• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:518a71558ae6130fa2aba603acb451f9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">รายงาน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ภูมปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนา</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เสนอ</span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                 </span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">    คุณครู วัชรี<span>  </span>กมลเสรีรัตน์</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\">                        </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">จัดทำโดย</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>            </span><span>                  </span></span></b></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>          </span>1. นาย  นริศ  สุดสาว<span>  </span><span>    </span>เลขที่ 12</span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>     </span></span></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>          </span>2. นาย  ธนา  นิพัทธมานนท์ <span>   </span>เลขที่<span> 14</span></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>3. นาย  ธนวรรธน์  กายากุล เลขที่ 16</span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                       </span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ไทย</span></b></span> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์</span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong> </strong></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong> </strong></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong> </strong></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong>คำนำ</strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>          </span></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span>รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา ภูมิปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนาของมนุษย์ และเป็นแหล่งความรู้อีกทางที่น่าค้นหา</span><span style=\"font-size: 14pt; color: #339966; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การบูรณาการแนวคิดทางศาสนามาใช้กับวิถีชีวิตประจำวัน จะเป็นสิ่งที่สอดคล้องกันไปได้อย่างดีเพียงแต่คนไทยทุกคนต้องมีความมุ่งมั่นในการดำเนินชีวิต</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>        </span>หากรายงานฉบับนี้ผิดพลาดประการต้องขออภัย</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <strong><span style=\"font-size: 9pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทย</span></strong><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"> ภูมิปัญญาไทย ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า </span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\">Wisdom <span lang=\"TH\">หมายถึง ความรู้ความสามารถ วิธีการผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม และจัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์ สามารถนำมาแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตได้แต่ละหมู่บ้าน แต่ละชุมชนไทย ล้วนมีการทำมาหากินที่สอดคล้องกับภูมิประเทศ มีผู้นำที่มีความรู้ มีฝีมือทางช่าง สามารถคิดประดิษฐ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาของชาวบ้านได้ ผู้นำเหล่านี้ เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ทรงภูมิปัญญาไทย </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <strong><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ลักษณะของภูมิปัญญาไทย</span></strong><span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">1. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความรู้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">3. ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิตของคน <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">4.ภูมิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">5. ภูมิปัญญาไทยเป็นพื้นฐานสำคัญในการมองชีวิต เป็นพื้นฐานความรู้ในเรื่องต่างๆ <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม ภูมิปัญญาไทยสามารถจัดแบ่งสาขา ได้ดังนี้ จากการศึกษาพบว่า มีการกำหนดสาขาภูมิปัญญาไทยไว้อย่างหลากหลายขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่หน่วยงาน องค์กร และนักวิชาการแต่ละท่านนำมากำหนด <o:p></o:p></span></span><strong><span style=\"font-size: 9pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ในภาพรวมภูมิปัญญาไทยสามารถแบ่งได้เป็น 10 สาขาดังนี้</span></strong><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และเทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิม ซึ่งคนสามารถพึ่งพาตนเองในภาวการณ์ต่างๆ ได้ <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลิตผล เพื่อชะลอการนำเข้าตลาด เพื่อแก้ปัญหาด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อันเป็นกระบวนการที่ทำให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้ <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกันและรักษาสุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพและอนามัยได้ <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการสะสมและบริการกองทุน และธุรกิจในชุมชน ทั้งที่เป็นเงินตราและโภคทรัพย์ เพื่อส่งเสริมชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกในชุม <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">6. สาขาสวัสดิการ หมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคน ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่างๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ ศิลปะมวยไทย เป็นต้น <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดำเนินงานขององค์กรชุมชนต่างๆ ให้สามารถพัฒนา และบริหารองค์กรของตนเองได้ตามบทบาท และหน้าที่ขององค์การ เช่น การจัดการองค์กรของกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มประมงพื้นบ้าน เป็นต้น <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลิตผลงานเกี่ยวกับด้านภาษาทั้งภาษาถิ่น ภาษาโบราณ ภาษาไทยและการใช้ภาษา ตลอดทั้ง ด้านวรรณกรรมทุกประเภท เช่น การจัดทำสารานุกรมภาษาถิ่น การปริวรรต หนังสือโบราณ การฟื้นฟูการเรียนการสอนภาษาถิ่นของท้องถิ่นต่างๆ เป็นต้น <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนา ความเชื่อ และประเพณีดั้งเดิมที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้บังเกิดผลดีต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <strong><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ความเชื่อทางศาสนาของชาวล้านนา</span></strong><span lang=\"TH\"> มีความเชื่อหลายอย่างผสมผสานกันอยู่ ดังที่ปรากฏตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยสามารถสรุปได้ดังนี้ <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">1. <strong><span style=\"font-family: Tahoma\">ความเชื่อเรื่องผี</span></strong> ความเชื่อเรื่องผีนี้มีมานานแล้ว นอกจากจะเชื่อเรื่องผีที่เป็นวิญญานหลังความตายแล้ว ยังเชื่อในเรื่องผีว่ามีอยู่ ๒ ประเภท คือ ผีดี และผีร้าย ผีดี คือผีที่คอยปกป้องดูแลรักษาคนในครอบครัวและชุมชนให้อยู่ดีมีสุข ผีประเภทนี้ได้แก่ ผีประจำตระกูล เรียกว่า &quot;ผีปู่ย่า&quot; ผีบ้านผีเมือง (ผีที่คอยดูแลรักษาบ้านเมือง) ผีเสื้อวัด (อารักษ์วัด) ผีเสื้อนา (อารักษ์นา) ผีเหมืองฝายผีขุนน้ำ เป็นต้น แต่ทั้งนี้บุคคลจะต้องปฎิบัติตามครรลองที่ดีของครอบครัวและชุมชน จึงได้รับการปกป้องดูแลรักษา ส่วนผีร้ายนั้น มักหมายถึงผีที่เป็นวิญญานเร่ร่อนตามที่ต่าง ๆ ตายแล้วไม่ได้ไปผุดเกิด ซึ่งอาจทำร้ายผู้คนให้เกิดความเจ็บป่วยได้ โดยเฉพาะผู้ที่ไปล่วงเกินโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ทั้งนี้หากมีการล่วงเกินผีทั้ง ๒ ประเภทแล้วจะต้องไหว้ผีหรือเลี้ยงผี คือการเซ่นไหว้ด้วยข้าวปลาอาหารตามที่มีการกำหนดกันไว้ เช่น เซ่นด้วยเหล้า ๑ ไหล ไก่ ๑ คู่ เป็นต้น <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2. <strong><span style=\"font-family: Tahoma\">ความเชื่อทางพุทธศาสนา</span></strong> เช่น ความเชื่อเรื่องกฏแห่งกรรม ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ความ เชื่อบาป บุญคุณโทษ ความเชื่อเรื่องชาติภพ ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ เป็นต้น โดยมีการผสมผสานความเชื่อแบบศาสนาพราหมณ์รวมอยู่ด้วย เช่น ความเชื่อเรื่องเทพเทวดา พระอินทร์ พระพรหมท้าวจตุโลกบาลผู้รักษาทิศทั้งสี่ เป็นต้น ซึ่งเห็นได้จากเมื่อมีการประกอบพิธีกรรมใด ๆ ก็ตามเมื่อมีการกล่าวถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์แล้ว มักจะมีกล่าวถึงเทพเทวดาต่างๆด้วย <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">3.<strong><span style=\"font-family: Tahoma\"> ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์</span></strong> เช่น การใช้เวทย์มนตร์คาถา การสักยันต์ การทำเสน่ห์ เป็นต้น <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">4. <strong><span style=\"font-family: Tahoma\">ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์</span></strong> เช่น ความเชื่อเรื่องคำทำนาย ชะตาราศี โชคลางฤกษ์ยาม ความฝัน เคราะห์กรรม เป็นต้น <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\">5. ความเชื่อเกี่ยวกับอำนาจเหนือธรรมชาติอื่น ๆ เช่น อำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ของวิเศษ อำนาจวิเศษ เสนียดจัญไร อาถรรพ์ เป็นต้น ความเชื่อของการตั้งศาลพระภูมิ คนไทยชาวสยามแต่อดีตกาล มีความเชื่อว่าตามฟ้า ดิน น้ำ ภูเขา ต้นไม้ และอาคารบ้านเรือน มีผีเจ้าที่เจ้าทาง ปกปักรักษาอยู่ ผนวกกับความเชื่อทางศาสนาพุทธ และพราหมณ์ฮินดู ทำให้เกิดการพัฒนาพิธีการอัญเชิญผีเจ้าที่เจ้าทาง และสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประทับในศาล (ศาลพระภูมิ</span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\">,<span lang=\"TH\">ศาลเจ้าที่) เพื่อปกป้องคุ้มครองดูแล รักษาสถานที่บ้านเรือนที่อยู่อาศัย ให้มีความเป็นสิริมงคล เจริญก้าวหน้าในทุกสถาน นิยมตั้งศาลพระภูมิเจ้าที่ ในวันที่ปลูกสร้างบ้านเรือนใหม่เจ้าพิธีผู้ทำพิธีกรรม ตั้งศาลพระภูมิ นั้นเป็นได้ทั้งพระ</span>,<span lang=\"TH\">พราหมณ์</span>,<span lang=\"TH\">ฆราวาสผู้ตั้งมั่นอยู่ในศีลในธรรม ตามคติความเชื่อจากพิธีกรรมพื้นบ้านแต่เดิม ความเชื่อทางพุทธศาสนา และพราหมณ์ฮินดู นำมาพัฒนาพิธีกรรมพื้นบ้าน เพื่อให้เกิดความขลัง และศักดิ์สิทธิ์ขึ้น เปลี่ยนคำนำหน้าใหม่ให้ดูดีมีมงคลขึ้นจากคำว่า </span>“<span lang=\"TH\">ผี</span>” <span lang=\"TH\">ที่ดีมีคุณธรรม ให้เป็นพระ เช่น พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง หรือพระภูมิ เพราะนับถือว่าเป็น ผี ชั้นสูง การตั้งศาลพระภูมิ นำแนวคิดมาจากศาสนาพราหมณ์ฮินดูว่า พระอิศวร หรือพระศิวะ ทรงมีวิมาน ประทับบนยอดเขาพระสุเมรุ เปรียบประดุจมณฑลจักรวาล พระภูมิถือเป็นเทวดา ขั้นหนึ่งเหมือนกัน วิมานของศาลพระภูมิ จึงต้องมีเสาเดียว เปรียบประดุจเขาพระสุเมรุมาศวิมานของ พระอิศวร คนไทย นั้นเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เร้นลับ เป็นสี่งที่ผูกพันในชีวิตเราแทบทุกคน ศาลพระภูมิเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อย่างหนึ่งที่ใกล้ตัวอันแสดงถึงความเชื่อ และความศรัทธาที่มีต่อสิ่งนี้ การประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับสิ่งนี้ จึงต้องมีการกระทำอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล แก่ผู้อยู่อาศัย การบวงสรวงเซ่นสังเวย และการตั้งศาลพระภูมิ ถือเป็นวัฒนธรรมพิธีกรรมแบบโบราณของไทย โดยกระทำเมื่อปลูกบ้านใหม่ หรือย้ายที่อยู่เพราะเชื่อว่าขั้นตอนการตั้งศาลจะเป็นการขับไล่สิ่งอัปมงคลทั้งหลายให้ออกไปจากบ้าน แล้วจึงอัญเชิญ พระภูมิมาสถิติที่ ศาลพระภูมิเพื่อปกป้องคุ้มครองเจ้าบ้าน และบริวารให้อยู่เย็นเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรือง เพราะถือว่าพระภูมิเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างหนึ่งของบ้าน ความเชื่อในวันลอยกระทง เป็นพิธีอย่างหนึ่งที่มักจะทำกันในคืนวันเพ็ญ เดือน 12 หรือวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 อันเป็นวันพระจันทร์เต็มดวง และเป็นช่วงที่น้ำเต็มตลิ่ง โดยจะมีการนำดอกไม้ ธูป เทียนหรือสิ่งของใส่ลงในสิ่งประดิษฐ์รูปแบบต่างๆที่ไม่จมน้ำ เช่น กระทง เรือ แพ ดอกบัว ฯลฯ แล้วนำไปลอยตามลำน้ำ โดยมีวัตถุประสงค์ และความเชื่อต่างๆกัน สำหรับในปีนี้วันลอยกระทงตรงกับวันจันทร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2552 ประเพณีลอยกระทง มิได้มีแต่ในประเทศไทยเท่านั้น ในประเทศจีน อินเดีย เขมร ลาว และพม่าก็มีการลอยกระทงคล้ายๆกับบ้านเรา จะต่างกันบ้างก็คงเป็นเรื่องรายละเอียด พิธีกรรม และความเชื่อในแต่ละท้องถิ่น แม้แต่ในบ้านเราเอง การลอยกระทงก็มาจากความเชื่อที่หลากหลายเช่นกันการลอยกระทง เป็นประเพณีที่มีมาแต่โบราณ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าปฏิบัติกันมาแต่เมื่อไร เพียงแต่ท้องถิ่นแต่ละแห่งก็จะมีจุดประสงค์และความเชื่อในการลอยกระทงแตก ต่างกันไป เช่น ในเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ก็จะเป็นการบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นการบูชารอยพระพุทธบาท ณ หาดทรายริมฝั่งแม่น้ำนัมมทา ซึ่งปัจจุบันคือแม่น้ำเนรพุททาในอินเดีย หรือต้อนรับพระพุทธเจ้าในวันเสด็จกลับจากเทวโลกเมื่อครั้งไปโปรดพระพุทธ มารดา นอกจากนี้ ก็ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อบูชาพระอุปคุตเถระที่บำเพ็ญบริกรรมคาถาในท้องทะเล ลึกหรือสะดือทะเล บางแห่งก็ลอยกระทงเพื่อบูชาเทพเจ้าตามความเชื่อของตน บางแห่งก็เพื่อแสดงความขอบคุณพระแม่คงคาซึ่งเป็นแหล่งน้ำให้มนุษย์ได้ใช้ ประโยชน์ต่างๆ รวมทั้งขอขมาที่ได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลลงไป ส่วนบางท้องที่ก็จะทำเพื่อระลึกถึงบรรพบุรุษที่ล่วงลับ หรือเพื่อสะเดาะเคราะห์ ลอยทุกข์โศกโรคภัยต่างๆ และส่วนใหญ่ก็จะอธิษฐานขอสิ่งที่ตนปรารถนาไปด้วย</span></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span></span><strong><span style=\"font-size: 9pt; color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">อ้างอิง</span></strong><span style=\"font-size: 9pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: black\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> http://board.palungjit.com/f<span lang=\"TH\">2/%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%84%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">7%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">2%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">1%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">9%80%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%8</span>A%E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">7%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">9%88%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>AD-%E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%84%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">7%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">2%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">1%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">8%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">3%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">1%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%97%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%98%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">2-%</span>E<span lang=\"TH\">2%80%9</span>C%E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">7%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">1%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%99%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">5%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>AD%E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">2%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%81%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">3%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">0%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%97%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%87%</span>E<span lang=\"TH\">2%80%9</span>D-<span lang=\"TH\">211669.</span>html<span lang=\"TH\"> <a href=\"http://www.lannaworld.com/believe/lannabelieve.htm\" title=\"http://www.lannaworld.com/believe/lannabelieve.htm\"><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">http://www.lannaworld.com/believe/lannabelieve.htm</span></a> <a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ภูมิปัญญาไทย\" title=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\"><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">8%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">A</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">8%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">9%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">8%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">A</span><span style=\"color: black\">1%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">E</span><span style=\"color: black\">0...</span></a> <a href=\"http://horoscope.thaiza.com/ความเชื่อเรื่องการตั้งศาลพระภูมิ_1212_75177_1212_.html\" title=\"http://horoscope.thaiza.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E\"><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">http://horoscope.thaiza.com/%E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">8%84%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">8%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">A</span><span style=\"color: black\">7%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">8%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">2%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">8%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">A</span><span style=\"color: black\">1%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">E</span><span style=\"color: black\">0%</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN-US\">B</span><span style=\"color: black\">9%8...</span></a> <o:p></o:p></span></span></span></span></o:p></span></span></span></p>\n', created = 1728202840, expire = 1728289240, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:518a71558ae6130fa2aba603acb451f9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รายงานภูมปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนา ม. 4/1

รูปภาพของ sila15988

รายงานภูมปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนา  เสนอ                     คุณครู วัชรี  กมลเสรีรัตน์                           จัดทำโดย                              

          1. นาย  นริศ  สุดสาว      เลขที่ 12     

          2. นาย  ธนา  นิพัทธมานนท์    เลขที่ 14  

         3. นาย  ธนวรรธน์  กายากุล เลขที่ 16

                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1  รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ไทย

โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์

   คำนำ           รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา ภูมิปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนาของมนุษย์ และเป็นแหล่งความรู้อีกทางที่น่าค้นหา การบูรณาการแนวคิดทางศาสนามาใช้กับวิถีชีวิตประจำวัน จะเป็นสิ่งที่สอดคล้องกันไปได้อย่างดีเพียงแต่คนไทยทุกคนต้องมีความมุ่งมั่นในการดำเนินชีวิต         หากรายงานฉบับนี้ผิดพลาดประการต้องขออภัย   ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาไทย ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Wisdom หมายถึง ความรู้ความสามารถ วิธีการผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม และจัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์ สามารถนำมาแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตได้แต่ละหมู่บ้าน แต่ละชุมชนไทย ล้วนมีการทำมาหากินที่สอดคล้องกับภูมิประเทศ มีผู้นำที่มีความรู้ มีฝีมือทางช่าง สามารถคิดประดิษฐ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาของชาวบ้านได้ ผู้นำเหล่านี้ เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ทรงภูมิปัญญาไทย  ลักษณะของภูมิปัญญาไทย 1. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความรู้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม 2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิตของคน 4.ภูมิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภูมิปัญญาไทยเป็นพื้นฐานสำคัญในการมองชีวิต เป็นพื้นฐานความรู้ในเรื่องต่างๆ 6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม ภูมิปัญญาไทยสามารถจัดแบ่งสาขา ได้ดังนี้ จากการศึกษาพบว่า มีการกำหนดสาขาภูมิปัญญาไทยไว้อย่างหลากหลายขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่หน่วยงาน องค์กร และนักวิชาการแต่ละท่านนำมากำหนด ในภาพรวมภูมิปัญญาไทยสามารถแบ่งได้เป็น 10 สาขาดังนี้ 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และเทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิม ซึ่งคนสามารถพึ่งพาตนเองในภาวการณ์ต่างๆ ได้ 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลิตผล เพื่อชะลอการนำเข้าตลาด เพื่อแก้ปัญหาด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อันเป็นกระบวนการที่ทำให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้ 3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกันและรักษาสุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพและอนามัยได้ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้ประโยชน์จากคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน  5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการสะสมและบริการกองทุน และธุรกิจในชุมชน ทั้งที่เป็นเงินตราและโภคทรัพย์ เพื่อส่งเสริมชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกในชุม 6. สาขาสวัสดิการ หมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคน ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่างๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ ศิลปะมวยไทย เป็นต้น 8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดำเนินงานขององค์กรชุมชนต่างๆ ให้สามารถพัฒนา และบริหารองค์กรของตนเองได้ตามบทบาท และหน้าที่ขององค์การ เช่น การจัดการองค์กรของกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มประมงพื้นบ้าน เป็นต้น 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลิตผลงานเกี่ยวกับด้านภาษาทั้งภาษาถิ่น ภาษาโบราณ ภาษาไทยและการใช้ภาษา ตลอดทั้ง ด้านวรรณกรรมทุกประเภท เช่น การจัดทำสารานุกรมภาษาถิ่น การปริวรรต หนังสือโบราณ การฟื้นฟูการเรียนการสอนภาษาถิ่นของท้องถิ่นต่างๆ เป็นต้น 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนา ความเชื่อ และประเพณีดั้งเดิมที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้บังเกิดผลดีต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม  ความเชื่อทางศาสนาของชาวล้านนา มีความเชื่อหลายอย่างผสมผสานกันอยู่ ดังที่ปรากฏตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยสามารถสรุปได้ดังนี้  1. ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องผีนี้มีมานานแล้ว นอกจากจะเชื่อเรื่องผีที่เป็นวิญญานหลังความตายแล้ว ยังเชื่อในเรื่องผีว่ามีอยู่ ๒ ประเภท คือ ผีดี และผีร้าย ผีดี คือผีที่คอยปกป้องดูแลรักษาคนในครอบครัวและชุมชนให้อยู่ดีมีสุข ผีประเภทนี้ได้แก่ ผีประจำตระกูล เรียกว่า "ผีปู่ย่า" ผีบ้านผีเมือง (ผีที่คอยดูแลรักษาบ้านเมือง) ผีเสื้อวัด (อารักษ์วัด) ผีเสื้อนา (อารักษ์นา) ผีเหมืองฝายผีขุนน้ำ เป็นต้น แต่ทั้งนี้บุคคลจะต้องปฎิบัติตามครรลองที่ดีของครอบครัวและชุมชน จึงได้รับการปกป้องดูแลรักษา ส่วนผีร้ายนั้น มักหมายถึงผีที่เป็นวิญญานเร่ร่อนตามที่ต่าง ๆ ตายแล้วไม่ได้ไปผุดเกิด ซึ่งอาจทำร้ายผู้คนให้เกิดความเจ็บป่วยได้ โดยเฉพาะผู้ที่ไปล่วงเกินโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ ทั้งนี้หากมีการล่วงเกินผีทั้ง ๒ ประเภทแล้วจะต้องไหว้ผีหรือเลี้ยงผี คือการเซ่นไหว้ด้วยข้าวปลาอาหารตามที่มีการกำหนดกันไว้ เช่น เซ่นด้วยเหล้า ๑ ไหล ไก่ ๑ คู่ เป็นต้น 2. ความเชื่อทางพุทธศาสนา เช่น ความเชื่อเรื่องกฏแห่งกรรม ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ความ เชื่อบาป บุญคุณโทษ ความเชื่อเรื่องชาติภพ ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ เป็นต้น โดยมีการผสมผสานความเชื่อแบบศาสนาพราหมณ์รวมอยู่ด้วย เช่น ความเชื่อเรื่องเทพเทวดา พระอินทร์ พระพรหมท้าวจตุโลกบาลผู้รักษาทิศทั้งสี่ เป็นต้น ซึ่งเห็นได้จากเมื่อมีการประกอบพิธีกรรมใด ๆ ก็ตามเมื่อมีการกล่าวถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์แล้ว มักจะมีกล่าวถึงเทพเทวดาต่างๆด้วย 3. ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ เช่น การใช้เวทย์มนตร์คาถา การสักยันต์ การทำเสน่ห์ เป็นต้น  4. ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์ เช่น ความเชื่อเรื่องคำทำนาย ชะตาราศี โชคลางฤกษ์ยาม ความฝัน เคราะห์กรรม เป็นต้น 5. ความเชื่อเกี่ยวกับอำนาจเหนือธรรมชาติอื่น ๆ เช่น อำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ของวิเศษ อำนาจวิเศษ เสนียดจัญไร อาถรรพ์ เป็นต้น ความเชื่อของการตั้งศาลพระภูมิ คนไทยชาวสยามแต่อดีตกาล มีความเชื่อว่าตามฟ้า ดิน น้ำ ภูเขา ต้นไม้ และอาคารบ้านเรือน มีผีเจ้าที่เจ้าทาง ปกปักรักษาอยู่ ผนวกกับความเชื่อทางศาสนาพุทธ และพราหมณ์ฮินดู ทำให้เกิดการพัฒนาพิธีการอัญเชิญผีเจ้าที่เจ้าทาง และสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประทับในศาล (ศาลพระภูมิ,ศาลเจ้าที่) เพื่อปกป้องคุ้มครองดูแล รักษาสถานที่บ้านเรือนที่อยู่อาศัย ให้มีความเป็นสิริมงคล เจริญก้าวหน้าในทุกสถาน นิยมตั้งศาลพระภูมิเจ้าที่ ในวันที่ปลูกสร้างบ้านเรือนใหม่เจ้าพิธีผู้ทำพิธีกรรม ตั้งศาลพระภูมิ นั้นเป็นได้ทั้งพระ,พราหมณ์,ฆราวาสผู้ตั้งมั่นอยู่ในศีลในธรรม ตามคติความเชื่อจากพิธีกรรมพื้นบ้านแต่เดิม ความเชื่อทางพุทธศาสนา และพราหมณ์ฮินดู นำมาพัฒนาพิธีกรรมพื้นบ้าน เพื่อให้เกิดความขลัง และศักดิ์สิทธิ์ขึ้น เปลี่ยนคำนำหน้าใหม่ให้ดูดีมีมงคลขึ้นจากคำว่า ผีที่ดีมีคุณธรรม ให้เป็นพระ เช่น พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง หรือพระภูมิ เพราะนับถือว่าเป็น ผี ชั้นสูง การตั้งศาลพระภูมิ นำแนวคิดมาจากศาสนาพราหมณ์ฮินดูว่า พระอิศวร หรือพระศิวะ ทรงมีวิมาน ประทับบนยอดเขาพระสุเมรุ เปรียบประดุจมณฑลจักรวาล พระภูมิถือเป็นเทวดา ขั้นหนึ่งเหมือนกัน วิมานของศาลพระภูมิ จึงต้องมีเสาเดียว เปรียบประดุจเขาพระสุเมรุมาศวิมานของ พระอิศวร คนไทย นั้นเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เร้นลับ เป็นสี่งที่ผูกพันในชีวิตเราแทบทุกคน ศาลพระภูมิเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อย่างหนึ่งที่ใกล้ตัวอันแสดงถึงความเชื่อ และความศรัทธาที่มีต่อสิ่งนี้ การประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับสิ่งนี้ จึงต้องมีการกระทำอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล แก่ผู้อยู่อาศัย การบวงสรวงเซ่นสังเวย และการตั้งศาลพระภูมิ ถือเป็นวัฒนธรรมพิธีกรรมแบบโบราณของไทย โดยกระทำเมื่อปลูกบ้านใหม่ หรือย้ายที่อยู่เพราะเชื่อว่าขั้นตอนการตั้งศาลจะเป็นการขับไล่สิ่งอัปมงคลทั้งหลายให้ออกไปจากบ้าน แล้วจึงอัญเชิญ พระภูมิมาสถิติที่ ศาลพระภูมิเพื่อปกป้องคุ้มครองเจ้าบ้าน และบริวารให้อยู่เย็นเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรือง เพราะถือว่าพระภูมิเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างหนึ่งของบ้าน ความเชื่อในวันลอยกระทง เป็นพิธีอย่างหนึ่งที่มักจะทำกันในคืนวันเพ็ญ เดือน 12 หรือวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 อันเป็นวันพระจันทร์เต็มดวง และเป็นช่วงที่น้ำเต็มตลิ่ง โดยจะมีการนำดอกไม้ ธูป เทียนหรือสิ่งของใส่ลงในสิ่งประดิษฐ์รูปแบบต่างๆที่ไม่จมน้ำ เช่น กระทง เรือ แพ ดอกบัว ฯลฯ แล้วนำไปลอยตามลำน้ำ โดยมีวัตถุประสงค์ และความเชื่อต่างๆกัน สำหรับในปีนี้วันลอยกระทงตรงกับวันจันทร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2552 ประเพณีลอยกระทง มิได้มีแต่ในประเทศไทยเท่านั้น ในประเทศจีน อินเดีย เขมร ลาว และพม่าก็มีการลอยกระทงคล้ายๆกับบ้านเรา จะต่างกันบ้างก็คงเป็นเรื่องรายละเอียด พิธีกรรม และความเชื่อในแต่ละท้องถิ่น แม้แต่ในบ้านเราเอง การลอยกระทงก็มาจากความเชื่อที่หลากหลายเช่นกันการลอยกระทง เป็นประเพณีที่มีมาแต่โบราณ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าปฏิบัติกันมาแต่เมื่อไร เพียงแต่ท้องถิ่นแต่ละแห่งก็จะมีจุดประสงค์และความเชื่อในการลอยกระทงแตก ต่างกันไป เช่น ในเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ก็จะเป็นการบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นการบูชารอยพระพุทธบาท ณ หาดทรายริมฝั่งแม่น้ำนัมมทา ซึ่งปัจจุบันคือแม่น้ำเนรพุททาในอินเดีย หรือต้อนรับพระพุทธเจ้าในวันเสด็จกลับจากเทวโลกเมื่อครั้งไปโปรดพระพุทธ มารดา นอกจากนี้ ก็ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อบูชาพระอุปคุตเถระที่บำเพ็ญบริกรรมคาถาในท้องทะเล ลึกหรือสะดือทะเล บางแห่งก็ลอยกระทงเพื่อบูชาเทพเจ้าตามความเชื่อของตน บางแห่งก็เพื่อแสดงความขอบคุณพระแม่คงคาซึ่งเป็นแหล่งน้ำให้มนุษย์ได้ใช้ ประโยชน์ต่างๆ รวมทั้งขอขมาที่ได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลลงไป ส่วนบางท้องที่ก็จะทำเพื่อระลึกถึงบรรพบุรุษที่ล่วงลับ หรือเพื่อสะเดาะเคราะห์ ลอยทุกข์โศกโรคภัยต่างๆ และส่วนใหญ่ก็จะอธิษฐานขอสิ่งที่ตนปรารถนาไปด้วย  อ้างอิง  http://board.palungjit.com/f2/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B2-%E2%80%9C%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%87%E2%80%9D-211669.html http://www.lannaworld.com/believe/lannabelieve.htm http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0... http://horoscope.thaiza.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%8...

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 437 คน กำลังออนไลน์