• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:30cc44278498157b344ddecf579299d0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 130%; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความหมายของวัฒนธรรม</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 130%; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<div align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: 130%; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 130%; font-family: \'Angsana New\'\">\n<hr SIZE=\"1\" noShade=\"true\" color=\"#8cbde7\" width=\"100%\" align=\"center\" />\n</span>\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 130%; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มนุษย์ สร้างวัฒนธรรมขึ้นมาเพื่อประโยชน์แห่งการดำรงชีวิตและการสืบทอดเผ่าพันธุ์ ในเมื่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นเรื่องที่กว้างใหญ่และมีแง่มุมต่างๆ ให้พิจารณาอย่างซับซ้อน เรื่องของวัฒนธรรมจึงสามารถมองได้หลายแง่มุมไปด้วย มีผู้ให้ความหมายคำว่า &quot;วัฒนธรรม&quot; ต่างๆ กัน(ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรม ไว้ ๔ นัย)ดังนี้คือ</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 130%; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<p><span lang=\"TH\">๑. สิ่งที่ทำให้เจริญงอก งามแก่หมู่คณะ</span><br />\n<span lang=\"TH\">๒. วิถีชีวิตของหมู่คณะ</span><br />\n<span lang=\"TH\">๓. ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียว ก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน</span><br />\n<span lang=\"TH\">๔. พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้นด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน</span><br />\n<span lang=\"TH\">พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ประทานคำอธิบายไว้ว่า</span></p>\n<p><b>&quot;<span lang=\"TH\">วัฒนธรรม&quot;</span></b> <span lang=\"TH\">หมายถึง ความเจริญในทางวิชาความรู้ เช่น วิทยาศาสตร์ ศิลปวิทยา วรรณคดี ศาสนา ตลอดจนขนบธรรมเนียม ประเพณีและจรรยามารยาท</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">วัฒนธรรมเป็นมรดกแห่งสังคม มีทั้งส่วนจับต้องได้และจับต้องไม่ได้ เช่น กวีนิพนธ์ ศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการก่อร่างสร้างความประพฤติปฎิบัติของประชาชาติ</span> </p>\n<p><span lang=\"TH\">พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์</span> </p>\n<p><span lang=\"TH\">พระยาอนุมานราชธน พระยาอนุมานราชธน (๒๕๓๒: ๔๕ - ๔๘) ได้ให้บทนิยาม คำ &quot;วัฒนธรรม&quot;ว่า วัฒนธรรม</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">คือ&quot; สิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือผลิตสร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีแห่งชีวิตของส่วนรวม ถ่ายทอดกันได้ เอาอย่างกันได้</span> </p>\n<p><span lang=\"TH\">คือผลิตผลของส่วนรวมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนแต่ก่อนสืบต่อเป็นประเพณี กันมา</span><br />\n<span lang=\"TH\">คือความรู้สึก ความคิดเห็น ความประพฤติ และกิริยาอาการ หรือการกระทำใดๆ ของมนุษย์ในส่วนรวมลงรูปเป็นพิมพ์เดียวกัน และสำแดงออกมาให้ปรากฏเป็นภาษา. ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบประเพณี เป็นต้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">คือมรดกแห่งสังคม ซึ่งสังคมรับและรักษาไว้ให้เจริญงอกงาม เป็นผลิตผลของส่วนรวมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนแต่ก่อนสืบต่อเป็น ประเพณีกันมา&quot;</span></p>\n<p>\n<span lang=\"TH\">พระเทพเวที ( ประยุทธ์ ปยุตโต) ได้อธิบายความหมายของวัฒนธรรมเมื่อคราวแสดงปาฐกถาพิเศษ ๑๐๐ ปี ของพระยาอนุมานราชธน เรื่อง &quot; วัฒนธรรม กับการพัฒนา&quot; ไว้เป็นหลายนัยอย่างน่าพิจารณา ดังนี้</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">วัฒนธรรม เป็นผลรวมของการสั่งสมสิ่งสร้างสรรค์และภูมิธรรมปัญญา ที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาของสังคมนั้นๆ</span><br />\n<span lang=\"TH\">วัฒนธรรม เป็นการสั่งสมประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ภูมิธรรมภูมิปัญญาทั้งหมดที่ได้ช่วยให้มนุษย์ในสังคมนั้นๆ อยู่รอด และเจริญสืบต่อได้ และเป็นอยู่อย่างที่เป็นในบัดนี้</span><br />\n<span lang=\"TH\">วัฒนธรรม คือผลรวมของทุกสิ่งซึ่งเป็นความเจริญงอกงามที่สังคมนั้นๆ ได้ทำไว้ หรือได้สั่งสมมาจนถึงบัดนี้</span><br />\n<span lang=\"TH\">วัฒนธรรม เป็นทั้งสิ่งที่ทำ ให้เจริญงอกงามสืบมา และเป็นเนื้อตัวของความเจริญงอดกงามที่มีอยู่ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของความเจริญงอกงามต่อไปตลอดจนเป็นเครื่องวัดระดับความเจริญงอกงามของสังคมนั้นๆ</span><br />\n<span lang=\"TH\">พระเทพเวที</span> ( <span lang=\"TH\">ประยุทธ์ ปยุตโต)</span><br />\n<span lang=\"TH\">ในเอกสารของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้แสดงความหมายของวัฒนธรรมไว้ต่างกัน เช่น</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">วัฒนธรรม เป็นวิธีการดำเนินชีวิตของสังคม เป็นแบบแผนการประพฤติและการแสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่างๆ ที่สมาชิกในสังคมเดียวกันสามารถเข้าใจและชาบชึ้งร่วมกันยอม รับและใช้ปฏิบัติร่วมกัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมนั้นๆ</span><br />\n<span lang=\"TH\">วัฒนธรรม เป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เกิดจากระบบความสัมพันธ์ระหว่ามนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์ กับสังคม และมนุษย์กับธรรมชาติ วัฒนธรรมมีทั้งสาระและรูปแบบที่เป็นระบบความคิด วิธีการ โครงสร้างของสังคม สถาบัน ตลอดจนแบบแผนและทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้น</span><o:p></o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความหมายของภูมิปัญญาไทย</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทย</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ความชาญฉลาด ทักษะและเทคนิค อันเกิดจากพื้นความรู้ ที่ผ่าน กระบวนการ สืบทอด เลือกสรร ปรับปรุง พัฒนา การสร้างงาน ด้วยประสบการณ์ที่สะสม มาเป็นเวลานานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับยุคสมัย </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาท้องถิ่น</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ที่เป็นของท้องที่ใดท้องที่หนึ่ง หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาชาวบ้าน</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์และความ</span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">เฉลียวฉลาดของแต่ละคน ซึ่งเกิดการเรียนรู้จากคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง และผู้นำของชุมชน ความรู้</span><br />\n<span lang=\"TH\">ที่เกิดขึ้นจากคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง และผู้นำของชุมชน ลักษณะความรู้ที่เกิดขึ้นมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต</span><br />\n<span lang=\"TH\">ซึ่งมีความสัมพันธ์กับคน สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และธรรมชาติ สืบทอดกันมาจากบรรพชนสู่ลูกหลาน ระหว่างการ</span><br />\n<span lang=\"TH\">สืบทอดมีการปรับปรุง พัฒนาจนเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพของสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแ</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วดล้อม</span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n', created = 1726719291, expire = 1726805691, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:30cc44278498157b344ddecf579299d0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมายของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

ความหมายของวัฒนธรรม


มนุษย์ สร้างวัฒนธรรมขึ้นมาเพื่อประโยชน์แห่งการดำรงชีวิตและการสืบทอดเผ่าพันธุ์ ในเมื่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นเรื่องที่กว้างใหญ่และมีแง่มุมต่างๆ ให้พิจารณาอย่างซับซ้อน เรื่องของวัฒนธรรมจึงสามารถมองได้หลายแง่มุมไปด้วย มีผู้ให้ความหมายคำว่า "วัฒนธรรม" ต่างๆ กัน(ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรม ไว้ ๔ นัย)ดังนี้คือ

๑. สิ่งที่ทำให้เจริญงอก งามแก่หมู่คณะ
๒. วิถีชีวิตของหมู่คณะ
๓. ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียว ก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน
๔. พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้นด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน
พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ประทานคำอธิบายไว้ว่า

"วัฒนธรรม" หมายถึง ความเจริญในทางวิชาความรู้ เช่น วิทยาศาสตร์ ศิลปวิทยา วรรณคดี ศาสนา ตลอดจนขนบธรรมเนียม ประเพณีและจรรยามารยาท

วัฒนธรรมเป็นมรดกแห่งสังคม มีทั้งส่วนจับต้องได้และจับต้องไม่ได้ เช่น กวีนิพนธ์ ศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการก่อร่างสร้างความประพฤติปฎิบัติของประชาชาติ 

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ 

พระยาอนุมานราชธน พระยาอนุมานราชธน (๒๕๓๒: ๔๕ - ๔๘) ได้ให้บทนิยาม คำ "วัฒนธรรม"ว่า วัฒนธรรม

คือ" สิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือผลิตสร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีแห่งชีวิตของส่วนรวม ถ่ายทอดกันได้ เอาอย่างกันได้ 

คือผลิตผลของส่วนรวมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนแต่ก่อนสืบต่อเป็นประเพณี กันมา
คือความรู้สึก ความคิดเห็น ความประพฤติ และกิริยาอาการ หรือการกระทำใดๆ ของมนุษย์ในส่วนรวมลงรูปเป็นพิมพ์เดียวกัน และสำแดงออกมาให้ปรากฏเป็นภาษา. ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบประเพณี เป็นต้น
คือมรดกแห่งสังคม ซึ่งสังคมรับและรักษาไว้ให้เจริญงอกงาม เป็นผลิตผลของส่วนรวมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนแต่ก่อนสืบต่อเป็น ประเพณีกันมา"

พระเทพเวที ( ประยุทธ์ ปยุตโต) ได้อธิบายความหมายของวัฒนธรรมเมื่อคราวแสดงปาฐกถาพิเศษ ๑๐๐ ปี ของพระยาอนุมานราชธน เรื่อง " วัฒนธรรม กับการพัฒนา" ไว้เป็นหลายนัยอย่างน่าพิจารณา ดังนี้

วัฒนธรรม เป็นผลรวมของการสั่งสมสิ่งสร้างสรรค์และภูมิธรรมปัญญา ที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาของสังคมนั้นๆ
วัฒนธรรม เป็นการสั่งสมประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ภูมิธรรมภูมิปัญญาทั้งหมดที่ได้ช่วยให้มนุษย์ในสังคมนั้นๆ อยู่รอด และเจริญสืบต่อได้ และเป็นอยู่อย่างที่เป็นในบัดนี้
วัฒนธรรม คือผลรวมของทุกสิ่งซึ่งเป็นความเจริญงอกงามที่สังคมนั้นๆ ได้ทำไว้ หรือได้สั่งสมมาจนถึงบัดนี้
วัฒนธรรม เป็นทั้งสิ่งที่ทำ ให้เจริญงอกงามสืบมา และเป็นเนื้อตัวของความเจริญงอดกงามที่มีอยู่ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของความเจริญงอกงามต่อไปตลอดจนเป็นเครื่องวัดระดับความเจริญงอกงามของสังคมนั้นๆ
พระเทพเวที ( ประยุทธ์ ปยุตโต)
ในเอกสารของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้แสดงความหมายของวัฒนธรรมไว้ต่างกัน เช่น

วัฒนธรรม เป็นวิธีการดำเนินชีวิตของสังคม เป็นแบบแผนการประพฤติและการแสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่างๆ ที่สมาชิกในสังคมเดียวกันสามารถเข้าใจและชาบชึ้งร่วมกันยอม รับและใช้ปฏิบัติร่วมกัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมนั้นๆ
วัฒนธรรม เป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เกิดจากระบบความสัมพันธ์ระหว่ามนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์ กับสังคม และมนุษย์กับธรรมชาติ วัฒนธรรมมีทั้งสาระและรูปแบบที่เป็นระบบความคิด วิธีการ โครงสร้างของสังคม สถาบัน ตลอดจนแบบแผนและทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นความหมายของภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ความชาญฉลาด ทักษะและเทคนิค อันเกิดจากพื้นความรู้ ที่ผ่าน กระบวนการ สืบทอด เลือกสรร ปรับปรุง พัฒนา การสร้างงาน ด้วยประสบการณ์ที่สะสม มาเป็นเวลานานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับยุคสมัย ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ที่เป็นของท้องที่ใดท้องที่หนึ่ง หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์และความ
เฉลียวฉลาดของแต่ละคน ซึ่งเกิดการเรียนรู้จากคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง และผู้นำของชุมชน ความรู้
ที่เกิดขึ้นจากคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง และผู้นำของชุมชน ลักษณะความรู้ที่เกิดขึ้นมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต
ซึ่งมีความสัมพันธ์กับคน สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และธรรมชาติ สืบทอดกันมาจากบรรพชนสู่ลูกหลาน ระหว่างการ
สืบทอดมีการปรับปรุง พัฒนาจนเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพของสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแ
วดล้อม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 622 คน กำลังออนไลน์