• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:218ac73c0a3a2f3f8c8c914eff712a7a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span><span style=\"font-size: 24pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 24pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รายงาน </span><span style=\"font-size: 24pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></o:p></span></span></span></span><span><span style=\"font-size: 24pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เรื่องภูมิปัญญาไทยด้านการประกอบอาชีพสมาชิก</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น.ส.อรุณรั</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ต</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น์<span>    </span><span> </span>ผาสุก<span>              </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">ม.4/2</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">เลขที่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  </span>12<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น.ส.อนุสนา<span>       </span>ดารีใบ<span>            </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">ม.4/2</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">เลขที่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>13<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">นาย ขุนพลมณี</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">   </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">ตาลวาวแวว</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">ม.4/2</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">เลขที่ 15</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น.ส.พรพิณ <span>    </span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">จอกเกล็ด</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>   </span><span>         </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">ม.4/2</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">เลขที่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>16<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น.ส.</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">นนทิญา </span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>มะปะโม<span>         </span><span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">ม.4/2</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">เลขที่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  </span>17<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น.ส.ญาณี<span>     </span>มากขำ<span>                  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">ม.4/2</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">เลขที่</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>18<o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คำ</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นำ</span></b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"AR-SA\">รายงานเป็นส่วนหนึ่งของวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมกลุ่มของดิฉันได้จัดทำขึ้นเพื่อได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในด้านการประกอบอาชีพว่ามีอะไรบ้างเป็นอย่างไรมีหลายแบบแต่ละแบบแตกต่างกัน จะได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้</span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b> </o:p></span></span></span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 7.2pt 0cm 14.4pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span><strong>ภูมิปัญญาชาวบ้าน</strong> หมายถึง ความรู้ของ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;action=edit\" title=\"ชาวบ้าน\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ชาวบ้าน</span></span></a> <span lang=\"TH\">ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องการทำมาหากิน เช่น การจับ</span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2\" title=\"ปลา\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ปลา</span></span></a> <span lang=\"TH\">การจับ</span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C&amp;action=edit\" title=\"สัตว์\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">สัตว์</span></span></a> <span lang=\"TH\">การปลูก</span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A\" title=\"พืช\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">พืช</span></span></a> <span lang=\"TH\">การเลี้ยงสัตว์ การทอผ้า การทำเครื่องมือการเกษตร </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทำให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน คือ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span><strong>การอนุรักษ์</strong> คือ การบำรุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น </span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%93%E0%B8%B5\" title=\"ประเพณี\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ประเพณี</span></span></a><span lang=\"TH\">ต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม </span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span><strong>การฟื้นฟู</strong> คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกำลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <b><span lang=\"TH\">การประยุกต์ </span></b><span lang=\"TH\">คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสมกับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การทำพิธีบวชต้นไม้ เพื่อให้เกิดสำนึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น </span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การประยุกต์ประเพณีการทำบุญข้าวเปลือกที่วัด มาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <b><span lang=\"TH\">การสร้างใหม่</span></b><span lang=\"TH\"> คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น </span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B9%8C\" title=\"การประดิษฐ์\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">การประดิษฐ์</span></span></a><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%87&amp;action=edit\" title=\"โปงลาง\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">โปงลาง</span></span></a> <span lang=\"TH\">การคิดโครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหารูปแบบใหม่ เช่น การสร้าง</span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7&amp;action=edit\" title=\"ธนาคารข้าว\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ธนาคารข้าว</span></span></a> <span lang=\"TH\">ธนาคารโคกระบือ การรวมกลุ่มแม่บ้าน เยาวชน เพื่อทำกิจกรรมกันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทำมาหากิน การร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติ</span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2\" title=\"ศาสนา\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ศาสนา</span></span></a> <a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1&amp;action=edit\" title=\"พิธีกรรม\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">พิธีกรรม</span></span></a><span lang=\"TH\">และ</span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%93%E0%B8%B5\" title=\"ประเพณี\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ประเพณี</span></span></a> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต เป็นแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น ความสัมพันธ์กับผู้ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">ความรู้เรื่องทำมาหากินมีอยู่มาก เช่นการทำไร่ทำนา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การจับปลา จับสัตว์ การผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมีลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทำ</span><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%B2&amp;action=edit\" title=\"เครื่องปั้นดินเผา\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">เครื่องปั้นดินเผา</span></span></a> <span lang=\"TH\">การแกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ </span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการทำมาหากิน</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">         <span lang=\"TH\">แม้วิถีชีวิตของชาวบ้านเมื่อก่อนจะดูเรียบง่ายกว่าทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติและแรงงานเป็นหลักในการทำมาหากิน แต่พวกเขาก็ต้องใช้สติปัญญาที่บรรพบุรุษถ่ายทอดมาให้เพื่อจะได้อยู่รอด ทั้งนี้เพราะปัญหาต่างๆ ในอดีตก็ยังมีไม่น้อย โดยเฉพาะเมื่อครอบครัวมีสมาชิกมากขึ้น จำเป็นต้องขยายที่ทำกิน ต้องหักร้างถางพง บุกเบิก พื้นที่ทำกินใหม่ การปรับพื้นที่ปั้นคันนาเพื่อทำนาซึ่งเป็นงานที่หนัก การทำไร่ทำนา ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์และดูแลรักษาให้เติบโตและได้ผล เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ความสามารถ การจับปลาล่าสัตว์ก็มีวิธีการ บางคนมีความ สามารถมาก รู้ว่าเวลาไหนที่ใดและวิธีใดจะจับปลาได้ดีที่สุด คนที่ไม่เก่งก็ต้องใช้เวลานานและได้ปลาน้อย การล่าสัตว์ก็เช่นเดียวกัน </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">การจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ก็เป็นความรู้ความสามารถที่มีมาแต่โบราณ คนทางภาคเหนือรู้จักบริหารน้ำเพื่อการเกษตรและเพื่อการบริโภคต่างๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัดแบ่งปันน้ำกันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกันมา มีหัวหน้าที่ทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้ำตามสัดส่วนและตามพื้นที่ทำกิน นับเป็นความรู้ที่ทำให้ชุมชนต่างๆ ที่อาศัยอยู่ใกล้ลำน้ำ ไม่ว่าต้นน้ำหรือปลายน้ำ ได้รับการแบ่งปันน้ำอย่างยุติธรรม ทุกคนได้ประโยชน์และอยู่ร่วมกันอย่างสันติ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">        <span lang=\"TH\">ชาวบ้านรู้จักการแปรรูปผลิตผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให้กินได้นาน การดองการหมัก เช่น ปลาร้า น้ำปลา ผักดอง ปลาเค็ม เนื้อเค็ม ปลาแห้ง เนื้อแห้ง การแปรรูปข้าวก็ทำได้มากมายนับร้อยชนิด เช่น ขนมต่างๆ แต่ ละพิธีกรรมและแต่ละงานบุญประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ำกัน ตั้งแต่ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอื่นๆ ซึ่งยังพอมีให้เห็นอยู่จำนวนหนึ่ง ในปัจจุบันส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยนมาเป็นการผลิตเพื่อขาย หรือเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน </span><o:p></o:p></span></span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการรักษาโรค</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">         <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาที่ใช้ในการดูแลรักษา และแก้ปัญหาสุขภาพ เช่น การใช้สมุนไพรเป็นยาและอาหาร พืชสมุนไพร หมอพื้นบ้าน และการแพทย์แผนโบราณ </span><o:p></o:p></span></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการกินอยู่</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">         <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาที่ใช้ในการถนอมอาหาร การปรุงอาหาร การกินอาหาร</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></p>\n', created = 1726719139, expire = 1726805539, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:218ac73c0a3a2f3f8c8c914eff712a7a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมิปัญญาไทยด้านการประกอบอาชีพ

รายงาน  เรื่องภูมิปัญญาไทยด้านการประกอบอาชีพสมาชิกน.ส.อรุณรัน์     ผาสุก              ม.4/2  เลขที่  12น.ส.อนุสนา       ดารีใบ            ม.4/2  เลขที่  13นาย ขุนพลมณี   ตาลวาวแวว  ม.4/2  เลขที่ 15น.ส.พรพิณ     จอกเกล็ด            ม.4/2  เลขที่  16น.ส.นนทิญา    มะปะโม           ม.4/2  เลขที่  17น.ส.ญาณี     มากขำ                  ม.4/2  เลขที่  18คำนำรายงานเป็นส่วนหนึ่งของวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมกลุ่มของดิฉันได้จัดทำขึ้นเพื่อได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในด้านการประกอบอาชีพว่ามีอะไรบ้างเป็นอย่างไรมีหลายแบบแต่ละแบบแตกต่างกัน จะได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องการทำมาหากิน เช่น การจับปลา การจับสัตว์ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การทอผ้า การทำเครื่องมือการเกษตร         ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทำให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน คือ         การอนุรักษ์ คือ การบำรุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม

        การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกำลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย

        การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสมกับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การทำพิธีบวชต้นไม้ เพื่อให้เกิดสำนึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น การประยุกต์ประเพณีการทำบุญข้าวเปลือกที่วัด มาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน         การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์โปงลาง การคิดโครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหารูปแบบใหม่ เช่น การสร้างธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือ การรวมกลุ่มแม่บ้าน เยาวชน เพื่อทำกิจกรรมกันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น         ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทำมาหากิน การร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี         ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต เป็นแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น ความสัมพันธ์กับผู้ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ         ความรู้เรื่องทำมาหากินมีอยู่มาก เช่นการทำไร่ทำนา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การจับปลา จับสัตว์ การผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมีลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทำเครื่องปั้นดินเผา การแกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการทำมาหากิน         แม้วิถีชีวิตของชาวบ้านเมื่อก่อนจะดูเรียบง่ายกว่าทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติและแรงงานเป็นหลักในการทำมาหากิน แต่พวกเขาก็ต้องใช้สติปัญญาที่บรรพบุรุษถ่ายทอดมาให้เพื่อจะได้อยู่รอด ทั้งนี้เพราะปัญหาต่างๆ ในอดีตก็ยังมีไม่น้อย โดยเฉพาะเมื่อครอบครัวมีสมาชิกมากขึ้น จำเป็นต้องขยายที่ทำกิน ต้องหักร้างถางพง บุกเบิก พื้นที่ทำกินใหม่ การปรับพื้นที่ปั้นคันนาเพื่อทำนาซึ่งเป็นงานที่หนัก การทำไร่ทำนา ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์และดูแลรักษาให้เติบโตและได้ผล เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ความสามารถ การจับปลาล่าสัตว์ก็มีวิธีการ บางคนมีความ สามารถมาก รู้ว่าเวลาไหนที่ใดและวิธีใดจะจับปลาได้ดีที่สุด คนที่ไม่เก่งก็ต้องใช้เวลานานและได้ปลาน้อย การล่าสัตว์ก็เช่นเดียวกัน         การจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ก็เป็นความรู้ความสามารถที่มีมาแต่โบราณ คนทางภาคเหนือรู้จักบริหารน้ำเพื่อการเกษตรและเพื่อการบริโภคต่างๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัดแบ่งปันน้ำกันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกันมา มีหัวหน้าที่ทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้ำตามสัดส่วนและตามพื้นที่ทำกิน นับเป็นความรู้ที่ทำให้ชุมชนต่างๆ ที่อาศัยอยู่ใกล้ลำน้ำ ไม่ว่าต้นน้ำหรือปลายน้ำ ได้รับการแบ่งปันน้ำอย่างยุติธรรม ทุกคนได้ประโยชน์และอยู่ร่วมกันอย่างสันติ         ชาวบ้านรู้จักการแปรรูปผลิตผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให้กินได้นาน การดองการหมัก เช่น ปลาร้า น้ำปลา ผักดอง ปลาเค็ม เนื้อเค็ม ปลาแห้ง เนื้อแห้ง การแปรรูปข้าวก็ทำได้มากมายนับร้อยชนิด เช่น ขนมต่างๆ แต่ ละพิธีกรรมและแต่ละงานบุญประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ำกัน ตั้งแต่ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอื่นๆ ซึ่งยังพอมีให้เห็นอยู่จำนวนหนึ่ง ในปัจจุบันส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยนมาเป็นการผลิตเพื่อขาย หรือเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการรักษาโรค         ภูมิปัญญาที่ใช้ในการดูแลรักษา และแก้ปัญหาสุขภาพ เช่น การใช้สมุนไพรเป็นยาและอาหาร พืชสมุนไพร หมอพื้นบ้าน และการแพทย์แผนโบราณ

 

ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการกินอยู่         ภูมิปัญญาที่ใช้ในการถนอมอาหาร การปรุงอาหาร การกินอาหาร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 568 คน กำลังออนไลน์