• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:25b48de683bceda54658428969faac76' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์</strong>\n</p>\n<p>\nโดยหลักการแล้ว ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่ทำงานตามหน้าที่ 4 ส่วนด้วยกัน คือ<br />\n1.) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)<br />\n2.) ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)<br />\n3.) ส่วนแสดงผล (Output Unit)<br />\n4.) หน่วยความจำ (Memory Unit)\n</p>\n<div class=\"headbox\">\n</div>\n<div class=\"headbox\">\n</div>\n<div class=\"headbox\">\n    ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผล(Process Unit) เพื่อทำการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัสดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเอง อุปกรณ์ส่วนรับข้อมูล <br />\n    ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่รับมาจาก ส่วนรับข้อมูล(Input Unit) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ อีกทั้งยังทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์\n</div>\n<div class=\"headbox\">\n    หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วนประมวลผลข้อมูล โดยปกติรูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบ ด้วยกันคือ แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ และแบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้\n</div>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <u><a href=\"http://computer.kapook.com/component.php\">http://computer.kapook.com/component.php</a></u><u><a href=\"http://computer.kapook.com/component.php\"></a></u></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>ส่วนประกอบพื้นฐานคอมพิวเตอร์</strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/CDDrive.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>CD-ROM / CD-RW / DVD </strong>\n<p>\n ไดรฟ์สำหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม (CD-RW) ซีดีเพลง (Audio CD) โฟโต้ซีดี (Photo CD) วิดีโอซีดี (Video CD) โดยไดรฟ์ทั้งสามประเภทจะมีความสามารถในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีที่กล่าวมาข้างต้นอยู่แล้ว แต่ถ้าหากคุณต้องการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีได้ด้วย จะต้องเลือกใช้ไดรฟ์ CD-RW และถ้าต้องการอ่านข้อมูลจากแผ่น DVD ก็ต้องใช้ไดรฟ์ DVD นอกจากนี้ยังมีไดรฟ์อีกแบบหนึ่งที่เรียกว่า Combo Drive คือเป็นไดรฟ์ที่รวมทั้งไดรฟ์ DVD และไดรฟ์ CD-RW อยู่ในไดรฟ์เดียว ทำให้ทั้งดูหนังฟังเพลง บันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีได้เลย ความเร็วของไดรฟ์ซีดีรอมจะเรียกเป็น X เช่น 8X, 40X, 50X ยิ่งมากก็คือยิ่งเร็ว ส่วน CD-RW นั้นจะมีตัวเลขแสดง เช่นเดียวกัน เพียงแต่จะเพิ่มความเร็วในการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดี เช่น 24/10/40X นั่นคือความเร็วในการบันทึกแผ่น CD-R สูงสุด ความเร็วในการบันทึกข้อมูลลงแผ่น CD-RW และความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีโปรแกรม หรือซีดี เพลง\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : </strong><a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/CD-ROM.htm\"><strong>http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/CD-ROM.htm</strong></a><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/Harddisk.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>HARD DISK</strong> \n<p>\n อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ซึ่งไม่มีความแตกต่างจากเทปเพลงที่ใช้กับเครื่องเสียง คือใช้แม่เหล็กสำหรับจัดเก็บข้อมูล โปรแกรม ทุกโปรแกรม เกมส์สนุกๆ ที่คุณเล่น งานที่คุณพิมพ์ ต่างก็ต้องใช้ฮาร์ดดิสก์ในการจัดเก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์จะมีอินเทอร์เฟส สองชนิดด้วยกันคือ 1. แบบ IDE และ 2. SCSI (ออกเสียงว่า สกัซซี่) ฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะได้รับความนิยมมากกว่า เนื่องจากราคาถูก ส่วนฮาร์ดดิสก์แบบ SCSI นั้นมีความเร็วในการรับส่ง ข้อมูลสูง ส่วนใหญ่จะใช้กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์หรือเครื่องที่ต้องอ่านเขียนข้อมูลบ่อยๆ แต่ก็มีข้อเสียคือราคาแพง สำหรับฮาร์ดดิสก์การเลือกซื้อจะดูที่ความจุของฮาร์ดดิสก์ และก็ความเร็วในการหมุน (ทำให้ค้นหาข้อมูลได้เร็ว) เช่น ความจุ 120 GB ความเร็วรอบ 7200 rpm (รอบต่อนาที) ในรูปจะเห็นคอนเน็คเตอร์สำหรับต่อสายแพเข้ากับที่ฮาร์ดิสก์ไปที่เมนบอร์ด และช่องสำหรับต่อสายไฟจากพาวเวอร์ ซัพพลาย ส่วนรูปเล็กนั้นเป็นรูปภายในของฮาร์ดดิสก์\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : </strong> <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/HARD%20DISK.htm\"><strong>http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/HARD%20DISK.htm</strong></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/DiskDrive.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>DISK Drive </strong>\n<p>\n ไดรฟ์สำหรับอ่านและบันทึกข้อมูลจากแผ่นดิสก์ ซึ่งไดรฟ์ที่เห็นในรูปเป็นไดรฟ์ขนาด 3.5 นิ้ว คือใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นดิสก์ ขนาด 3.5 นิ้ว ด้านท้ายของไดรฟ์จะมีคอนเน็คเตอร์ สำหรับต่อสายไฟจากพาวเวอร์ซัพพลายเข้าที่ตัวไดรฟ์ และคอนเน็คเตอร์สำหรับต่อสายแพ (สายรับส่งข้อมูล) เข้ากับคอนเน็คเตอร์ FDD Connector บนเมนบอร์ด\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/DISK%20Drive.htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/DISK%20Drive.htm</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/cpu.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>Microprocessor / CPU (Central Processing Unit)</strong> \n<p>\n ไมโครโพรเซสเซอร์หรือที่เรียกกันติดปากว่าซีพียู ซึ่งเปรียบเสมือนกับเครื่องยนตร์ของรถยนตร์นั่นเอง ซีพียูที่ใช้ในเครื่อง คอมพิวเตอร์มีหลายรุ่นหลายยี่ห้อด้วยกัน เช่น AMD, Intel, PowerPC, Sparc, Cyrik แม้จะมีหลายรุ่นหลายยี่ห้อ แต่การทำงานนั้นเหมือนกัน คือซีพียูจะทำหน้าที่ในการคำนวณ การสั่งการงานชิ้นส่วนต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ ประสิทธิภาพของซีพียูจะใช้ความเร็วของสัญญาณนาฬิกา (Clock Speed) เป็นตัวบ่งบอก เช่น Pentium 4 1.6 กิกะเฮิร์ต Pentium 4 3.0 กิกะเฮิร์ต ซีพียูยิ่งมีสัญญาณนาฬิกาสูงการทำงานก็จะเร็วขึ้น ซีพียูที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันคือซีพียูจากบริษัท Intel ซึ่งมีซีพียูตระกูล Pentium กับ Celeron และซีพียูจากบริษัท AMD ในตระกูล AMD Athlon XP, AMD Duron โดยที่ซีพียูจากสองบริษัทก็จะมีหลายรุ่น และแบ่งแยกออกไปเป็น ซีพียูสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Mobile CPU) ซีพียูสำหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/cpu.htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/cpu.htm</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/Mainboard.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>Mainboard / Motherboard </strong>\n<p>\n เมนบอร์ดหรือแผงวงจรหลักที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ การจะให้อุปกรณ์ต่างๆ ทำงานได้นั้น ต้องติดตั้งหรือเชื่อมต่อ สายเข้ากับเมนบอร์ด แม้แต่ซีพียูก็ต้องติดตั้งเข้ากับเมนบอร์ด เมนบอร์ดถูกผลิตออกมาเพื่อใช้กับซีพียูต่างรุ่นต่างแบบ และยัง มีผู้ผลิตหลายรายด้วยกัน เช่น ASUS, ECS, GIGABYTE, CHAINTECH, MSI, ABIT, INTEL เป็นต้น เนื่องจากเมนบอร์ดมีจุดที่จะต้องต่อพ่วงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าไป ดังนั้นจึงต้องดูรายละเอียดที่สำคัญๆ บนเมนบอร์ด ซึ่งแยกเป็น หัวข้อตามรายเมนูด้านล่าง เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Mainboard.htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Mainboard.htm</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/Ram.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>RAM (Random Access Memory) </strong>\n<p>\n หน่วยความจำแรม หน่วยความจำชนิดนี้จะบันทึกและอ่านข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้า แล้วต้องมีกระแสไฟจ่ายให้ตลอดเวลา ถ้าปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมก็จะหายไปด้วย แรมจะถูกนำมาใช้ในการรับส่งข้อมูลระหว่างซีพียูกับฮาร์ดดิสก์ หรืออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดอื่น หากมีข้อมูลที่ซีพียูจำเป็นต้องใช้งานบ่อยๆ ข้อมูลจะถูกส่งไปเก็บไว้ที่แรมก่อน เพื่อให้ซีพียูเอาข้อมูลมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากแรมรับส่งข้อมูลได้เร็วกว่าฮาร์ดดิสก์นั่นเอง แรมยังมีหลายประเภทด้วยกัน เช่น DRAM, DDRRAM, SDRAM, RDRAM, FlashRAM, VRAM เป็นต้น การเลือกซื้อแรมนั้นต้องดูว่าเมนบอร์ดรุ่นที่ต้องการซื้อหรือที่มีอยู่ มีซ็อคเก็ตสำหรับติดตั้งแรมแบบไหน เช่น เมนบอร์ดยี่ห้อ MSI รุ่น MS6373 มีสล็อตแรมแบบ 3DDR DIMM ก็คือมีซ็อคเก็ตสำหรับติดตั้งแรมได้สามชิ้น โดยแรมที่ใช้กับเมนบอร์ดนี้ต้องเป็นแรมแบบ DDR\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/RAM%20(Random%20Access%20Memory).htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/RAM%20%28Random%20Access%20Memory%29.htm</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p><table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/Case.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>CASE</strong></td></tr></tbody></table></p>\n<p> <span style=\"font-size: small; color: #000000\">เคสหรือตัวถัง หลายคนจะเรียกว่าซีพียูเนื่องจากเข้าใจผิด สำหรับเคสนั้นเป็นเพียงวัสดุที่ทำเพื่อให้เราสามารถติดตั้ง อุปกรณ์ต่างๆ ประกอบกันได้เป็นระเบียบ แล้วก็ช่วยป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ด้วย ภายในเคสก็จะมีพื้นท ี่สำหรับติดตั้งเมนบอร์ด ติดตั้งฮาร์ดดิสก์ ติดตั้งซีดีรอม มีพัดลมระบายความร้อน และที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคสเรียบร้อย เคสคอมพิวเตอร์ควรเลือกที่รูปทรงสูงๆ เพื่อจะได้ติดตั้งอุปกรณ์ได้ง่าย และควรเลือกเคสที่มีช่องสำหรับติดตั้งฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ เผื่อเอาไว้หลายๆ ช่อง ในกรณีที่ต้องการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมในภายหลังจะได้ง่ายขึ้น</span>\n\n\n\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/CASE.htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/CASE.htm</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/Mouse.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>Mouse </strong>\n<p>\n อุปกรณ์ประเภท Pointing Device ทำให้คุณสั่งงานคอมพิวเตอร์ ด้วยการชี้และกดเลือกคำสั่งที่ต้องการได้ง่ายกว่า การใช้แป้นพิมพ์ และเม้าส์ยังใช้กับการวาดภาพ เล่นเกม ได้อีกด้วย เม้าส์จะมีให้เลือกใช้งานหลายแบบหลายราคา หลายยี่ห้อ ตั้งแต่ราคาไม่กี่ร้อยจนถึงหลักพัน โดยเม้าส์จะมีแบบที่เชื่อมต่อแบบ PS/2 (ปลายสายจะมีขั้วต่อแบบกลมเล็ก มีเข็มหกอัน ข้างใน) หรือจะเป็นเม้าส์แบบ USB ที่มีขั้วต่อเป็นทรงสี่เหลี่ยมแบนๆ\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Mouse.htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Mouse.htm</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/Keyboard.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>Keyboard </strong>\n<p>\n แป้นพิมพ์ การพิมพ์ข้อความ การสั่งงานคอมพิวเตอร์และการทำงานหลายๆ อย่างต้องใช้แป้นพิมพ์เป็นหลัก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดจะต่อสายเข้ากับพอร์ต PS/2 ของเมนบอร์ด นอกจากนี้ยังมีคีย์บอร์ดที่เป็นแบบ USB คือต้องต่อเข้าที่พอร์ต USB ของเมนบอร์ด และยังมีคีย์บอร์ดไร้สายอีกด้วย\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Keyboard.htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Keyboard.htm</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#ff99ff\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <img width=\"400\" src=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/picture/Monitor.jpg\" height=\"260\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td><strong>Monitor </strong>\n<p>\n เรียกว่าจอภาพ หรือจะเรียกทับศัพท์ว่ามอนิเตอร์ก็ไม่ผิดกติกา ที่ด้านหลังของจอจะมีสายเอาไว้ต่อเข้ากับ การ์ดจอ จอภาพก็มีขนาดให้เลือกใช้งานเช่นเดียวกับจอทีวี เริ่มตั้งแต่เล็กๆ 15 นิ้ว 17, 19, 20, 21, 24 มีทั้งแบบจอแบบ CRT หรือจะเล่นจอแอลซีดีที่มีดีไซน์หรู บางเฉียบ จอที่น่าสนใจก็เป็นขนาด 17 นิ้ว เนื่องจากราคาไม่ต่างจากจอขนาด 15 นิ้วมากนัก ที่สำคัญก็คือช่วยให้คุณทำงานได้สะดวก ขึ้น เพราะโปรแกรม เกม ส่วนใหญ่มีเครื่องมือเยอะ ทำให้การแสดงผลบนจอ 15 นิ้วเกะกะจนแทบไม่เหลือหน้าจอสำหรับ ทำงาน ข้อควรจำอีกอย่างก็คือ ภาพบนหน้าจอคอมพิวเตอร์สามารถตั้งค่าให้แสดงขนาดเล็กลงหรือใหญ่ขึ้นได้ เรียกว่าการตั้งค่า Resolution \n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000000\">Credit Link By : <a href=\"http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Monitor.htm\">http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Monitor.htm</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000000\"><u></u></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000000\"><u>หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์</u> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000000\"> คอมพิวเตอร์ คือ<br />\n          อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ที่ทำงานตามชุดคำสั่งอย่างอัตโนมัติและให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ  ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ รวมเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware)<br />\nการทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย คือ <br />\nหน่วยรับข้อมูล (Input Unit) <br />\nหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) <br />\nหน่วยความจำหลัก (Main Memory) <br />\nหน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory) <br />\nหน่วยแสดงผล (Output Unit) <br />\n          กลไกการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่เกิดจากองค์ประกอบต่างๆ  เริ่มด้วยเมื่อมีการกดปุ่มเครื่องคอมพิวเตอร์  โปรแกรมหรือชุึดคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำหลัก  จะทำการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมที่จะทำงาน  เมื่อตรวจสอบเสร็จคอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นว่าพร้อมที่จะทำงาน  ก็จะมีการป้อนคำสั่งหรือโปรแกรมหรือข้อมูลโดยผ่านหน่วยรับข้อมูล  แล้วนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก  ต่อจากนั้น หน่วยประมวลผลกลางก็จะทำการตามคำสั่งของโปรแกรมซึ่งเรียกว่า  การประมวลผล  แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ที่ หน่วยความจำ  และจะแสดงผลลัพธ์ผ่านหน่วยแสดงผลเมื่อมีคำสั่งให้แสดงผลลัพธ์ <br />\n หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)<br />\n หน่วยรับข้อมูล คือ<br />\n          เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยแปลงข้อมูลหรือคำสั่งนั้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำการประมวลผลต่อไป <br />\n             <br />\nหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)<br />\n                                             <br />\nหน่วยประมวลผลกลาง คือ<br />\n          ส่วนที่ทำหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล และควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์<br />\nหน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ<br />\nหน่วยควบคุม (Control Unit) <br />\nทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบทั้งหมด ให้ทำงานอย่างถูกต้อง<br />\nหน่วยคำนวณ (Arithmetic Logic Unit) ทำ หน้าที่ประมวลผลข้อมูลทางคณิตศาสตร์และทางตรรกะ เช่น <br />\n          -   การคำนวณทางคณิตศาสตร์  ได้แก่  การบวก ลบ คูณ หาร<br />\n          -   การกระทำทางตรรกะ (AND , OR) <br />\n        -   การเปรียบเทียบ  เช่น การเปรียบเทียบค่าของข้อมูล 2 ตัวว่ามีค่าเท่ากัน  มากกว่า  หรือน้อยกว่า  ไม่ว่าข้อมูลจะเป็นตัวเลข หรือตัวอักษรก้สามารถเปรียบเทียบได้<br />\n        -   การเลื่อนข้อมูล (Shift)<br />\n          -   การเพิ่มและการลด (Increment and Decrement)<br />\n          -   การตรวจสอบบิท (Test  Bit) <br />\n หน่วยความจำหลัก (Main Memory)<br />\n           หน่วยความจำหลัก  เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์  แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ <br />\n          1. รอม (ROM : Read Only Memory)  เป็นหน่วยความจำหลักที่<br />\n                    -  ใช้บรรจุโปรแกรมสำคัญ ที่ใช้ในการสตาร์ทอัพเครื่อง<br />\n                    -  เก็บโปรแกรมคำสั่งไว้อย่างถาวร<br />\n                    -  ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง ข้อมูลก็จะยังคงอยู่<br />\n                    -  เขียนหรือบันทึกข้อมูลคำสั่งได้เพียงครั้งเดียว ในขั้นตอนการผลิตเครื่องจากโรงงาน ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้อีก<br />\n                    -  อ่านข้อมูลได้อย่างเดียว และการเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม<br />\n          2. แรม (RAM : Random Access Memory)                                <br />\n                                                 <br />\n                    -  ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่รับเข้ามาจากหน่วยรับข้อมูล  เพื่อนำไปประมวลผล<br />\n                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้ขณะทำการประมวลผลซึ่งยังไม่ใช่ผลลัพธ์สุดท้าย  <br />\n                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้าย<br />\n                    -  ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งต่างๆ ขณะที่เรากำลังทำงานอยู่กับเครื่อง<br />\n                        เพื่อใช้ในการประมวลผล<br />\n                    -  เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ชั่วคราว สร้างขึ้นเพื่อผู้ใช้โดยตรง<br />\n                    -  สามารถอ่านหรือเขียนทับข้อมูลลงไปได้ตามต้องการ ถ้าไฟดับข้อมูลจะสูญหาย<br />\n                    -  การเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม<br />\n หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)<br />\n           หน่วยความจำสำรอง  เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล และโปรแกรมที่ต้องการใช้งานในคราวต่อไปได้   ซึ่งสามารถบรรจุข้อมูลและโปรแกรมได้เป็นจำนวนมาก <br />\nหน่วยแสดงผล (Output Unit)<br />\n หน่วยแสดงผล คือ<br />\n          อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล <br />\nการแสดงผลลัพธ์ แบ่งเป็น 2 แบบ<br />\nแสดงผลทางบนจอภาพ                           <br />\n        การแสดงผลทางจอภาพ เรียกได้อีกอย่างว่าเป็น Soft Copy คือ จะแสดงผลลัพธ์ขณะที่มีกระแสไฟฟ้าอยู่ อุปกรณ์คือ จอภาพคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งภาพบนจอประกอบด้วยจุดหรือ pixel หลายๆ pixel สามารถแสดงผลความละเอียดได้หลายระดับ เช่น 640 * 480 จุด , 800 * 600 จุด , 1024 * 786 จุด<br />\nแสดงผลทางเครื่องพิมพ์            <br />\n        การแสดงผลทางจอภาพ  หรือเรียกได้อีกอย่างว่าเป็น Hard Copy คือ สามารถแสดงผลลัพธ์คงทนอยู่นาน ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง อุปกรณ์ที่ใช้ คือ Printer </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>Credit Link By : </strong> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"http://www.punyisa.com/unit2/unit2_3-1.htm\">http://www.punyisa.com/unit2/unit2_3-1.htm</a></span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\">สรุป</span></strong>\n</p>\n<p>\n   <span style=\"color: #808000\"><strong>ทุกคนคงเห็นความสำคัญของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแล้วว่า มีความสำคัญต่อมนุษย์มากแค่ไหน</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>มันก่อให้เกิดความสะดวกหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็นด้านการงาน การหาข้อมูล เล่นเกมส์ ดูอินเตอร์เน็ต</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>เทคโนโลยีต่างๆที่เข้ามาในชีวิตเรา ส่วนมากจะมาจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็ถือได้ว่ามันเป็นตัวนำเทคโนโลยีใหม่ๆ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>มาให้เราได้รู้ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>   </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>   ไ</strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong>ม่ว่าที่ไหนๆ เดี๋ยวนี้ก็มีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้งานกันถ้วนหน้า เพื่อความสะดวกของตัวท่านเอง การใช้งานคอมพิวเตอร์ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>สามารถมีได้เกือบ</strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong>ทุกอาชีพ ที่ต้องการความสะดวกในการประกอบอาชีพ ในด้านการศึกษา ก็จะเป็นการหาข้อมูลเพิ่มเติม</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>   </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>   การใช้คอมพิวเตอร์มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งเราเองที่จะเป็นคนว่าจะเลือกใช้ในด้านไหน เราควรค้นคว้าหาประโยชน์ให้มาก</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><strong>ที่สุด แล้วเราจะรู้ว่าคอมพิวเตอร์นั้น สามารถ</strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong>สร้างเงินให้เรา</strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong>ได้มากทีเดียว </strong></span>\n</p>\n', created = 1718034937, expire = 1718121337, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:25b48de683bceda54658428969faac76' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และ หลักการทำงาน

รูปภาพของ pnp31530

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

โดยหลักการแล้ว ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่ทำงานตามหน้าที่ 4 ส่วนด้วยกัน คือ
1.) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
2.) ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
3.) ส่วนแสดงผล (Output Unit)
4.) หน่วยความจำ (Memory Unit)

    ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผล(Process Unit) เพื่อทำการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัสดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเอง อุปกรณ์ส่วนรับข้อมูล
    ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่รับมาจาก ส่วนรับข้อมูล(Input Unit) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ อีกทั้งยังทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
    หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วนประมวลผลข้อมูล โดยปกติรูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบ ด้วยกันคือ แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ และแบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้

Credit Link By : http://computer.kapook.com/component.php

 

ส่วนประกอบพื้นฐานคอมพิวเตอร์

CD-ROM / CD-RW / DVD

ไดรฟ์สำหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม (CD-RW) ซีดีเพลง (Audio CD) โฟโต้ซีดี (Photo CD) วิดีโอซีดี (Video CD) โดยไดรฟ์ทั้งสามประเภทจะมีความสามารถในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีที่กล่าวมาข้างต้นอยู่แล้ว แต่ถ้าหากคุณต้องการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีได้ด้วย จะต้องเลือกใช้ไดรฟ์ CD-RW และถ้าต้องการอ่านข้อมูลจากแผ่น DVD ก็ต้องใช้ไดรฟ์ DVD นอกจากนี้ยังมีไดรฟ์อีกแบบหนึ่งที่เรียกว่า Combo Drive คือเป็นไดรฟ์ที่รวมทั้งไดรฟ์ DVD และไดรฟ์ CD-RW อยู่ในไดรฟ์เดียว ทำให้ทั้งดูหนังฟังเพลง บันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีได้เลย ความเร็วของไดรฟ์ซีดีรอมจะเรียกเป็น X เช่น 8X, 40X, 50X ยิ่งมากก็คือยิ่งเร็ว ส่วน CD-RW นั้นจะมีตัวเลขแสดง เช่นเดียวกัน เพียงแต่จะเพิ่มความเร็วในการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดี เช่น 24/10/40X นั่นคือความเร็วในการบันทึกแผ่น CD-R สูงสุด ความเร็วในการบันทึกข้อมูลลงแผ่น CD-RW และความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีโปรแกรม หรือซีดี เพลง

 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/CD-ROM.htm

HARD DISK

อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ซึ่งไม่มีความแตกต่างจากเทปเพลงที่ใช้กับเครื่องเสียง คือใช้แม่เหล็กสำหรับจัดเก็บข้อมูล โปรแกรม ทุกโปรแกรม เกมส์สนุกๆ ที่คุณเล่น งานที่คุณพิมพ์ ต่างก็ต้องใช้ฮาร์ดดิสก์ในการจัดเก็บข้อมูล ฮาร์ดดิสก์จะมีอินเทอร์เฟส สองชนิดด้วยกันคือ 1. แบบ IDE และ 2. SCSI (ออกเสียงว่า สกัซซี่) ฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะได้รับความนิยมมากกว่า เนื่องจากราคาถูก ส่วนฮาร์ดดิสก์แบบ SCSI นั้นมีความเร็วในการรับส่ง ข้อมูลสูง ส่วนใหญ่จะใช้กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์หรือเครื่องที่ต้องอ่านเขียนข้อมูลบ่อยๆ แต่ก็มีข้อเสียคือราคาแพง สำหรับฮาร์ดดิสก์การเลือกซื้อจะดูที่ความจุของฮาร์ดดิสก์ และก็ความเร็วในการหมุน (ทำให้ค้นหาข้อมูลได้เร็ว) เช่น ความจุ 120 GB ความเร็วรอบ 7200 rpm (รอบต่อนาที) ในรูปจะเห็นคอนเน็คเตอร์สำหรับต่อสายแพเข้ากับที่ฮาร์ดิสก์ไปที่เมนบอร์ด และช่องสำหรับต่อสายไฟจากพาวเวอร์ ซัพพลาย ส่วนรูปเล็กนั้นเป็นรูปภายในของฮาร์ดดิสก์

 

Credit Link By :  http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/HARD%20DISK.htm

 

DISK Drive

ไดรฟ์สำหรับอ่านและบันทึกข้อมูลจากแผ่นดิสก์ ซึ่งไดรฟ์ที่เห็นในรูปเป็นไดรฟ์ขนาด 3.5 นิ้ว คือใช้อ่านข้อมูลจากแผ่นดิสก์ ขนาด 3.5 นิ้ว ด้านท้ายของไดรฟ์จะมีคอนเน็คเตอร์ สำหรับต่อสายไฟจากพาวเวอร์ซัพพลายเข้าที่ตัวไดรฟ์ และคอนเน็คเตอร์สำหรับต่อสายแพ (สายรับส่งข้อมูล) เข้ากับคอนเน็คเตอร์ FDD Connector บนเมนบอร์ด

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/DISK%20Drive.htm

Microprocessor / CPU (Central Processing Unit)

ไมโครโพรเซสเซอร์หรือที่เรียกกันติดปากว่าซีพียู ซึ่งเปรียบเสมือนกับเครื่องยนตร์ของรถยนตร์นั่นเอง ซีพียูที่ใช้ในเครื่อง คอมพิวเตอร์มีหลายรุ่นหลายยี่ห้อด้วยกัน เช่น AMD, Intel, PowerPC, Sparc, Cyrik แม้จะมีหลายรุ่นหลายยี่ห้อ แต่การทำงานนั้นเหมือนกัน คือซีพียูจะทำหน้าที่ในการคำนวณ การสั่งการงานชิ้นส่วนต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ ประสิทธิภาพของซีพียูจะใช้ความเร็วของสัญญาณนาฬิกา (Clock Speed) เป็นตัวบ่งบอก เช่น Pentium 4 1.6 กิกะเฮิร์ต Pentium 4 3.0 กิกะเฮิร์ต ซีพียูยิ่งมีสัญญาณนาฬิกาสูงการทำงานก็จะเร็วขึ้น ซีพียูที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันคือซีพียูจากบริษัท Intel ซึ่งมีซีพียูตระกูล Pentium กับ Celeron และซีพียูจากบริษัท AMD ในตระกูล AMD Athlon XP, AMD Duron โดยที่ซีพียูจากสองบริษัทก็จะมีหลายรุ่น และแบ่งแยกออกไปเป็น ซีพียูสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Mobile CPU) ซีพียูสำหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น

 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/cpu.htm

Mainboard / Motherboard

เมนบอร์ดหรือแผงวงจรหลักที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ การจะให้อุปกรณ์ต่างๆ ทำงานได้นั้น ต้องติดตั้งหรือเชื่อมต่อ สายเข้ากับเมนบอร์ด แม้แต่ซีพียูก็ต้องติดตั้งเข้ากับเมนบอร์ด เมนบอร์ดถูกผลิตออกมาเพื่อใช้กับซีพียูต่างรุ่นต่างแบบ และยัง มีผู้ผลิตหลายรายด้วยกัน เช่น ASUS, ECS, GIGABYTE, CHAINTECH, MSI, ABIT, INTEL เป็นต้น เนื่องจากเมนบอร์ดมีจุดที่จะต้องต่อพ่วงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าไป ดังนั้นจึงต้องดูรายละเอียดที่สำคัญๆ บนเมนบอร์ด ซึ่งแยกเป็น หัวข้อตามรายเมนูด้านล่าง เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Mainboard.htm

RAM (Random Access Memory)

หน่วยความจำแรม หน่วยความจำชนิดนี้จะบันทึกและอ่านข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้า แล้วต้องมีกระแสไฟจ่ายให้ตลอดเวลา ถ้าปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมก็จะหายไปด้วย แรมจะถูกนำมาใช้ในการรับส่งข้อมูลระหว่างซีพียูกับฮาร์ดดิสก์ หรืออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดอื่น หากมีข้อมูลที่ซีพียูจำเป็นต้องใช้งานบ่อยๆ ข้อมูลจะถูกส่งไปเก็บไว้ที่แรมก่อน เพื่อให้ซีพียูเอาข้อมูลมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากแรมรับส่งข้อมูลได้เร็วกว่าฮาร์ดดิสก์นั่นเอง แรมยังมีหลายประเภทด้วยกัน เช่น DRAM, DDRRAM, SDRAM, RDRAM, FlashRAM, VRAM เป็นต้น การเลือกซื้อแรมนั้นต้องดูว่าเมนบอร์ดรุ่นที่ต้องการซื้อหรือที่มีอยู่ มีซ็อคเก็ตสำหรับติดตั้งแรมแบบไหน เช่น เมนบอร์ดยี่ห้อ MSI รุ่น MS6373 มีสล็อตแรมแบบ 3DDR DIMM ก็คือมีซ็อคเก็ตสำหรับติดตั้งแรมได้สามชิ้น โดยแรมที่ใช้กับเมนบอร์ดนี้ต้องเป็นแรมแบบ DDR

 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/RAM%20%28Random%20Access%20Memory%29.htm

CASE

เคสหรือตัวถัง หลายคนจะเรียกว่าซีพียูเนื่องจากเข้าใจผิด สำหรับเคสนั้นเป็นเพียงวัสดุที่ทำเพื่อให้เราสามารถติดตั้ง อุปกรณ์ต่างๆ ประกอบกันได้เป็นระเบียบ แล้วก็ช่วยป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ด้วย ภายในเคสก็จะมีพื้นท ี่สำหรับติดตั้งเมนบอร์ด ติดตั้งฮาร์ดดิสก์ ติดตั้งซีดีรอม มีพัดลมระบายความร้อน และที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคสเรียบร้อย เคสคอมพิวเตอร์ควรเลือกที่รูปทรงสูงๆ เพื่อจะได้ติดตั้งอุปกรณ์ได้ง่าย และควรเลือกเคสที่มีช่องสำหรับติดตั้งฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ เผื่อเอาไว้หลายๆ ช่อง ในกรณีที่ต้องการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมในภายหลังจะได้ง่ายขึ้น

 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/CASE.htm

Mouse

อุปกรณ์ประเภท Pointing Device ทำให้คุณสั่งงานคอมพิวเตอร์ ด้วยการชี้และกดเลือกคำสั่งที่ต้องการได้ง่ายกว่า การใช้แป้นพิมพ์ และเม้าส์ยังใช้กับการวาดภาพ เล่นเกม ได้อีกด้วย เม้าส์จะมีให้เลือกใช้งานหลายแบบหลายราคา หลายยี่ห้อ ตั้งแต่ราคาไม่กี่ร้อยจนถึงหลักพัน โดยเม้าส์จะมีแบบที่เชื่อมต่อแบบ PS/2 (ปลายสายจะมีขั้วต่อแบบกลมเล็ก มีเข็มหกอัน ข้างใน) หรือจะเป็นเม้าส์แบบ USB ที่มีขั้วต่อเป็นทรงสี่เหลี่ยมแบนๆ

 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Mouse.htm

Keyboard

แป้นพิมพ์ การพิมพ์ข้อความ การสั่งงานคอมพิวเตอร์และการทำงานหลายๆ อย่างต้องใช้แป้นพิมพ์เป็นหลัก แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดจะต่อสายเข้ากับพอร์ต PS/2 ของเมนบอร์ด นอกจากนี้ยังมีคีย์บอร์ดที่เป็นแบบ USB คือต้องต่อเข้าที่พอร์ต USB ของเมนบอร์ด และยังมีคีย์บอร์ดไร้สายอีกด้วย

 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Keyboard.htm

Monitor

เรียกว่าจอภาพ หรือจะเรียกทับศัพท์ว่ามอนิเตอร์ก็ไม่ผิดกติกา ที่ด้านหลังของจอจะมีสายเอาไว้ต่อเข้ากับ การ์ดจอ จอภาพก็มีขนาดให้เลือกใช้งานเช่นเดียวกับจอทีวี เริ่มตั้งแต่เล็กๆ 15 นิ้ว 17, 19, 20, 21, 24 มีทั้งแบบจอแบบ CRT หรือจะเล่นจอแอลซีดีที่มีดีไซน์หรู บางเฉียบ จอที่น่าสนใจก็เป็นขนาด 17 นิ้ว เนื่องจากราคาไม่ต่างจากจอขนาด 15 นิ้วมากนัก ที่สำคัญก็คือช่วยให้คุณทำงานได้สะดวก ขึ้น เพราะโปรแกรม เกม ส่วนใหญ่มีเครื่องมือเยอะ ทำให้การแสดงผลบนจอ 15 นิ้วเกะกะจนแทบไม่เหลือหน้าจอสำหรับ ทำงาน ข้อควรจำอีกอย่างก็คือ ภาพบนหน้าจอคอมพิวเตอร์สามารถตั้งค่าให้แสดงขนาดเล็กลงหรือใหญ่ขึ้นได้ เรียกว่าการตั้งค่า Resolution 

Credit Link By : http://www.bss.ac.th/e-learning_thecher/my%20site%20COM1/com/page/Monitor.htm

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 

 คอมพิวเตอร์ คือ
          อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ที่ทำงานตามชุดคำสั่งอย่างอัตโนมัติและให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ  ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ รวมเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย คือ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
          กลไกการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่เกิดจากองค์ประกอบต่างๆ  เริ่มด้วยเมื่อมีการกดปุ่มเครื่องคอมพิวเตอร์  โปรแกรมหรือชุึดคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำหลัก  จะทำการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมที่จะทำงาน  เมื่อตรวจสอบเสร็จคอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นว่าพร้อมที่จะทำงาน  ก็จะมีการป้อนคำสั่งหรือโปรแกรมหรือข้อมูลโดยผ่านหน่วยรับข้อมูล  แล้วนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก  ต่อจากนั้น หน่วยประมวลผลกลางก็จะทำการตามคำสั่งของโปรแกรมซึ่งเรียกว่า  การประมวลผล  แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ที่ หน่วยความจำ  และจะแสดงผลลัพธ์ผ่านหน่วยแสดงผลเมื่อมีคำสั่งให้แสดงผลลัพธ์
 หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
 หน่วยรับข้อมูล คือ
          เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยแปลงข้อมูลหรือคำสั่งนั้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำการประมวลผลต่อไป
            
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
                                            
หน่วยประมวลผลกลาง คือ
          ส่วนที่ทำหน้าที่ปฏิบัติตามคำสั่งที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล และควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ
หน่วยควบคุม (Control Unit)
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบทั้งหมด ให้ทำงานอย่างถูกต้อง
หน่วยคำนวณ (Arithmetic Logic Unit) ทำ หน้าที่ประมวลผลข้อมูลทางคณิตศาสตร์และทางตรรกะ เช่น
          -   การคำนวณทางคณิตศาสตร์  ได้แก่  การบวก ลบ คูณ หาร
          -   การกระทำทางตรรกะ (AND , OR)
        -   การเปรียบเทียบ  เช่น การเปรียบเทียบค่าของข้อมูล 2 ตัวว่ามีค่าเท่ากัน  มากกว่า  หรือน้อยกว่า  ไม่ว่าข้อมูลจะเป็นตัวเลข หรือตัวอักษรก้สามารถเปรียบเทียบได้
        -   การเลื่อนข้อมูล (Shift)
          -   การเพิ่มและการลด (Increment and Decrement)
          -   การตรวจสอบบิท (Test  Bit)
 หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
           หน่วยความจำหลัก  เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์  แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
          1. รอม (ROM : Read Only Memory)  เป็นหน่วยความจำหลักที่
                    -  ใช้บรรจุโปรแกรมสำคัญ ที่ใช้ในการสตาร์ทอัพเครื่อง
                    -  เก็บโปรแกรมคำสั่งไว้อย่างถาวร
                    -  ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง ข้อมูลก็จะยังคงอยู่
                    -  เขียนหรือบันทึกข้อมูลคำสั่งได้เพียงครั้งเดียว ในขั้นตอนการผลิตเครื่องจากโรงงาน ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้อีก
                    -  อ่านข้อมูลได้อย่างเดียว และการเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม
          2. แรม (RAM : Random Access Memory)                               
                                                
                    -  ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่รับเข้ามาจากหน่วยรับข้อมูล  เพื่อนำไปประมวลผล
                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้ขณะทำการประมวลผลซึ่งยังไม่ใช่ผลลัพธ์สุดท้าย 
                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้าย
                    -  ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งต่างๆ ขณะที่เรากำลังทำงานอยู่กับเครื่อง
                        เพื่อใช้ในการประมวลผล
                    -  เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ชั่วคราว สร้างขึ้นเพื่อผู้ใช้โดยตรง
                    -  สามารถอ่านหรือเขียนทับข้อมูลลงไปได้ตามต้องการ ถ้าไฟดับข้อมูลจะสูญหาย
                    -  การเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม
 หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)
           หน่วยความจำสำรอง  เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล และโปรแกรมที่ต้องการใช้งานในคราวต่อไปได้   ซึ่งสามารถบรรจุข้อมูลและโปรแกรมได้เป็นจำนวนมาก
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
 หน่วยแสดงผล คือ
          อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
การแสดงผลลัพธ์ แบ่งเป็น 2 แบบ
แสดงผลทางบนจอภาพ                          
        การแสดงผลทางจอภาพ เรียกได้อีกอย่างว่าเป็น Soft Copy คือ จะแสดงผลลัพธ์ขณะที่มีกระแสไฟฟ้าอยู่ อุปกรณ์คือ จอภาพคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งภาพบนจอประกอบด้วยจุดหรือ pixel หลายๆ pixel สามารถแสดงผลความละเอียดได้หลายระดับ เช่น 640 * 480 จุด , 800 * 600 จุด , 1024 * 786 จุด
แสดงผลทางเครื่องพิมพ์           
        การแสดงผลทางจอภาพ  หรือเรียกได้อีกอย่างว่าเป็น Hard Copy คือ สามารถแสดงผลลัพธ์คงทนอยู่นาน ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง อุปกรณ์ที่ใช้ คือ Printer

Credit Link By :  http://www.punyisa.com/unit2/unit2_3-1.htm

 

 

สรุป

   ทุกคนคงเห็นความสำคัญของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันแล้วว่า มีความสำคัญต่อมนุษย์มากแค่ไหน

มันก่อให้เกิดความสะดวกหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็นด้านการงาน การหาข้อมูล เล่นเกมส์ ดูอินเตอร์เน็ต

เทคโนโลยีต่างๆที่เข้ามาในชีวิตเรา ส่วนมากจะมาจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็ถือได้ว่ามันเป็นตัวนำเทคโนโลยีใหม่ๆ

มาให้เราได้รู้

  

   ไม่ว่าที่ไหนๆ เดี๋ยวนี้ก็มีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้งานกันถ้วนหน้า เพื่อความสะดวกของตัวท่านเอง การใช้งานคอมพิวเตอร์

สามารถมีได้เกือบทุกอาชีพ ที่ต้องการความสะดวกในการประกอบอาชีพ ในด้านการศึกษา ก็จะเป็นการหาข้อมูลเพิ่มเติม

  

   การใช้คอมพิวเตอร์มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งเราเองที่จะเป็นคนว่าจะเลือกใช้ในด้านไหน เราควรค้นคว้าหาประโยชน์ให้มาก

ที่สุด แล้วเราจะรู้ว่าคอมพิวเตอร์นั้น สามารถสร้างเงินให้เราได้มากทีเดียว 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 539 คน กำลังออนไลน์