• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:95c3c1f51eb4aac24252512bc5c3068e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\">รายงาน</span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #ff00ff\">  </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\">วิชา</span></span> </span><span style=\"color: #008000\">ประวัติศาสตร์</span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #ff00ff\">  </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff0000\">เรื่อง</span> </span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff9900\">ภูมิปัญญาไทยทางด้านความเชื่อทางศาสนา</span></span></span></span></span><span style=\"color: #ff9900\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\">                                       </span><span style=\"color: #ff00ff\"></span><span style=\"color: #ff00ff\"></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">เสนอ </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> <span style=\"color: #0000ff\">                                                                </span><span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #0000ff\">อาจารย์</span> วัชรี กมลเสรีรัตน์</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\">จัดทำโดย</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">นางสาว ศิรพร  เหมือนศรีชัย  ม.4/3 เลขที่ 2</span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\"> </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 54pt; text-indent: -18pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpFirst\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #ff9900\">                                <span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">         </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">นางสาว พรรณชิตา เกิดเมืองบัว  ม.4/3 เลขที่ 8</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                  นางสาว รัตติกาล   ประจำถิ่น    ม.4/3  เลขที่ 18</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                   นางสาว  วนิดา  วงษ์งาม           ม.4/3  เลขที่  34</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                                                            โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน์ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">                               </span><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><u>คำนำ</u></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ffff\">                </span><span style=\"color: #ff0000\">รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ โดยมีเนื่อเรื่องเกี่ยวกับภูมิปัญญาและด้านความเชื่อางศาสนาเกี่นวข้องเข้ามาด้วย หากว่ารายงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                  </span></span></span><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpFirst\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><u><span style=\"color: #ff6600\">สารบัญ</span></u></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #0000ff\">  </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpMiddle\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\">ภูมิปัญญาไทย </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpMiddle\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><u><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #0000ff\"><span class=\"mw-headline\"><u><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\"></span></span></u></span></span></span></span></u></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpMiddle\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><u><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #0000ff\"><span class=\"mw-headline\"><u><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\">ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาไทย</span></span></u></span> </span></span></span></u></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpMiddle\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><u><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></u></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #0000ff\"><span class=\"mw-headline\">คุณค่าของภูมิปัญญาไทย</span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #0000ff\"><u></u><u></u></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\nประเพณีลอยกระทง\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpMiddle\">\n<span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #0000ff\">   <span style=\"color: #800080\"><b>ภูมิปัญญาไทย</b> ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Wisdom หมายถึง ความรู้ความสามารถ วิธีการผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม และจัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์ สามารถนำมาแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตได้แต่ละหมู่บ้าน แต่ละชุมชนไทย ล้วนมีการทำมาหากินที่สอดคล้องกับภูมิประเทศ มีผู้นำที่มีความรู้ มีฝีมือทางช่าง สามารถคิดประดิษฐ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาของชาวบ้านได้ ผู้นำเหล่านี้ เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ทรงภูมิปัญญาไทย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<a href=\"http://null/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:Pp1.jpg\" title=\"ภาพ:Pp1.jpg\" class=\"image\"></a>\n\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\">                             <span class=\"mw-headline\">ลักษณะของภูมิปัญญาไทย</span></span><span style=\"color: #0000ff\"> </span><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p>\n1. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความรู้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม\n</p>\n<p>\n2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ\n</p>\n<p>\n3. ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิตของคน\n</p>\n<p>\n4. ภูมิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม\n</p>\n<p>\n5. ภูมิปัญญาไทยเป็นพื้นฐานสำคัญในการมองชีวิต เป็นพื้นฐานความรู้ในเรื่องต่างๆ\n</p>\n<p>\n6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง\n</p>\n<p>\n7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n  <span style=\"color: #0000ff\"> <strong>ทางด้านการสร้างความภาคภูมิใจและศักดิ์ศรี เกียรติภูมิแก่คนไทย</strong> </span><span style=\"color: #0000ff\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n        คนไทยในอดีตที่มีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นที่ยอมรับของนานาอารยประเทศ เช่น นายขนมต้มเป็นนักมวยไทยที่มีฝีมือเก่งในการใช้อวัยวะทุกส่วน ทุกท่าของแม้ไม้มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม้ในปัจจุบันมวยไทยก็ยังถือว่า เป็นศิลปะชั้นเยี่ยม เป็นที่นิยมฝึก และแข่งขันในหมู่คนไทยและชาวต่างประเทศ ปัจจุบันมีค่ายมวยไทยทั่วโลกไม่ต่ำกว่า 30,000 แห่ง ชาวต่างประเทศที่ได้ฝึกมวยไทยจะรู้สึกยินดีและภาคภูมิใจ ในการที่จะใช้กติกาของมวยไทย เช่น การไหว้ครูมวยไทย การออกคำสั่งในการชกเป็นภาษาไทยทุกคำ เช่น คำว่า &quot;ชก&quot; &quot;นับหนึ่งถึงสิบ&quot; เป็นต้น ถือเป็นมรดกภูมิปัญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิปัญญาไทยที่โดดเด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบัน วรรณกรรมไทยถือว่าเป็น วรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรม หลายเรื่องได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศหลายภาษา ด้านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารที่ปรุงง่าย พืชที่ใช้ประกอบอาหารส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นและราคาถูก มีคุณค่าทางโภชนาการ และยังป้องกันโรคได้หลายโรค เพราะส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบมะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นต้น\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n                                                      \n</p>\n<p>\n                                                            ประเพณีลอยกระทง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า <strong><span style=\"color: #800080\">&quot;พิธีจองเปรียญ&quot; หรือ &quot;การลอยพระประทีป&quot;</span></strong> และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟว่าเป็นงานรื่นเริงที่ใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทำให้เชื่อกันว่างานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน </span></p>\n<p>          </p></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นำพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของพระพุทธเจ้า <br />\n</strong><br />\n          <strong><span style=\"color: #800080\">ก่อนที่นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วงจะคิดค้นประดิษฐ์กระทงดอกบัวขึ้นเป็นคนแรกแทนการลอยโคม</span></strong> ดังปรากฎในหนังสือนางนพมาศที่ว่า \n<p>          <span style=\"color: #000080\">&quot;ครั้นวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทำโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกำนัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสีต่าง ๆ มาประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซ้อนสีสลับให้ป็นลวดลาย...&quot;</span> </p>\n<p>          เมื่อสมเด็จพระร่วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็นเยี่ยงอย่าง และให้จัดประเพณีลอยกระทงขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดำรัสที่ว่า <span style=\"color: #000080\">&quot;ตั้งแต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศถึงกาลกำหนดนักขัตตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน&quot;</span> พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรูปแบบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา <br />\n</p></span>\n\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 54pt; text-indent: -18pt\" class=\"MsoListParagraphCxSpMiddle\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716267696, expire = 1716354096, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:95c3c1f51eb4aac24252512bc5c3068e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมิปัญญาไทยกับความเชื่อทางด้านศาสนา

รายงาน

 

วิชา ประวัติศาสตร์

 

เรื่อง ภูมิปัญญาไทยทางด้านความเชื่อทางศาสนา

                                      

เสนอ

                                                                

อาจารย์ วัชรี กมลเสรีรัตน์

 

จัดทำโดย

 นางสาว ศิรพร  เหมือนศรีชัย  ม.4/3 เลขที่ 2

                                         นางสาว พรรณชิตา เกิดเมืองบัว  ม.4/3 เลขที่ 8

                                                  นางสาว รัตติกาล   ประจำถิ่น    ม.4/3  เลขที่ 18

                                                   นางสาว  วนิดา  วงษ์งาม           ม.4/3  เลขที่  34

                                                            โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน์


 

                               คำนำ 

                รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ โดยมีเนื่อเรื่องเกี่ยวกับภูมิปัญญาและด้านความเชื่อางศาสนาเกี่นวข้องเข้ามาด้วย หากว่ารายงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


 

                  

สารบัญ

 

ภูมิปัญญาไทย

ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาไทย

คุณค่าของภูมิปัญญาไทย

ประเพณีลอยกระทง


 

 

   ภูมิปัญญาไทย ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Wisdom หมายถึง ความรู้ความสามารถ วิธีการผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม และจัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์ สามารถนำมาแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตได้แต่ละหมู่บ้าน แต่ละชุมชนไทย ล้วนมีการทำมาหากินที่สอดคล้องกับภูมิประเทศ มีผู้นำที่มีความรู้ มีฝีมือทางช่าง สามารถคิดประดิษฐ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาของชาวบ้านได้ ผู้นำเหล่านี้ เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ทรงภูมิปัญญาไทย


 

                             ลักษณะของภูมิปัญญาไทย

1. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความรู้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม

2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ

3. ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิตของคน

4. ภูมิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม

5. ภูมิปัญญาไทยเป็นพื้นฐานสำคัญในการมองชีวิต เป็นพื้นฐานความรู้ในเรื่องต่างๆ

6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง

7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม


   ทางด้านการสร้างความภาคภูมิใจและศักดิ์ศรี เกียรติภูมิแก่คนไทย

 

        คนไทยในอดีตที่มีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นที่ยอมรับของนานาอารยประเทศ เช่น นายขนมต้มเป็นนักมวยไทยที่มีฝีมือเก่งในการใช้อวัยวะทุกส่วน ทุกท่าของแม้ไม้มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม้ในปัจจุบันมวยไทยก็ยังถือว่า เป็นศิลปะชั้นเยี่ยม เป็นที่นิยมฝึก และแข่งขันในหมู่คนไทยและชาวต่างประเทศ ปัจจุบันมีค่ายมวยไทยทั่วโลกไม่ต่ำกว่า 30,000 แห่ง ชาวต่างประเทศที่ได้ฝึกมวยไทยจะรู้สึกยินดีและภาคภูมิใจ ในการที่จะใช้กติกาของมวยไทย เช่น การไหว้ครูมวยไทย การออกคำสั่งในการชกเป็นภาษาไทยทุกคำ เช่น คำว่า "ชก" "นับหนึ่งถึงสิบ" เป็นต้น ถือเป็นมรดกภูมิปัญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิปัญญาไทยที่โดดเด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการมาจนถึงปัจจุบัน วรรณกรรมไทยถือว่าเป็น วรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรม หลายเรื่องได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศหลายภาษา ด้านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารที่ปรุงง่าย พืชที่ใช้ประกอบอาหารส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นและราคาถูก มีคุณค่าทางโภชนาการ และยังป้องกันโรคได้หลายโรค เพราะส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบมะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นต้น


                                                      

                                                            ประเพณีลอยกระทง

ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า "พิธีจองเปรียญ" หรือ "การลอยพระประทีป" และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟว่าเป็นงานรื่นเริงที่ใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทำให้เชื่อกันว่างานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน

         

ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นำพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของพระพุทธเจ้า

          ก่อนที่นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วงจะคิดค้นประดิษฐ์กระทงดอกบัวขึ้นเป็นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฎในหนังสือนางนพมาศที่ว่า

          "ครั้นวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทำโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกำนัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสีต่าง ๆ มาประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซ้อนสีสลับให้ป็นลวดลาย..."

          เมื่อสมเด็จพระร่วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็นเยี่ยงอย่าง และให้จัดประเพณีลอยกระทงขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดำรัสที่ว่า "ตั้งแต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศถึงกาลกำหนดนักขัตตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน" พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรูปแบบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 394 คน กำลังออนไลน์