบเร่งรีบ เดี๋ยวไม่มีเวลาเข้าห้องน้ำ แปรงฟัน ทำธุระให้เสร็จที่นี่เลย ไม่คิด เสี่ยงกับการเข้าห้องน้ำบนรถทัวร์

          กาแฟ ชา ไหมคะ?
          ฮ่า..เสิร์ฟอีกแล้วรึ ไม่อั้นเลย!! พอเหอะ นอนดีกว่า


          เก้าชั่วโมงกว่า รถทัวร์จอดที่ขนส่งเวียงสา ก่อนเคลื่อนตัวไปจุดหมายปลายทาง ขนส่งน่าน ตามระเบียบรถทัวร์ เปิดเพลงปลุกพร้อมกาแฟร้อนๆ เดินถามหาคนกิน
          รถถึงที่หมายปลอดภัย โดยไม่รู้สึกหวาดเสียวตอนรถขับไปตามไหล่เขาช้าๆ ในเวลามืด ภูมิประเทศแบบนี้ ถ้าขับกันเอง ทั้งที่สว่างก็อดรู้สึกกลัวไม่ได้

          มาคราวนี้พ่อของเพื่อนมารับไปพักเก็บข้าวของบางชิ้นไว้ที่บ้านก่อนขึ้นดอยภูคา
          เด็กๆ พาไปล่ากบที่บ้านน้องตูน เด็กป.4 มีรอยยิ้มเป็นอาวุธให้คนหลงใหล ราคากบกิโลกรัมละ 60 บาท จับใส่ถุงมาได้ 6 ตัว  ชั่งได้หนึ่งกิโลพอดี
          กบตัวใหญ่ที่จ่ายไปร้อยหนึ่ง คืนนี้เสร็จพวกเราแน่ ฮ่า..น้ำลายไหล 
 

          น้องๆ พาไปเที่ยววัดพี้ใต้ วันนี้โบสถ์ปิด แต่โชคดีได้เห็นชาวบ้านเกี่ยวข้าว สีทองไปทั้งท้องทุ่ง ชอบบรรยากาศแบบนี้จัง

 

 

          พ่อขับรถเข้าเมือง ไปรับพี่อีกคนหนึ่ง แล้วก็เตรียมเสบียงเล็กน้อย จากนั้นแวะไปไหว้พระธาตุแช่แห้งด้วย วันนี้เป็นวันเสาร์ เงียบจัง ผิดกับเทศกาลที่คนแห่ไปซะมาก

          พระธาตุแช่แห้ง 


          ลักษณะขององค์พระธาตุเป็นเจดีย์ทรงระฆัง มีความยาวของฐานล่าง ด้านละ 19.25 เมตร ความสูงจากฐานล่างระดับพื้นดินถึงปลายสุดของดอกไม้ทิพย์ สูง 43.49 เมตร เป็นพระธาตุเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดของล้านนา  ตามตำนานเดิมและพงศาวดารเมืองน่านกล่าวว่า เจ้าพระยาการเมือง เจ้าผู้ครองนครปัวสร้างขึ้นในระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ 19 หลังจากนั้นมีการสร้างเสริมโครงสร้างหลายครั้ง ครั้งสุดท้าย เจ้าศรีสองเมืองสร้างเจดีย์องค์ปัจจุบันครอบองค์เดิม เมื่อปี 2153 


          พระธาตุแช่แห้งเป็นพระธาตุประจำปีเกิดของคนเกิดปีเถาะ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างสมัยใด ในตำนานกล่าวว่าเมื่อครั้งพุทธกาล ภูเพียงแช่แห้งแห่งนี้ได้ประดิษฐานพระเกศาธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อพระองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว พระอรหันต์ทั้งหลายได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุข้อพระหัตถ์ด้านซ้าย และเศษของพระสรีรังคารธาตุมาประดิษฐานไว้อีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้มนุษย์และเทวดาได้สักการะตราบ 5,000 พระวัสสา


          สันนิษฐานว่าพระธาตุแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อปี 1896 ตรงกับสมัยของพระยาการเมืองแห่งราชวงศ์ภูคา พระองค์ได้เสด็จลงไปสร้างวัดหลวงอภัยที่อาณาจักรสุโขทัย เมื่อภารกิจแล้วเสร็จ พระมหาธรรมราชาลิไทได้ถวายพระมหาชินธาตุเจ้า 7 พระองค์ มีพระวรรณะเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด สุกใสดังแก้ว 2 พระองค์ มีพระวรรณะดั่งมุก 3 พระองค์ มีพระวรรณะดั่งทองคำ เท่าเมล็ดงาดำ 2 พระองค์ พร้อมด้วยพระพิมพ์เงินพิมพ์ทองอันงามประณีต อย่างละ 20 องค์ ให้แก่พระยาการเมือง เมื่อพระองค์เสด็จกลับถึงเมืองน่าน ได้ทรงปรึกษากับพระมหาเถระธรรมบาล และเห็นสมควรประดิษฐานสิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ไว้ที่เนินภูเพียงแช่แห้ง ระหว่างแม่น้ำเดี๋ยน (แม่น้ำเกี๋ยน) และแม่น้ำลิงค์ (น้ำลิ่งแม่น้ำน่าน) พระยาการเมืองโปรดให้ช่างหล่อเต้าปูนสำริดขนาดใหญ่ แล้วทรงนำพระบรมสารีริกธาตุพร้อมด้วยพระพิมพ์เงินพิมพ์ทองลงบรรจุไว้ปิดฝาสนิทพอกหุ้มด้วยสะดายจีน (ปูนผสมแบบโบราณ) เป็นก้อนกลมเกลี้ยงเหมือนศิลา เสร็จแล้วพระองค์โปรดให้ขุดหลุมลึก 1 วา แล้วอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุและพระพิมพ์เงินพิมพ์ทองลงประดิษฐานไว้และก่ออิฐทับครอบเป็นเจดีย์สูง 1 วา ตลอดรัชกาลของพระองค์ ทรงให้ความสำคัญแก่วัดนี้มากถึงกับย้ายเมืองจากวรนครเมืองพลัวมาสร้างเมืองใหม่ โดยมีวัดพระธาตุแช่แห้งเป็นวัดหลวงประจำราชสำนัก 


          หลักฐานการย้ายเมืองครั้งนั้นคือแนวกำแพงเมืองและคูเมืองโบราณที่สร้างไว้ 2 ชั้น เมื่อปี 1902 อายุกว่า 600 ปี เมื่อสิ้นราชวงศ์ภูคา เมืองน่านจะถูกปกครองโดยเชียงใหม่ (1993-2101) หรือโดยพม่า (2101-2331) และที่สุดจะขึ้นตรงต่อกรุงรัตนโกสินทร์ จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย 


          เสียดายเวลาน้อย เกือบบ่ายสาม สมควรเวลาต้องออกเดินทางต่อ ตามระเบียบการจองห้องที่อุทยาน ให้ถึงที่พักก่อนสี่โมงเย็น

          ขับรถจากเมืองไปถึงปัว ใช้เวลาประมาณหนึ่งชั่วโมง ขับรถต่อไปถึงอุทยานฯ อีกครึ่งชั่วโมง โชคไม่ดีเลย ฝนตกมาได้ไง..
จ่ายค่ารถ 30 บาท คนอีก 40 บาท ที่ด่านตรวจ แล้วขับรถเข้าไปติดต่อห้องพักที่จองไว้ ภูคา 104/1 104/2 ห้องติดกันมีทางเชื่อมตรงกลาง ด้านหลังมีที่นั่งให้ชมหมอก เสียดายวันนี้ฝนตก ทำให้พื้นเปียก ต้องนั่งกินข้าวเย็นกันในห้อง กบ 6 ตัว แปลงร่างเป็นกบทอดกระเทียมเรียบร้อย

 

 บ้านที่พวกเรานอน
 นอนแบบล้อเกวียนได้ 2 คน หรือจะกางเตนท์ก็ได้
 อีกมุมหนึ่งของห้องพัก

   

          อากาศหนาวลดต่ำกว่ายี่สิบองศา หนาวแค่ไหนก็ไม่กลัว ในห้องมีน้ำอุ่นพร้อม  ห้องกว้างนอนได้มากกว่าสี่คน เบาะปูกับพื้นไม้ แยกห้องน้ำกับห้องอาบน้ำ กระติกน้ำ ร้อนมีให้ แก้วน้ำ แก้วกาแฟ รองเท้าแตะครบ ตู้เย็นก็มี แสดงว่าหน้าร้อนคนก็มาเที่ยว

          ตื่นเช้าวันรุ่งขึ้น อยากดูพระอาทิตย์ขึ้น ทั้งที่ไม่รู้ว่าจะได้เห็นหรือเปล่า ไปไหนต่อไหน ไม่เคยได้ตื่นมาดูแสงแรงของวัน คราวนี้มีแนวร่วมเยอะ ปลุกเด็กๆ จอมตื่นเต้นได้แล้วก็ชวนเด็กโข่ง พากันขึ้นรถกระบะพร้อมขนมและกระติกน้ำร้อน 

  

 

          นักท่องเที่ยวน้อย อะไรๆ ก็ดูไม่รีบเร่ง ไม่ต้องแย่งวิวกันถ่ายรูป 6 โมงกว่าแล้ว ไม่มีทีท่าจะเห็นแสงแดด มีแต่หมอกหนาและอากาศเย็น แหม! มันดีจริงๆ 
          วันนี้อุณหภูมิต่ำสุด 9 องศา ไม่รู้ตอนกี่โมง คงจะแต่เช้ามืด ตอนที่นอนหนาวอยู่ในผ้าห่ม
          ถ่ายรูปจนหนำใจ ขับรถกลับที่พัก ต้มยำยำกิน พลาดไปหน่อยที่มียำยำน้อย หนึ่งซองแบ่งกันสองคน ส่วนชามต้องใช้ใบเมื่อคืนที่ยังไม่ล้าง ไม่มีใครคิดว่าต้องเอา น้ำยาล้างจานมาด้วย นึกแล้วก็ขำ เมื่อคืนอาหารการกิน จานชามเพียบ

          ได้เวลาเช็คเอาท์ บ๊ายบายอุทยานฯ มาแป๊บๆ ไม่ทันได้เดินสำรวจเส้นทางธรรมชาติ ..


          เมื่อเช้าจากอุทยานฯ ขับรถเลี้ยวซ้ายไปดูพระทิตย์ขึ้น แล้วก็ขับกลับมาอุทยานฯ จะไปบ่อเกลือก็ต้องไปทางเดิม เวลาจะกลับเข้าเมืองก็ต้องย้อนกลับมาเส้นทางอุทยานฯ ขับไปขับมาอยู่หลายรอบ

          บ่อเกลือเป็นอำเภอ แหล่งทำเกลือสินเธาว์ภูเขาแห่งเดียวในโลก เห็นชนบทแบบนี้ จดหมายส่งถึงกรุงเทพฯ เร็วไม่น่าเชื่อ


          คำบอกเล่าของผู้อาวุโสประจำหมู่บ้านที่จดจำจากปั๊บปิ้น เป็นเอกสารใบลานซึ่งเขียนเป็นอักษรธรรมล้านนาไว้และได้สูญหายไปจากวัดบ่อหลวงราว 40-70 ปี มาแล้วมีผู้จดจำเรื่องราวในเอกสารนั้นเป็นอย่างดีคือ อดีตกำนันนนท์ถี เขื่อนเมือง และเป็นผู้เดียวที่จดจำเรื่องราวเหล่านี้ได้


          บรรพบุรุษเล่าว่า เป็นกลุ่มคนที่อพยพมาจากมองโกเลียออกมาทางแม่น้ำเหลืองทางหัวพันห้าทั้งหก เมื่อล่องแม่น้ำโขงมาถึงลาว จึงมาหยุดอยู่ที่เมืองหลวงน้ำทา แต่พวกลาวไม่ให้อยู่ จึงข้ามมาอยู่ที่เชียงแสน เจ้าหลวงภูคาจึงไปบอกให้มาหักล้างถางพงอยู่บริเวณนี้ มีแม่น้ำลำธารดี ให้มาทำเกลือโดยที่เจ้าหลวงภูคาไปขอเจ้าหลวงน่าน เจ้าหลวงน่านไปขอพญาเม็งรายเพื่อขอคนเชียงแสนที่อพยพมาให้มาอยู่ที่นี่ พ.ศ.2323-2327 ในสมัยล้านนาเป็นเมืองขึ้นพม่า


          ด้วยเหตุผลที่เกลือเป็นทรัพยากรที่สำคัญและมีบทบาทต่อชุมชนคนเมืองน่านและบ้านเมืองชุมชนร่วมสมัยที่อยู่รอบๆ เมืองน่าน ทั้งรัฐสุโขทัย ล้านช้าง และล้านนา เป็นสาเหตุประการหนึ่งที่ทำให้พระเจ้าติโลกราชแห่งล้านนาเสด็จมาตีเมืองน่านราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 และเอาเมืองน่านเข้าไว้เป็นส่วนหนึ่งของล้านนา และมีความสำคัญสืบเนื่องมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์


          มีเรื่องราวเล่าสืบต่อกันมาอีกว่า เจ้าหลวงน่านจะต้องให้คนส่งเกลือไปถวายที่เมืองน่านเป็นการส่งส่วยเกลือ 5 ล้าน 5 แสน 5 หมื่น 5 พัน (ประมาณ 7,395 กิโลกรัมต่อปี) โดยใช้คนที่ไม่ได้ต้มเกลือนำไปส่ง เช่น คนบ่อเกลือเหนือซึ่งส่วนมากเป็นชาวลั๊วะ การส่งเกลือไปถวายพระเจ้าน่านจะมีคนมารับที่นาปางถิ่น (สนามบินน่านปัจจุบัน) โดยมีหัวหน้าเป็นชาวบ่อหลวงเป็นผู้ควบคุมไป การส่งส่วยเหล่านี้เริ่มเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแต่กระทำเรื่อยมาจนถึงเจ้ามหาพรหมสุรธาดา (พ.ศ.2461-2474) เป็นเจ้าผู้ครองนคร และถูกยกเลิกไปในช่วงเวลานั้นเมื่อระบบรวมอำนาจสู่ศูนย์กลางของกรุงเทพฯ สามารถใช้ได้เต็มที่ 


          ในอดีตอำเภอบ่อเกลือขึ้นตรงกับอำเภอปัว มีสองตำบลคือ ตำบลบ่อเกลือเหนือ และบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือถูกปิดล้อมด้วยขุนเขา การเดินทางลำบาก การติดต่อสื่อสารทำได้โดยทางเท้าเท่านั้น ใช้เวลาเดินทาง 1-2 วัน กว่าจะถึงอำเภอปัว จึงถูกปิดล้อมด้วยกองกำลังติดอาวุธพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยตั้งแต่ปี 2509 เมื่อสงครามการใช้กำลังอาวุธยุติลง มีผู้เข้าร่วมพัฒนาชาติไทยเป็นจำนวนมาก ทางราชการจึงได้แยกตำบลบ่อเกลือเหนือ และตำบลบ่อเกลือใต้ออกจากอำเภอปัว จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอบ่อเกลือเมื่อปี 2531 และยกฐานะเป็นอำเภอบ่อเกลือในปี 2538 

          การค้นพบบ่อเกลือ
          มีนายพรานผู้หนึ่งมาล่าสัตว์ และเห็นว่าพวกเหล่าสัตว์ทั้งหลายมักมากินน้ำที่นี่เป็นประจำ เมื่อลองชิมดูจึงรู้ว่าเค็ม ข่าวล่วงรู้ไปถึงเจ้าหลวงภูคาและเจ้าหลวงบ่อ จึงชวนกันมาดูน้ำเกลือ โดยทั้งสองพระองค์ขึ้นไปอยู่ที่บนยอดดอยภูจั่น เพื่อแขงขันกันพุ่งสะเดา (หอก) เจ้าหลวงภูคาพุ่งหอกไปตกทางตะวันตกของน้ำมาง ตรงที่ตั้งของหอนอกในปัจจุบัน เจ้าหลวงบ่อพุ่งหอกไปตกทางตะวันตกของน้ำมาง ข้ามน้ำมางตรงที่ตั้งของหอเจ้าพ่อหลวงในปัจจุบัน ชาวบ้านที่ชมการพุ่งหอก ไปนำเอาหินมาก่อเป็นที่สังเกตแล้วตั้งเป็นโรงหอทำพิธีเพื่อตอบแทนบุญคุณเจ้าทั้งสองพระองค์ทุกปี


          ภายหลังทั้งสองพระองค์คิดกันว่าจะนำคนที่ไหนมาอยู่ เมื่อปรึกษากันแล้วจึงไปนำคนที่อยู่เชียงแสน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวบ่อหลวงมาหักล้างถางพงและทำเกลืออยู่ที่นี่


          บ่อเกลือที่เห็นปัจจุบัน ปากบ่อกรุด้วยไม้กั้นเป็นคอกอย่างดี อดีตกำนันนนท์ถี เขื่อนเมือง เล่าว่าเมื่อสมัยแม่ของตนยังเป็นเด็ก เจ้าผู้ครองเมืองส่งคนมาสร้างดอกไม้เป็นขอบบ่อ เพราะแต่เดิมเป็นเพียงบ่อดิน ใช้ไม้กลวงสวมตรงกลางกันดินถล่มเท่านั้น ในขณะนั้นแม่ได้ช่วยตักน้ำมาเลี้ยงผู้ที่มาทำการก่อสร้างนั้นด้วย


          กรรมวิธีในการต้มเกลือ
          ตักน้ำเกลือจากบ่อเกลือ...นำมาพักไว้ในกระบอกไม้ไผ่...นำน้ำเกลือใส่ในกระทะใบบัวเกือบเต็ม...สุมไฟในเตาต้มเกลือให้ร้อนสม่ำเสมอ...ตักเกลือที่ตกผลึกแล้วใส่ตระกร้าที่แขวนไว้บนกระทะเพื่อสะเด็ดน้ำ...นำเกลือในตระกร้าไปเก็บไว้ในเปาะ (ชะลอม)...น้ำเกลือที่แห่งสนิทแล้ว ผสมไอโอดีน..บรรจุถุงติดฉลากจำหน่าย

          มื้อเย็นเตรียมเสบียงจากตลาด อาหารเหนือล้วนๆ ไม่ลืมแวะซื้อเค้กฉลองวันเกิดด้วย แต่กว่าจะได้กินข้าวเย็น ต้องอาบน้ำกันครบถ้วนเพื่อทำบายศรีสู่ขวัญ


          คืนนี้นอนที่บ้านพ่อเพื่อน ห้องไม่ต้องใช้พัดลม และใช้ผ้านวมสองผืนซ้อน ก็มันหนาว......ว


          เสียงไก่ขันแต่เช้าตรู่สลับกับเสียงรถแต๋น ชาวบ้านตื่นกันแต่เช้าไปทำงาน วันนี้เด็กๆ ก็ไปเรียน ผู้ใหญ่ที่เหลือตกลงไปเที่ยวในเมืองกันเอง


          วัดมิ่งเมือง
          ปี 2400 เจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่านได้สถาปนาวัดร้างขึ้นใหม่และตั้งชื่อว่าวัดมิ่งเมือง เพราะว่ามีเสามิ่งหรือเสามิ่งเมืองตั้งอยู่ในวัด เป็นไม้สักทองท่อนซุงขนาดสองคนโอบ (คนภาคกลางเรียกเสาพระหลักเมือง) 
          อุโบสถล้านนาวัดมิ่งเมืองออกแบบตามจินตนาการของเจ้าอาวาส การก่อสร้างตัวอาคารฝีมือสล่า (ช่าง) พื้นบ้านเมืองน่าน ลวดลายปฏิมากรรมปูนปั้นโดยสกุลช่างเชียงแสนโบราณ ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถเป็นภาพตำนานประวัติเมืองน่านโดยจิตรกรพรสวรรค์พื้นบ้านเมืองน่าน 

          วัดภูมินทร์
          สร้างเมื่อปี 2139 เดิมวัดนี้มีชื่อว่า วัดพรหมมินทร์ตามนามผู้สร้างคือพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ผู้ครองนครน่าน ก่อนจะเพี้ยนเป็นวัดภูมินทร์ สิ่งสำคัญที่สุดในวัดนี้ที่ถือว่ามีอยู่แห่งเดียวในประเทศไทย คือ พระอุโบสถทรงจตุรมุข พระประธานจตุรพักตร์นาคสดุ้งขนาดใหญ่ มีแท่นพระอุโบสถเทินไว้กลางลำตัวนาค ตรงใจกลางพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ 4 องค์ หันพระพักตร์ออกด้านประตูทั้งสี่ทิศ หันเบื้องพระปฤษฎางค์ชนกัน ประทับนั่งบนฐานชุกชี ผู้ที่มาชมความงามของพระอุโบสถนี้ ไม่ว่าจะเดินขึ้นบันไดทางทิศไหน ก็จะพบพระพักตร์พระพุทธรูปทุกด้านไป นอกจากนี้ยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ ชาดก ชีวิต ตำนานพื้นบ้าน และความเป็นอยู่ของชาวน่านในอดีต 


          ที่วัดนี้ยังได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น โดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ 
          ที่มาของแบงก์บาทเกิดขึ้นสมัยสงครามเอเชียบูรพา ปี 2484 ด้วยเหตุผลทางการเมืองและการทหาร ประเทศไทยจำเป็นต้องเข้าร่วมรบกับกองทัพญี่ปุ่น เป็นผลให้ต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างของระบบการเงิน และมีการจัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยในเวลาต่อมา โดยที่ทางการไม่สามารถติดต่อกับโรงพิมพ์ธนบัตรในประเทศอังกฤษได้ รัฐบาลไทยจึงขอให้ญี่ปุ่นจัดพิมพ์ธนบัตร ราคา 1 บาท โดยกำหนดให้ใช้รูปโบสถ์ของวัดภูมินทร์เป็นภาพด้านหน้าของธนบัตร

          พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ น่าน

          สร้างขึ้นเมื่อปี 2446 บริเวณคุ้มอดีตเจ้าผู้ครองนครน่าน ถ.ผากอง ต.ในเวียง อ.เมือง 14 ไร่ 2 งาน 32 ตารางวา เดิมเป็นหอคำที่พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ พระเจ้าน่านสร้างเป็นที่ประทับ (2446) ระหว่างครองนครน่าน 2463-2461 
          เมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าองค์สุดท้ายถึงแก่พิราลัย เจ้านายบุตรหลานจึงได้มอบหอคำพร้อมที่ดินให้รัฐบาลใช้เป็นศาลากลางจังหวัด ปี 2475 มหาดไทยสร้างศาลากลางใหม่ กรมศิลปากรจึงรับมอบหอคำเป็นที่จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ ปี 2517 และประกาศเป็นพิพิธภัณฑ์อย่างเป็นทางการ ปี 2528 หลังการจัดแสดงสมบูรณ์ พระเทพฯ เป็นองค์ประธานประกอบพิธีเปิดและให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ปี 2530 

 (ด้านซ้ายคือวัดน้อย ด้านหลังเป็นพิพิธภัณฑ์)

 


          สถานที่แห่งนี้มีต้นไม้ใหญ่ ชื่อว่าต้นโพธิ์ หรือต้นสหรีและวัดน้อย เชื่อว่าเป็นที่สิงสถิตย์ของเทพเทวดาผู้รักษาเมือง อยู่ระหว่างคุ้มหลวงและวัดหลวง เป็นที่ประดิษฐานโบราณวัตถุคู่เมืองน่าน “งาช้างดำ”
เปิดทุกวัน 09.00-16.00 น. ต่างชาติ 100 บาท คนไทย 20 บาท โทร.0-5471-0561, 0-5477-2777
 

          วัดน้อย 
          วัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย อยู่บริเวณพิพิธภัณฑ์ฯ จากคำบอกเล่าเชื่อว่าพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 63 กราบบังคมทูลถึงจำนวนวัดในเมืองน่าน ต่อรัชกาลที่ 5 แต่ปรากฏว่านับจำนวนเกินไปหนึ่งวัด จึงได้สร้างวัดน้อยขึ้นมาให้ครบตามจำนวนที่กราบบังคมทูลไป รูปทรงของวัดเป็นวิหาร ก่ออิฐ ถือปูน ขนาดกว้าง 1.98 เมตร ยาว 2.34 เมตร สูง 3.35 เมตร แบบศิลปะล้านนา สกุลช่างน่าน มีพระพุทธรูปและแผงพระพิมพ์ไม้ประดิษฐานอยู่ภายใน

          วัดหัวข่วง
          สร้างเมื่อใดไม่ปรากฏ เป็นไปได้ว่าสร้างปี 2068 และปรากฏหลักฐานกล่าวถึงการซ่อมแซมปฏิสังขรณ์พระอุโบสถครั้งแรกเมื่อปี 2425 โดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน สมัยรัชกาลที่ 4 ในปี 2471 พลตรีเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้าย บูรณะปฏิสังขรณ์อีกครั้ง

 
          สิ่งก่อสร้างภายในวัด ได้แก่ เจดีย์ อุโบสถ์ ธรรมมาสและหอไตร มีรูปแบบศิลปกรรมแบบล้านนา

 

          วัดช้างค้ำวรวิหาร 
          หรือวัดหลวงกลางเวียง เป็นวัดหลวงประจำเมืองน่าน ตั้งอยู่ใจกลางเมืองน่าน สร้างขึ้นปี 1949 โดยพญาผาภูเซ็ง เจ้าผู้ครองนครน่าน อายุของวัด 600 กว่าปี เป็นหนึ่งในจำนวนโบราณสถานที่มีอายุร่วมสมัยเดียวกับสุโขทัย

         

 

          วัดสวนตาล 
          วัดสวนตาลหรือวัดม่าน เก่าแก่เป็นอันดับ 4 ของน่าน พระปรางเดิมเป็นเจดีย์ทรงดอกบัวตูม หรือพุ่มข้าวบิณฑ์ ศิลปสมัยสุโขทัย
ปี 2101 ในสมัยพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่ายกทัพตีหัวเมืองล้านนา เมืองเชียงใหม่และเมืองน่าน ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ทางพม่าที่เมืองเชียงใหม่ได้แต่งตั้งเจ้าเมืองมาปกครองเมืองน่าน 200 ปีเศษ ในช่วงนี้ได้นำช่างฝีมือชาวพม่ามาสร้างวัด
          ในสมัยพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้าเมืองน่านลำดับที่ 63 บูรณะใหม่จนเป็นศิลปตอนปลายพุทธศตรวรรษที่ 25 พระพุทธรูปทองทิพย์ (พระเจ้าทองทิพย์ พระประจำจังหวัดน่าน)ในพระอุโบสถหล่อด้วยทองสัมริด ศิลปน่านยุคที่ 2 ผสมผสานระหว่างศิลปสมัยสุโขทัยกับล้านนา มีอายุ 500 กว่าปี

 

          ไปน่าน 3 วัน 2 คืน นอนในรถอีก 2 คืน ยังรู้สึกว่าน้อยไปที่จะได้อยู่กับเมืองที่เต็มไปด้วยเสน่ห์เช่น "นครน่าน" 



ประชาสัมพันธ์น่าน 0-5477-3047
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว 0-5775-1169, 0-5475-0247

อ่านแล้ว ...ดอยภูคาน่าไปนอนมาก

อ่านแล้ว ...เรื่องสนุกดี ดอยภูคาน่าไปนอนมาก ..

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 636 คน กำลังออนไลน์