• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9cae3d4971a775ebe2dc9a6e8b112c01' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 19pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><strong><u><span style=\"color: #ff0000\">อารยธรรมตะวันออกและอารยธรรมตะวันตกมีผลต่อการพัฒนาความเจริญของชนชาติไทย</span></u></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 19pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 19pt\"><o:p><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><strong>      <span style=\"color: #ff00ff\"> </span></strong><span style=\"font-size: 17.5pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\">ชนชาติไทยมีพัฒนาการความเจริญในด้านเศรษฐกิจ</span></span></span><span style=\"font-size: 17.5pt\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\">  <span lang=\"TH\">สังคม</span> <span lang=\"TH\">การเมืองการปกครอง</span>  <span lang=\"TH\">ศิลปวัฒนธรรม</span> <span lang=\"TH\">มีความสัมพันธ์กับรัฐ</span> <span lang=\"TH\">เพื่อนบ้านใกล้เคียง</span>  <span lang=\"TH\">และรัฐที่อยู่ไกลในเอเชีย</span>  <span lang=\"TH\">และซีกโลกตะวันตก</span> <span lang=\"TH\">ทำให้เกิดการผสมผสานอารยธรรมต่างๆรวมกันเป็นเอกลักษณ์ไทย</span> <span lang=\"TH\">ซึ่งถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวไทย</span>  <span lang=\"TH\">โดยมีสองอารยธรรมใหญ่ที่มีอิทธิพลต่ออารยธรรมไทยคือ</span> <span lang=\"TH\">อารยธรรมตะวันออกกับอารยธรรมตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้อารยธรรมไทยมีพัฒนาการความเจริญ</span>       <span lang=\"TH\">ทางสังคมศิลปวัฒนธรรม</span>  <span lang=\"TH\">ด้านการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ สืบทอดกันมายาวนาน อันส่งผลต่อความเจริญงอกงามทางความคิด รูปแบบ การดำเนินชีวิต</span> <span lang=\"TH\">เทคโนโลยี</span>  <span lang=\"TH\">และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในระยะต่อมา</span><br />\n                                                                      <span lang=\"TH\">เรื่องที่ </span>1.  <span lang=\"TH\">พัฒนาการด้านเศรษฐกิจของไทย</span>   <br />\n                        1.1  <span lang=\"TH\">เศรษฐกิจไทยสมัยสุโขทัย</span>                                                                      <br />\n                              <span lang=\"TH\">สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ทางเศรษฐกิจของกรุงสุโขทัย คือ ข้อความใน</span>  <span lang=\"TH\">หลักศิลาจารึกหลักที่ </span>1  <span lang=\"TH\">กล่าวว่า &quot;เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว&quot;</span>  <span lang=\"TH\">พื้นฐานทางเศรษฐกิจการยังชีพของกรุงสุโขทัยอยู่ที่การเกษตร การค้า และการทำเครื่องสังคโลก</span>    <br />\n                               1.1.1)   <span lang=\"TH\">การเกษตรของกรุงสุโขทัย มีการผลิตแบบดั้งเดิม พึ่งธรรมชาติ พื้นที่เพาะปลูกเป็นที่ราบลุ่ม คือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำยม แม่น้ำน่าน และที่ราบเชิงเขา ซึ่งดินขาดความอุดมสมบูรณ์ มีการสร้างเขื่อน(สรีดภงค์) หรือถนนพระร่วง</span> <span lang=\"TH\">พืชสำคัญที่ปลูกกันมาก</span> <span lang=\"TH\">คือ</span>  <span lang=\"TH\">ข้าว</span>  <span lang=\"TH\">มะม่วง</span>  <span lang=\"TH\">มะพร้าว</span>  <span lang=\"TH\">มะขาม</span>      <span lang=\"TH\">ขนุน หมาก พลู พืชไร่และไม้ผลอื่นๆ</span>      <br />\n                               1.1.2)  <span lang=\"TH\">ด้านการค้า</span>  <span lang=\"TH\">มีการค้าภายในอย่างเสรี มีตลาดที่สำคัญ เรียกว่า <u>ตลาดปสาน</u> มีการติดต่อการค้ากับ ล้านนา</span>  <span lang=\"TH\">มอญ และอินเดีย ส่วนการค้าทางเรือมุ่งสู่จีน ญี่ปุ่น มลายู สุมาตรา และชวา</span>  <span lang=\"TH\">สินค้าส่งออกได้แก่ ผลิตผลของป่า เครื่องเทศ เครื่องสังคโลก เป็นต้น</span> <span lang=\"TH\">สมัยสุโขทัยใช้เงินพดด้วง เป็นสื่อกลาง ในการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าต่างๆ</span><br />\n                         1.2  <span lang=\"TH\">เศรษฐกิจไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา</span>  <br />\n                               1.2.1) <span lang=\"TH\">ด้านการเกษตรกรรม ขึ้นอยู่กับลักษณะการเกษตรแบบ ดั้งเดิม คือยังอาศัยธรรมชาติ พืชเศรษฐกิจสำคัญ เช่น</span>   <span lang=\"TH\">ข้าว</span>  <span lang=\"TH\">พริกไทย</span>          <span lang=\"TH\">ฝ้าย หมาก มะพร้าว ไม้ฝาง นอแรด หนังสัตว์ และงาช้าง</span>  <br />\n                               1.2.2) <span lang=\"TH\">ด้านการต่างประเทศ กรุงศรีอยุธยาติดต่อค้าขายกับอินเดีย จีน ญี่ปุ่น และอาหรับ การค้าขายกับจีน</span>  <span lang=\"TH\">เรียกว่า</span> <span lang=\"TH\">จิ้มก้อง (การยอมรับเป็นเมืองขึ้นของจีนโดยต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ แล้วจีนจะตอบแทนคืนที่มากกว่าในฐานะประเทศที่ยิ่งใหญ่)</span>    <span lang=\"TH\">สินค้าออก</span> <span lang=\"TH\">ที่สำคัญ</span>  <span lang=\"TH\">เช่น</span>     <span lang=\"TH\">ของป่า ดีบุก เงิน พลอย และเครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น</span>  <span lang=\"TH\">สินค้าเข้าที่สำคัญ เช่น แพร เครื่องถ้วยชาม ดาบ ทองแดง และเกราะ เป็นต้น</span> <span lang=\"TH\">การค้ากับชาติตะวันตก เริ่มปรากฏตั้งแต่หลังสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ </span>2 <span lang=\"TH\">เป็นต้นมา</span> <span lang=\"TH\">ชาติตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย ได้แก่ โปรตุเกส</span> <span lang=\"TH\">สเปน อังกฤษ ฮอลันดา ฝรั่งเศส และเดนมาร์ก</span> <span lang=\"TH\">สินค้าออกที่ชาวตะวันตกต้องการ เช่น งาช้าง ไม้กฤษณา ไม้จันทน์ และไม้หอม เป็นต้น</span> <span lang=\"TH\">สินค้าเข้า เช่น กระสุนดินดำ ปืนไฟ และกำมะถัน เป็นต้น</span>            <br />\n                           <span lang=\"TH\">ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้มีการตั้ง <u>พระคลังสินค้า</u></span>  <span lang=\"TH\">เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการซื้อขายสินค้า</span>  <span lang=\"TH\">ทำให้การค้า ของกรุงศรีอยุธยา เป็นระบบผูกขาดมากขึ้น</span>   <span lang=\"TH\">การค้ากับต่างประเทส ของกรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองที่สุด ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและ สมเด็จพระเอกาทศรถ</span>  <span lang=\"TH\">และการค้ากับต่างประเทศของกรุงศรีอยุธยาเสื่อมลง</span>  <span lang=\"TH\">ในสมัยสมเด็จพระเพทราชา เพราะนโยบาย ของผู้นำที่ไม่ต้องการ</span>            <span lang=\"TH\">จะคบค้ากับ ชาติตะวันตก   จนเกิดความขัดแย้งระหว่างกรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส</span><br />\n               <o:p></o:p></span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 19pt\"><o:p><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><span style=\"font-size: 17.5pt\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\">                  <u><span lang=\"TH\">รายได้แผ่นดินของกรุงศรีอยุธยา </span></u>   <span lang=\"TH\">รายได้ของกรุงศรีอยุธยาแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ</span>  3 <span lang=\"TH\">ประเภท คือ</span>   <br />\n                  1.  <span lang=\"TH\">รายได้จากภาษีอากรประเภทต่าง ๆ ได้แก่</span>                  <br />\n                         1.1)  <span lang=\"TH\">จังกอบ</span>  <span lang=\"TH\">คือค่าผ่านด่านขนอนทั้งทางบกและทางน้ำ</span>  <span lang=\"TH\">รับจะเก็บจากราษฎรในอัตรา </span>10 <span lang=\"TH\">ชัก </span>1  <span lang=\"TH\">ถ้าเป็นภาษีขาเข้า</span> <span lang=\"TH\">เรียกว่า <u>ภาษีร้อยชัก</u></span>  <span lang=\"TH\">ถ้าเก็บตามความกว้างของปากเรือ เรียกว่า <u>ภาษีปากเรือ</u></span>  <span lang=\"TH\">หรือ <u>ภาษีเบิกร่อง</u></span>     <br />\n                         1.2 )  <span lang=\"TH\">อากร คือ การเก็บภาษีจากราษฎรที่ไม่ได้ประกอบอาชีพค้าขายโดยตรง</span>  <span lang=\"TH\">เช่น ทำนา ทำสวน และทำไร่</span>   <br />\n                         1.3)  <span lang=\"TH\">ส่วย</span>  <span lang=\"TH\">คือการเก็บสิ่งของแทนการเกณฑ์แรงงานไพร่หลวง เช่น ดีบุก มูลค้างคาว รังนก</span> <span lang=\"TH\">และส่วยบรรณาการที่ได้จาก เมืองประเทศราช</span>    <br />\n                         1.4)  <span lang=\"TH\">ฤชา คือ ค่าธรรมเนียมที่รัฐเก็บจากประชาชนที่มาใช้บริการจากรัฐ เช่น การออกโฉนด และค่าธรรมเนียมในการฟ้องร้อง</span>        <br />\n                  2.  <span lang=\"TH\">ผลกำไรจากการค้าขายพระคลังสินค้า</span>  <span lang=\"TH\">พระคลังสินค้ามีกำไรมากจากการซื้อขายสินค้าต้องห้าม</span>  <span lang=\"TH\">เช่น มูลค้างคาว งาช้าง และกระสุนดินดำ</span>  <span lang=\"TH\">ซึ่งถือว่าเป็นรายได้หลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของแผ่นดิน</span>        <br />\n                   3. <span lang=\"TH\">รายได้จากการค้ากับต่างประเทศ กรุงศรีสอยุธยาค้าขายกับประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป</span>  <span lang=\"TH\">จึงมีรายได้เข้าประเทศทั้งผลกำไร จากการค้า ภาษีขาเข้า และภาษีขาออก</span><br />\n                1.3  <span lang=\"TH\">เศรษฐกิจไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์</span>                                                                                                                                   <span lang=\"TH\">ก่อนสนธิสัญญาเบาริ่ง ไทยมีการผลิตแบบเลี้ยงตัวเอง</span> <span lang=\"TH\">ประชาชนมีฐานะไม่แตกต่างกันมากนัก</span> <span lang=\"TH\">ราษฎรมีหน้าที่สำคัญคือ การถูกเกณฑ์แรงงาน รับใช้ราชการ และการเสียภาษีให้รัฐ ซึ่งตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นต้นมา</span>  <span lang=\"TH\">มีการเก็บภาษี </span>4 <span lang=\"TH\">ประเภทใหญ่ๆ</span>   <span lang=\"TH\">คือ จังกอบ</span>  (<span lang=\"TH\">ภาษีสินค้าเข้า - ออก)</span>  <span lang=\"TH\">อากร(ภาษีจากการประกอบอาชีพต่างๆ)</span>  <span lang=\"TH\">ฤชา(ค่าธรรมเนียม)</span>  <span lang=\"TH\">และส่วย(เงินค้าราชการ)</span>   <span lang=\"TH\">หลังจากสนธิสัญญาเบาริง พ.ศ.</span>2398 <span lang=\"TH\">เศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป เป็นการค้าเสรี ภาษีปากเรือถูกยกเลิกโดยเก็บเฉพาะภาษีขาเข้าร้อยละ </span>3  <span lang=\"TH\">ทำให้พระคลังสินค้าต้องยกเลิกไป</span>  <span lang=\"TH\">ผลคือ การค้าขยายตัว และข้าวกลายเป็น สินค้าออกที่สำคัญ</span>  <span lang=\"TH\">ระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ เปลี่ยนไปเป็นระบบเศรษฐกิจแบบการค้า การแลกเปลี่ยน เน้นการค้าขาย</span>  <span lang=\"TH\">ก่อให้เกิดอาชีพพ่อค้าคนกลางขึ้น และกลายเป็นนายทุน</span>  <span lang=\"TH\">ในเวลาต่อมา</span>  <span lang=\"TH\">การเกณฑ์แรงงานไม่เหมาะสมและในที่สุดเปลี่ยนเป็น การเกณฑ์ทหาร รัชกาลที่ </span>5 <span lang=\"TH\">ทรงจัดระบบการเงินการธนาคาร โดยให้ผลิตเงินตราจำนวนมาก</span>  <span lang=\"TH\">ทรงตั้งโรงกษาปณ์ เ<u>ปลี่ยนหน่วยเงินใหม่ เป็นบาท</u></span>  <span lang=\"TH\">สตางค์</span> <span lang=\"TH\">ทรงตราพระราชบัญญัติธนบัตร พ.ศ. </span>2445  <span lang=\"TH\">พระราชบัญญัติมาตรฐานทองคำ พ.ศ. </span>2451  <span lang=\"TH\">โดยให้เงินบาทอิงค่าเงินปอนด์</span>       <span lang=\"TH\">จัดตั้งธนาคารไทยพาณิชย์ สมัยรัชกาลที่</span> 6<span lang=\"TH\">ได้จัดตั้งธนาคาร ออมสินขึ้น และส่งเสริมเผยแพร่วิธีการสหกรณ์</span> <span lang=\"TH\">สหกรณ์แห่งแรก คือ</span>  <span lang=\"TH\">สหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้</span>  <span lang=\"TH\">จังหวัดพิษณุโลก</span>  <span lang=\"TH\">รัชกาลที่ </span>5 <span lang=\"TH\">ยังทรงจัดระบบภาษี โดยจัดตั้ง หอรัษฎากรพิพัฒน์</span>  <span lang=\"TH\">เพื่อทำหน้าที่เก็บภาษี</span>  <span lang=\"TH\">ของแผ่นดิน ทั้งหมดและจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการ แทนเบี้ยหวัดรายปี ดังแต่ก่อน</span>  <span lang=\"TH\">ต่อมายกฐานะเป็น พระคลังมหาสมบัติ</span>  <span lang=\"TH\">ทำให้เก็บภาษี</span>  <span lang=\"TH\">ที่กระจัดกระจายได้มากขึ้น</span>  <span lang=\"TH\">และโปรดเกล้าให้จัดทำงบประมาณแผ่นดินเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.</span>2439 <span lang=\"TH\">นอกจากนั้น</span>     <span lang=\"TH\">ยังปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ</span>  <span lang=\"TH\">เช่น ตัดถนน ขุดคลอง</span>  <span lang=\"TH\">ตั้งกรมไปรษณีย์</span>  <span lang=\"TH\">สร้างทางรถไฟ</span>                                    <br />\n                         <span lang=\"TH\">ในช่วงที่มีการปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยแบบตะวันตกได้มีการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลายอย่าง ทั้งด้านการตัดถนน</span>  <span lang=\"TH\">การขุดคลองพัฒนาการขนส่งสื่อสารและคมนาคมในสมัยรัชกาลที่</span>6<span lang=\"TH\">ี่ได้มีการจัดตั้งกรมรถไฟขึ้นและขยายกิจการไป ทั่วประเทศ และตอนปลายรัชกาล</span>  <span lang=\"TH\">ประเทศไทยต้องสบภาวะขาดดุลการค้า</span>    <span lang=\"TH\">สมัยรัชกาลที่ </span>7  <span lang=\"TH\">ทรงแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจด้วยการประหยัดค่าใช้จ่าย</span>      <br />\n<span lang=\"TH\">ส่วนพระองค์และปลดข้าราชการ</span>  <span lang=\"TH\">พยายามเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.</span>  2475  <span lang=\"TH\">รัฐบาลหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองต้องรับภาระหนักในทาง</span>                <span lang=\"TH\">เศรษฐกิจ นายปรีดี</span>  <span lang=\"TH\">พนมยงค์ ผู้นำคณะราษฎร</span>  <span lang=\"TH\">ได้พยายามจัดทำเค้าโครงเศรษฐกิจโดยแก้ไขระบบเศรษฐกิจใหม่ ด้วยการโอนที่ดินและปัจจัย การผลิตมาเป็นของรัฐ รัฐจะประกันการมีงานทำ</span>  <span lang=\"TH\">และมุ่งพัฒนาประเทศโดยการพึ่งตนเอง</span>  <span lang=\"TH\">แต่เค้าโครงเศรษฐกิจฉบับนี้</span>  <span lang=\"TH\">ซึ่งเรียกว่า <u>สมุดปกเหลือง</u></span>  <span lang=\"TH\">ถูกคัดค้านเพราะมีหลักการ แบบ ลัทธิคอมมิวนิสต์</span>  <span lang=\"TH\">รัฐบาลต่อมาสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม</span>  <span lang=\"TH\">ได้หันมาใช้นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีชาตินิยม</span>      <o:p></o:p></span></span></span></span></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 17.5pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">โดยชักชวนให้ชาวไทยหันมาประกอบ การค้า และอุตสาหกรรมมากขึ้น</span><span style=\"font-size: 17.5pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> <span lang=\"TH\">มีการตํ้งรัฐวิสาหกิจ</span>  <span lang=\"TH\">เช่น โรงงานยาสูบ</span>   <span lang=\"TH\">โรงกลั่นน้ำมัน</span>  <span lang=\"TH\">แลตั้งกระทรวง</span>               <span lang=\"TH\">อุตสาหกรรม</span>  <span lang=\"TH\">เมื่อ พ.ศ.</span>2485      <span lang=\"TH\">หลังสงครามโลกครั้งที่</span>  2 <span lang=\"TH\">รัฐบาลส่งเสริมการพาณิชย์มากขึ้น มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการลงทุนและพัฒนา</span>  <span lang=\"TH\">โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ท่าเรือ ทางหลวง เขื่อน องค์การระหว่างประเทศ</span> <span lang=\"TH\">เช่นองค์การสหประชาชาติ ธนาคารโลก เข้ามามีอิทธิพลต่อการจัดรูปแบบ</span>           <span lang=\"TH\">การพัฒนา ก่อให้เกิดแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจให้ใกล้เคียงกับประเทศร่ำรวย</span>  <span lang=\"TH\">และประเทศไทยก็ได้เริ่มจัดทำแผนพัฒนาประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก</span>            <span lang=\"TH\">ในพ.ศ. </span>2504 <span lang=\"TH\">และดำเนินต่อมาจนกระทั้งปัจจุบัน (แผนฉบับที่ </span>1 <span lang=\"TH\">พ.ศ. </span>2501-2509 <span lang=\"TH\">ใช้ชื่อว่า พัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ มีระยะเวลา </span>6 <span lang=\"TH\">ปี</span> <span lang=\"TH\">ส่วนแผนฉบับที่ </span>2            <span lang=\"TH\">พ.ศ. </span>2510-2514      <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>3 <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>2515-2519  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>4  <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>2520-2524  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>5 <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>2525-2529 <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>6 <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>2530-2534 <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>7 <span lang=\"TH\">พ.ศ. </span>2535-2539         <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>8 <span lang=\"TH\">พ.ศ. </span>2540-2544 <span lang=\"TH\">และฉบับที่ </span>9  <span lang=\"TH\">พ.ศ. </span>2545-2549  <span lang=\"TH\">ใช้ชื่อว่าพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีระยะเวลาแผนละ </span>5 <span lang=\"TH\">ปี)</span>  <span lang=\"TH\">ตลอดระยะเวลา ที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจไปตามแผน</span>  <span lang=\"TH\">ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปในหลายด้าน</span>  <span lang=\"TH\">ด้านโครงสร้างการผลิต ขยายการผลิตภาคอุตสาหกรรม และการบริการมากขึ้น</span>  <span lang=\"TH\">ทำให้ผลิตผลทางการเกษตร ที่เคยมีความสำคัญแต่เดิม</span>  <span lang=\"TH\">ลดความสำคัญลง</span>  <span lang=\"TH\">ด้านโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ</span>  <span lang=\"TH\">มีสินค้า</span>        <span lang=\"TH\">ส่งออกมากขึ้น สินค้าการเกษตร</span> <span lang=\"TH\">เช่น ข้าวโพด</span>  <span lang=\"TH\">ปอ มันสัมปะหลัง</span>  <span lang=\"TH\">สินค้าอุตสาหกรรม</span>  <span lang=\"TH\">เช่น</span>  <span lang=\"TH\">สิ่งทอ</span>  <span lang=\"TH\">อาหารกระป๋อง</span>  <span lang=\"TH\">อัญมณี</span>  <span lang=\"TH\">มีการนำเข้าเครื่องจักร และเชื้อเพลิงมากขึ้น</span>  <span lang=\"TH\">ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไทยต้อง พึ่งพาต่างประเทศ</span></span></span> </span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726719353, expire = 1726805753, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9cae3d4971a775ebe2dc9a6e8b112c01' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารยธรรมตะวันออกและอารยธรรมตะวันตกมีผลต่อการพัฒนาความเจริญของชนชาติไทย

อารยธรรมตะวันออกและอารยธรรมตะวันตกมีผลต่อการพัฒนาความเจริญของชนชาติไทย

       ชนชาติไทยมีพัฒนาการความเจริญในด้านเศรษฐกิจ  สังคม การเมืองการปกครอง  ศิลปวัฒนธรรม มีความสัมพันธ์กับรัฐ เพื่อนบ้านใกล้เคียง  และรัฐที่อยู่ไกลในเอเชีย  และซีกโลกตะวันตก ทำให้เกิดการผสมผสานอารยธรรมต่างๆรวมกันเป็นเอกลักษณ์ไทย ซึ่งถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวไทย  โดยมีสองอารยธรรมใหญ่ที่มีอิทธิพลต่ออารยธรรมไทยคือ อารยธรรมตะวันออกกับอารยธรรมตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้อารยธรรมไทยมีพัฒนาการความเจริญ       ทางสังคมศิลปวัฒนธรรม  ด้านการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ สืบทอดกันมายาวนาน อันส่งผลต่อความเจริญงอกงามทางความคิด รูปแบบ การดำเนินชีวิต เทคโนโลยี  และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในระยะต่อมา
                                                                      เรื่องที่ 1.  พัฒนาการด้านเศรษฐกิจของไทย   
                        1.1  เศรษฐกิจไทยสมัยสุโขทัย                                                                      
                              สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ทางเศรษฐกิจของกรุงสุโขทัย คือ ข้อความใน  หลักศิลาจารึกหลักที่ กล่าวว่า "เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว"  พื้นฐานทางเศรษฐกิจการยังชีพของกรุงสุโขทัยอยู่ที่การเกษตร การค้า และการทำเครื่องสังคโลก    
                               1.1.1)   การเกษตรของกรุงสุโขทัย มีการผลิตแบบดั้งเดิม พึ่งธรรมชาติ พื้นที่เพาะปลูกเป็นที่ราบลุ่ม คือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำยม แม่น้ำน่าน และที่ราบเชิงเขา ซึ่งดินขาดความอุดมสมบูรณ์ มีการสร้างเขื่อน(สรีดภงค์) หรือถนนพระร่วง พืชสำคัญที่ปลูกกันมาก คือ  ข้าว  มะม่วง  มะพร้าว  มะขาม      ขนุน หมาก พลู พืชไร่และไม้ผลอื่นๆ      
                               1.1.2)  ด้านการค้า  มีการค้าภายในอย่างเสรี มีตลาดที่สำคัญ เรียกว่า ตลาดปสาน มีการติดต่อการค้ากับ ล้านนา  มอญ และอินเดีย ส่วนการค้าทางเรือมุ่งสู่จีน ญี่ปุ่น มลายู สุมาตรา และชวา  สินค้าส่งออกได้แก่ ผลิตผลของป่า เครื่องเทศ เครื่องสังคโลก เป็นต้น สมัยสุโขทัยใช้เงินพดด้วง เป็นสื่อกลาง ในการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าต่างๆ
                         1.2  เศรษฐกิจไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา  
                               1.2.1) ด้านการเกษตรกรรม ขึ้นอยู่กับลักษณะการเกษตรแบบ ดั้งเดิม คือยังอาศัยธรรมชาติ พืชเศรษฐกิจสำคัญ เช่น   ข้าว  พริกไทย          ฝ้าย หมาก มะพร้าว ไม้ฝาง นอแรด หนังสัตว์ และงาช้าง  
                               1.2.2) ด้านการต่างประเทศ กรุงศรีอยุธยาติดต่อค้าขายกับอินเดีย จีน ญี่ปุ่น และอาหรับ การค้าขายกับจีน  เรียกว่า จิ้มก้อง (การยอมรับเป็นเมืองขึ้นของจีนโดยต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ แล้วจีนจะตอบแทนคืนที่มากกว่าในฐานะประเทศที่ยิ่งใหญ่)    สินค้าออก ที่สำคัญ  เช่น     ของป่า ดีบุก เงิน พลอย และเครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น  สินค้าเข้าที่สำคัญ เช่น แพร เครื่องถ้วยชาม ดาบ ทองแดง และเกราะ เป็นต้น การค้ากับชาติตะวันตก เริ่มปรากฏตั้งแต่หลังสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นต้นมา ชาติตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย ได้แก่ โปรตุเกส สเปน อังกฤษ ฮอลันดา ฝรั่งเศส และเดนมาร์ก สินค้าออกที่ชาวตะวันตกต้องการ เช่น งาช้าง ไม้กฤษณา ไม้จันทน์ และไม้หอม เป็นต้น สินค้าเข้า เช่น กระสุนดินดำ ปืนไฟ และกำมะถัน เป็นต้น            
                           ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้มีการตั้ง พระคลังสินค้า  เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการซื้อขายสินค้า  ทำให้การค้า ของกรุงศรีอยุธยา เป็นระบบผูกขาดมากขึ้น   การค้ากับต่างประเทส ของกรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองที่สุด ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและ สมเด็จพระเอกาทศรถ  และการค้ากับต่างประเทศของกรุงศรีอยุธยาเสื่อมลง  ในสมัยสมเด็จพระเพทราชา เพราะนโยบาย ของผู้นำที่ไม่ต้องการ            จะคบค้ากับ ชาติตะวันตก   จนเกิดความขัดแย้งระหว่างกรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส
              
                  รายได้แผ่นดินของกรุงศรีอยุธยา    รายได้ของกรุงศรีอยุธยาแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ  3 ประเภท คือ   
                  1.  รายได้จากภาษีอากรประเภทต่าง ๆ ได้แก่                  
                         1.1)  จังกอบ  คือค่าผ่านด่านขนอนทั้งทางบกและทางน้ำ  รับจะเก็บจากราษฎรในอัตรา 10 ชัก ถ้าเป็นภาษีขาเข้า เรียกว่า ภาษีร้อยชัก  ถ้าเก็บตามความกว้างของปากเรือ เรียกว่า ภาษีปากเรือ  หรือ ภาษีเบิกร่อง     
                         1.2 )  อากร คือ การเก็บภาษีจากราษฎรที่ไม่ได้ประกอบอาชีพค้าขายโดยตรง  เช่น ทำนา ทำสวน และทำไร่   
                         1.3)  ส่วย  คือการเก็บสิ่งของแทนการเกณฑ์แรงงานไพร่หลวง เช่น ดีบุก มูลค้างคาว รังนก และส่วยบรรณาการที่ได้จาก เมืองประเทศราช    
                         1.4)  ฤชา คือ ค่าธรรมเนียมที่รัฐเก็บจากประชาชนที่มาใช้บริการจากรัฐ เช่น การออกโฉนด และค่าธรรมเนียมในการฟ้องร้อง        
                  2.  ผลกำไรจากการค้าขายพระคลังสินค้า  พระคลังสินค้ามีกำไรมากจากการซื้อขายสินค้าต้องห้าม  เช่น มูลค้างคาว งาช้าง และกระสุนดินดำ  ซึ่งถือว่าเป็นรายได้หลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของแผ่นดิน        
                   3. รายได้จากการค้ากับต่างประเทศ กรุงศรีสอยุธยาค้าขายกับประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป  จึงมีรายได้เข้าประเทศทั้งผลกำไร จากการค้า ภาษีขาเข้า และภาษีขาออก
                1.3  เศรษฐกิจไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์                                                                                                                                   ก่อนสนธิสัญญาเบาริ่ง ไทยมีการผลิตแบบเลี้ยงตัวเอง ประชาชนมีฐานะไม่แตกต่างกันมากนัก ราษฎรมีหน้าที่สำคัญคือ การถูกเกณฑ์แรงงาน รับใช้ราชการ และการเสียภาษีให้รัฐ ซึ่งตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นต้นมา  มีการเก็บภาษี 4 ประเภทใหญ่ๆ   คือ จังกอบ  (ภาษีสินค้าเข้า - ออก)  อากร(ภาษีจากการประกอบอาชีพต่างๆ)  ฤชา(ค่าธรรมเนียม)  และส่วย(เงินค้าราชการ)   หลังจากสนธิสัญญาเบาริง พ.ศ.2398 เศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป เป็นการค้าเสรี ภาษีปากเรือถูกยกเลิกโดยเก็บเฉพาะภาษีขาเข้าร้อยละ ทำให้พระคลังสินค้าต้องยกเลิกไป  ผลคือ การค้าขยายตัว และข้าวกลายเป็น สินค้าออกที่สำคัญ  ระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ เปลี่ยนไปเป็นระบบเศรษฐกิจแบบการค้า การแลกเปลี่ยน เน้นการค้าขาย  ก่อให้เกิดอาชีพพ่อค้าคนกลางขึ้น และกลายเป็นนายทุน  ในเวลาต่อมา  การเกณฑ์แรงงานไม่เหมาะสมและในที่สุดเปลี่ยนเป็น การเกณฑ์ทหาร รัชกาลที่ 5 ทรงจัดระบบการเงินการธนาคาร โดยให้ผลิตเงินตราจำนวนมาก  ทรงตั้งโรงกษาปณ์ เปลี่ยนหน่วยเงินใหม่ เป็นบาท  สตางค์ ทรงตราพระราชบัญญัติธนบัตร พ.ศ. 2445  พระราชบัญญัติมาตรฐานทองคำ พ.ศ. 2451  โดยให้เงินบาทอิงค่าเงินปอนด์       จัดตั้งธนาคารไทยพาณิชย์ สมัยรัชกาลที่ 6ได้จัดตั้งธนาคาร ออมสินขึ้น และส่งเสริมเผยแพร่วิธีการสหกรณ์ สหกรณ์แห่งแรก คือ  สหกรณ์วัดจันทร์ไม่จำกัดสินใช้  จังหวัดพิษณุโลก  รัชกาลที่ 5 ยังทรงจัดระบบภาษี โดยจัดตั้ง หอรัษฎากรพิพัฒน์  เพื่อทำหน้าที่เก็บภาษี  ของแผ่นดิน ทั้งหมดและจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการ แทนเบี้ยหวัดรายปี ดังแต่ก่อน  ต่อมายกฐานะเป็น พระคลังมหาสมบัติ  ทำให้เก็บภาษี  ที่กระจัดกระจายได้มากขึ้น  และโปรดเกล้าให้จัดทำงบประมาณแผ่นดินเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2439 นอกจากนั้น     ยังปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ  เช่น ตัดถนน ขุดคลอง  ตั้งกรมไปรษณีย์  สร้างทางรถไฟ                                    
                         ในช่วงที่มีการปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยแบบตะวันตกได้มีการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลายอย่าง ทั้งด้านการตัดถนน  การขุดคลองพัฒนาการขนส่งสื่อสารและคมนาคมในสมัยรัชกาลที่6ี่ได้มีการจัดตั้งกรมรถไฟขึ้นและขยายกิจการไป ทั่วประเทศ และตอนปลายรัชกาล  ประเทศไทยต้องสบภาวะขาดดุลการค้า    สมัยรัชกาลที่ ทรงแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจด้วยการประหยัดค่าใช้จ่าย      
ส่วนพระองค์และปลดข้าราชการ  พยายามเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.  2475  รัฐบาลหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองต้องรับภาระหนักในทาง                เศรษฐกิจ นายปรีดี  พนมยงค์ ผู้นำคณะราษฎร  ได้พยายามจัดทำเค้าโครงเศรษฐกิจโดยแก้ไขระบบเศรษฐกิจใหม่ ด้วยการโอนที่ดินและปัจจัย การผลิตมาเป็นของรัฐ รัฐจะประกันการมีงานทำ  และมุ่งพัฒนาประเทศโดยการพึ่งตนเอง  แต่เค้าโครงเศรษฐกิจฉบับนี้  ซึ่งเรียกว่า สมุดปกเหลือง  ถูกคัดค้านเพราะมีหลักการ แบบ ลัทธิคอมมิวนิสต์  รัฐบาลต่อมาสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม  ได้หันมาใช้นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีชาตินิยม     

โดยชักชวนให้ชาวไทยหันมาประกอบ การค้า และอุตสาหกรรมมากขึ้น มีการตํ้งรัฐวิสาหกิจ  เช่น โรงงานยาสูบ   โรงกลั่นน้ำมัน  แลตั้งกระทรวง               อุตสาหกรรม  เมื่อ พ.ศ.2485      หลังสงครามโลกครั้งที่  2 รัฐบาลส่งเสริมการพาณิชย์มากขึ้น มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการลงทุนและพัฒนา  โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ท่าเรือ ทางหลวง เขื่อน องค์การระหว่างประเทศ เช่นองค์การสหประชาชาติ ธนาคารโลก เข้ามามีอิทธิพลต่อการจัดรูปแบบ           การพัฒนา ก่อให้เกิดแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจให้ใกล้เคียงกับประเทศร่ำรวย  และประเทศไทยก็ได้เริ่มจัดทำแผนพัฒนาประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก            ในพ.ศ. 2504 และดำเนินต่อมาจนกระทั้งปัจจุบัน (แผนฉบับที่ 1 พ.ศ. 2501-2509 ใช้ชื่อว่า พัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ มีระยะเวลา 6 ปี ส่วนแผนฉบับที่ 2            พ.ศ. 2510-2514      ฉบับที่ 3 พ.ศ.2515-2519  ฉบับที่ พ.ศ.2520-2524  ฉบับที่ 5 พ.ศ.2525-2529 ฉบับที่ 6 พ.ศ.2530-2534 ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535-2539         ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544 และฉบับที่ พ.ศ. 2545-2549  ใช้ชื่อว่าพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีระยะเวลาแผนละ 5 ปี)  ตลอดระยะเวลา ที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจไปตามแผน  ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปในหลายด้าน  ด้านโครงสร้างการผลิต ขยายการผลิตภาคอุตสาหกรรม และการบริการมากขึ้น  ทำให้ผลิตผลทางการเกษตร ที่เคยมีความสำคัญแต่เดิม  ลดความสำคัญลง  ด้านโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ  มีสินค้า        ส่งออกมากขึ้น สินค้าการเกษตร เช่น ข้าวโพด  ปอ มันสัมปะหลัง  สินค้าอุตสาหกรรม  เช่น  สิ่งทอ  อาหารกระป๋อง  อัญมณี  มีการนำเข้าเครื่องจักร และเชื้อเพลิงมากขึ้น  ซึ่งสิ่งเหล่านี้ไทยต้อง พึ่งพาต่างประเทศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 638 คน กำลังออนไลน์