• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:803fcb2f864a4fb930fef63935de52ce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><dl>\n<dd><i>บทความนี้เกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ กาลิเลโอ สำหรับบทความเกี่ยวกับยานสำรวจดาวพฤหัสบดี ดูรายละเอียดใน <span style=\"color: #0000ff\">ยานกาลิเลโอ</span></i> </dd>\n</dl>\n<div class=\"thumb tright\">\n<div style=\"width: 182px\" class=\"thumbinner\">\n<img border=\"0\" width=\"180\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/cc/Galileo.arp.300pix.jpg/180px-Galileo.arp.300pix.jpg\" alt=\"ภาพของกาลิเลโอ กาลิเลอี\" height=\"221\" class=\"thumbimage\" /> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://th.wikipedia.org/skins-1.5/common/images/magnify-clip.png\'); width: 1px; height: 1px\"></span></span>\n</div>\n<p>\nภาพของกาลิเลโอ กาลิเลอี\n</p>\n</div>\n</div>\n</div>\n<p>\n<b>กาลิเลโอ กาลิเลอี</b> (Galileo Galilei) เกิด ณ เมือง<span style=\"color: #0000ff\">ปิซา</span> <span style=\"color: #0000ff\">ประเทศอิตาลี</span> ในวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">15 กุมภาพันธ์</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2107</span> (ค.ศ. 1564) – เสียชีวิต ณ เมือง<span style=\"color: #0000ff\">อาร์เซทิ</span> (Arcetri) <span style=\"color: #0000ff\">ฟลอเรนซ์</span> ในวันที่ <span style=\"color: #0000ff\">8 มกราคม</span> <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2185</span> (ค.ศ. 1642) มีบิดาชื่อ <span style=\"color: #0000ff\">วินเซนซิโอ กาลิเลอิ</span> ซึ่งมีอาชีพเป็น<span style=\"color: #0000ff\">นักดนตรี</span> และมีมารดาชื่อ <span style=\"color: #0000ff\">จูเลีย กาลิเลอิ</span> กาลิเลโอ เป็น<span style=\"color: #0000ff\">นักวิทยาศาสตร์</span> และยัง ถูกขนานนามในชื่อต่างๆ เช่น &quot;father of modern astronomy&quot; <i>(บิดาแห่งวิชาดาราศาสตร์สมัยใหม่)</i>, &quot;father of modern physics&quot; <i>(บิดาแห่งวิชาฟิสิกส์สมัยใหม่)</i> หรือ &quot;father of science&quot; <i>(บิดาแห่งวิทยาศาสตร์)</i> เป็นผู้ค้นพบ <span style=\"color: #0000ff\">ทฤษฎี</span>ทาง<span style=\"color: #0000ff\">วิทยาศาสตร์</span>มากมาย เช่น &quot;<span style=\"color: #0000ff\">กฎแห่งการแกว่งของลูกตุ้ม</span>&quot; และ &quot;<span style=\"color: #0000ff\">กฎการตกของวัตถุ</span>&quot;\n</p>\n<p>\nเหตุที่กาลิเลโอได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ เพราะเขาและ<span style=\"color: #0000ff\">โยฮันส์ เคปเลอร์</span> เป็นผู้ที่ก่อให้เกิด <span style=\"color: #0000ff\">การปฏิวัติวิทยาศาสตร์</span>(Scientific revolution)ขึ้น จริงอยู่ที่ในประวัติศาสตร์อันยาวนานของมนุษยชาติ เราเรียนรู้ที่จะสร้างอารยธรรมขึ้นมา จากการค้นคว้า ทดลอง และจดบันทึกองค์ความรู้สืบทอดต่อๆกันมา จากรุ่นสู่รุ่นตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ หากพิจารณาจริงๆกระบวนการดังกล่าวก็มีขั้นตอนครบถ้วนตาม<span style=\"color: #0000ff\">กระบวนการทางวิทยาศาสตร์</span>ที่สอดคล้องกับในแบบเรียนทุกประการ แล้วจะนับกาลิเลโอจะเป็นบิดาของวิทยาศาสตร์ ได้อย่างไร ในเมื่อเขาคงก็ไม่ได้เป็นคนแรกแน่ๆที่เริ่มใช้<span style=\"color: #0000ff\">กระบวนการทางวิทยาศาสตร์</span>ในโลกใบนี้ ประเด็นอันละเอียดอ่อนนี้คงจะเป็นประเด็นเปิดให้ถกเถียง กันอีกยาว แต่หากเรามองอีกแง่มุมหนึ่งของประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนกว่า คือจากมุมของ<span style=\"color: #0000ff\">การปฏิวัติวิทยาศาสตร์</span> โดยนับการตีพิมพ์หนังสือPhilosophiae Naturalis Principia Mathematica ของ<span style=\"color: #0000ff\">นิวตัน</span>เป็นการสิ้นสุดการปฏิวัติ กาลิเลโอก็นับว่าเป็นบิดาของวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง เพราะงานในยุคนั้นหลายๆชิ้นที่มีส่วนสำคัญต่อ <span style=\"color: #0000ff\">การปฏิวัติวิทยาศาสตร์</span> มีเพียงงานของกาลิเลโอเพียงคนเดียวที่โดดเด่นที่สุดในแง่ของการใช้<span style=\"color: #0000ff\">กระบวนการทางวิทยาศาสตร์</span>\n</p>\n<p>\nอิทธิพลการแสวงหาความรู้ที่มีแม่แบบจากหนังสือ The Elements ของ <span style=\"color: #0000ff\">ยุคลิด</span>ทรงพลังมากในสมัยของกาลิเลโอ เพราะเราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าการวัดจะไม่นำเราคลาดเคลื่อนจากความแท้จริง ยกตัวอย่างเช่น เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสามด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากจะต้องสอดคล้องกับ<span style=\"color: #0000ff\">ทฤษฎีบทพีทาโกรัส</span>ทุกรูป ? ความจริงข้อนี้คงไม่สามารถหาได้จากการทดลองสร้างสามเหลี่ยมมุมฉากขึ้นมาเป็นหมื่นๆรูปแล้ววัด? หากเราทดลองกับรูปสามเหลี่ยมุมฉากจำนวน <span class=\"texhtml\">10<sup>5</sup></span>รูปแล้วพบว่าจริง เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าจะจริงกับรูปที่<span class=\"texhtml\">10<sup>5</sup> + 1</span>จะจริงด้วย?\n</p>\n<p>\nดังนั้นเป็นที่น่าสงสัย(โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยของกาลิเลโอ)ว่าความจริงที่หาได้จากการทดลองและการวัด กับความจริงที่หาได้<span style=\"color: #0000ff\">การอนุมาน</span>(deduction)จาก<i>สิ่งที่ทุกคนยอมรับว่าจริงอยู่แล้ว</i> อย่างไหนเป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือกว่ากัน ซึ่งแน่นอนที่ความจริงแบบเรขาคณิตของยุคลิดที่รู้จักกันดีว่าเป็นเรขาคณิตของ&quot;วงเวียนและสันตรง&quot; (สันตรงคือไม้บรรทัดที่ไม่มีเสกลที่ใช้ขีดเส้นตรงได้เพียงอย่างเดียว=ไม่มีการวัดความยาว) ดูจะมีอิทธิพลเหนือกว่าความรู้ที่ได้จากการสังเกต ทดลอง และวัดค่าเป็นตัวเลขออกมาเป็นตัวเลขในแบบของกาลิเลโอ แต่ข้อมูลจากการสังเกต ทดลองวัดค่าเป็นตัวเลขในงาน<i><span style=\"color: #0000ff\">กฎการตกของวัตถุ</span></i>มีส่วนสำคัญที่ทำให้นิวตันค้นพบ<span style=\"color: #0000ff\">กฎแรงของโน้มถ่วง</span>(<span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; border-color: black\" class=\"tex\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/math/4/4/1/441f0641bfd4b7e7f2cfb7d19ee58fee.png\'); width: 1px; height: 1px\"></span></span>)ในครั้งแรก และงานที่ได้จากการทดลอง ทาง<span style=\"color: #0000ff\">กลศาสตร์</span>ของกาลิเลโอก็เป็นพื้นฐานสำคัญที่ทำให้<span style=\"color: #0000ff\">นิวตัน</span>สามารถสรุป<span style=\"color: #0000ff\">กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน</span> 3 ข้อ ออกมาได้ ซึ่งกฎทั้งสี่ข้อนี้ คือ ชัยชนะของวิทยาศาสตร์ที่เหนือกว่า กระบวนการแสวงหาความรู้เดิมที่ได้รับอิทธิพลจาก<span style=\"color: #0000ff\">นักปราชญ์ชาวกรีก</span>ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูงมาเป็นพันๆปี\n</p>\n<p>\nมีข้อสังเกตว่างานที่ใช้ตัดสินชี้ขาดชัยชนะของ<span style=\"color: #0000ff\">การปฏิวัติวิทยาศาสตร์</span>น้ำหนักน่าจะอยู่ที่งานของ<span style=\"color: #0000ff\">เคปเลอร์</span>ที่เป็นถือข้อพิสูจน์ <span style=\"color: #0000ff\">กฎแรงของโน้มถ่วง</span>ที่นิวตันพิสูจน์ได้เป็นครั้งที่สอง มากกว่างานของกาลิเลโอ แต่งานของ<span style=\"color: #0000ff\">เคปเลอร์</span>อาจไม่ได้มีความหมายตรงกับ <span style=\"color: #0000ff\">กระบวนการทางวิทยาศาสตร์</span>ตามมาตรฐานทั่วไป เราจึงไม่นับว่า<span style=\"color: #0000ff\">เคปเลอร์</span>เป็นบิดาวิทยาศาสตร์\n</p>\n<p>\nกาลิเลโอ นำเรื่อง <span style=\"color: #0000ff\">ดวงอาทิตย์</span>เป็นศูนย์กลางของ<span style=\"color: #0000ff\">จักรวาล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<h2><span class=\"editsection\">[<span style=\"color: #0000ff\">แก้</span>]</span> <span class=\"mw-headline\">งานเขียนของกาลิเลโอ</span></h2>\n<ul>\n<li>Two New Sciences, <span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1638</span> Lowys Elzevir (Louis Elsevier) Leiden (ในภาษาอิตาเลียน , Discorsi e Dimostrazioni Matematiche, intorno á due nuoue scienze Leida, Appresso gli Elsevirii 1638) </li>\n<li>Letters on Sunspots </li>\n<li>The Assayer (ในภาษาอิตาเลียน, Il Saggiatore) </li>\n<li>Dialogue Concerning the Two Chief World Systems, <span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1632</span> (ในภาษาอิตาเลียน, Dialogo dei due massimi sistemi del mondo) </li>\n<li>The Starry Messenger, <span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1610</span> Venice (ในภาษาลาติน, Sidereus Nuncius) </li>\n<li>Letter to Grand Duchess Christina </li>\n</ul>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h2><span class=\"editsection\">[<span style=\"color: #0000ff\">แก้</span>]</span> <span class=\"mw-headline\">ลำดับเวลา</span></h2>\n<ul>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2107</span> (ค.ศ. 1564) - วันที่ <span style=\"color: #0000ff\">15 กุมภาพันธ์</span> กาลิเลโอ เกิด ณ เมือง<span style=\"color: #0000ff\">ปิซา</span> <span style=\"color: #0000ff\">ประเทศอิตาลี</span> </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2117</span> (ค.ศ. 1574) - ย้ายที่อยู่ไปยังเมือง<span style=\"color: #0000ff\">ฟลอเรนซ์</span> และเข้าศึกษาต่อที่<span style=\"color: #0000ff\">โบสถ์วอลลอมโบรซา</span> </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2124</span> (ค.ศ. 1581) - เข้าศึกษาในคณะ<span style=\"color: #0000ff\">แพทย์ศาสตร์</span> ณ <span style=\"color: #0000ff\">มหาวิทยาลัยปิซา</span> </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2126</span> (ค.ศ. 1583) - ได้ค้นพบ <i><span style=\"color: #0000ff\">กฎการแกว่งของลูกตุ้ม</span></i> จากการแกว่งของโคมไฟ ณ มหาวิทยาลัยปิซา </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2127</span> (ค.ศ. 1584) - มีทุนทรัพย์ไม่พอในการเรียน จึงลาออกจากมหาวิทยาลัยปิซา และกลับมายังเมือง<span style=\"color: #0000ff\">ฟลอเรนซ์</span> </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2132</span> (ค.ศ. 1589) - ได้รับตำแหน่งเป็นอาจารย์วิชา<span style=\"color: #0000ff\">คณิตศาสตร์</span> ณ มหาวิทยาลัยปิซา </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2133</span> (ค.ศ. 1590) - ได้ค้นพบ <i><span style=\"color: #0000ff\">กฎการตกของวัตถุ</span></i> โดยมีการทดลองที่ <span style=\"color: #0000ff\">หอเอนเมืองปิซา</span> </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2135</span> (ค.ศ. 1592) - ได้เป็นอาจารย์วิชาคณิตศาสตร์ ณ <span style=\"color: #0000ff\">มหาวิทยาลัยปาดัว</span> </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2142</span> (ค.ศ. 1599) - เริ่มชีวิตคู่ โดยแต่งงานกับ <span style=\"color: #0000ff\">มารีนา กัมเบอร์</span> </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2152</span> (ค.ศ. 1609) - กาลิเลโอ ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2153</span> (ค.ศ. 1610) - ในเดือน <span style=\"color: #0000ff\">มกราคม</span> ได้ค้นพบดาวบริวารของ<span style=\"color: #0000ff\">ดาวพฤหัสบดี</span> และได้ออกหนังสือชื่อ <i>The Starry Messenger</i> และยังได้กลับมาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยปิซาอีกครั้ง ด้วยความอนุเคราะห์ของ ดยุคเมดิชี </li>\n<li>ปี <span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2185</span> (ค.ศ. 1642) - วันที่ <span style=\"color: #0000ff\">8 มกราคม</span> กาลิเลโอ เสียชีวิตท่ามกลางลูกศิษย์ไม่กี่คน </li>\n</ul>\n<div class=\"field field-type-text field-field-author\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item\">\n</div>\n</div>\n</div>\n', created = 1714917848, expire = 1715004248, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:803fcb2f864a4fb930fef63935de52ce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กาลิเลโอ

รูปภาพของ sss29132
บทความนี้เกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์ กาลิเลโอ สำหรับบทความเกี่ยวกับยานสำรวจดาวพฤหัสบดี ดูรายละเอียดใน ยานกาลิเลโอ
ภาพของกาลิเลโอ กาลิเลอี

 

ภาพของกาลิเลโอ กาลิเลอี

กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei) เกิด ณ เมืองปิซา ประเทศอิตาลี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2107 (ค.ศ. 1564) – เสียชีวิต ณ เมืองอาร์เซทิ (Arcetri) ฟลอเรนซ์ ในวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2185 (ค.ศ. 1642) มีบิดาชื่อ วินเซนซิโอ กาลิเลอิ ซึ่งมีอาชีพเป็นนักดนตรี และมีมารดาชื่อ จูเลีย กาลิเลอิ กาลิเลโอ เป็นนักวิทยาศาสตร์ และยัง ถูกขนานนามในชื่อต่างๆ เช่น "father of modern astronomy" (บิดาแห่งวิชาดาราศาสตร์สมัยใหม่), "father of modern physics" (บิดาแห่งวิชาฟิสิกส์สมัยใหม่) หรือ "father of science" (บิดาแห่งวิทยาศาสตร์) เป็นผู้ค้นพบ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มากมาย เช่น "กฎแห่งการแกว่งของลูกตุ้ม" และ "กฎการตกของวัตถุ"

เหตุที่กาลิเลโอได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ เพราะเขาและโยฮันส์ เคปเลอร์ เป็นผู้ที่ก่อให้เกิด การปฏิวัติวิทยาศาสตร์(Scientific revolution)ขึ้น จริงอยู่ที่ในประวัติศาสตร์อันยาวนานของมนุษยชาติ เราเรียนรู้ที่จะสร้างอารยธรรมขึ้นมา จากการค้นคว้า ทดลอง และจดบันทึกองค์ความรู้สืบทอดต่อๆกันมา จากรุ่นสู่รุ่นตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ หากพิจารณาจริงๆกระบวนการดังกล่าวก็มีขั้นตอนครบถ้วนตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับในแบบเรียนทุกประการ แล้วจะนับกาลิเลโอจะเป็นบิดาของวิทยาศาสตร์ ได้อย่างไร ในเมื่อเขาคงก็ไม่ได้เป็นคนแรกแน่ๆที่เริ่มใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในโลกใบนี้ ประเด็นอันละเอียดอ่อนนี้คงจะเป็นประเด็นเปิดให้ถกเถียง กันอีกยาว แต่หากเรามองอีกแง่มุมหนึ่งของประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนกว่า คือจากมุมของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ โดยนับการตีพิมพ์หนังสือPhilosophiae Naturalis Principia Mathematica ของนิวตันเป็นการสิ้นสุดการปฏิวัติ กาลิเลโอก็นับว่าเป็นบิดาของวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง เพราะงานในยุคนั้นหลายๆชิ้นที่มีส่วนสำคัญต่อ การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ มีเพียงงานของกาลิเลโอเพียงคนเดียวที่โดดเด่นที่สุดในแง่ของการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

อิทธิพลการแสวงหาความรู้ที่มีแม่แบบจากหนังสือ The Elements ของ ยุคลิดทรงพลังมากในสมัยของกาลิเลโอ เพราะเราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าการวัดจะไม่นำเราคลาดเคลื่อนจากความแท้จริง ยกตัวอย่างเช่น เราจะรู้ได้อย่างไรว่าสามด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากจะต้องสอดคล้องกับทฤษฎีบทพีทาโกรัสทุกรูป ? ความจริงข้อนี้คงไม่สามารถหาได้จากการทดลองสร้างสามเหลี่ยมมุมฉากขึ้นมาเป็นหมื่นๆรูปแล้ววัด? หากเราทดลองกับรูปสามเหลี่ยมุมฉากจำนวน 105รูปแล้วพบว่าจริง เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าจะจริงกับรูปที่105 + 1จะจริงด้วย?

ดังนั้นเป็นที่น่าสงสัย(โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยของกาลิเลโอ)ว่าความจริงที่หาได้จากการทดลองและการวัด กับความจริงที่หาได้การอนุมาน(deduction)จากสิ่งที่ทุกคนยอมรับว่าจริงอยู่แล้ว อย่างไหนเป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือกว่ากัน ซึ่งแน่นอนที่ความจริงแบบเรขาคณิตของยุคลิดที่รู้จักกันดีว่าเป็นเรขาคณิตของ"วงเวียนและสันตรง" (สันตรงคือไม้บรรทัดที่ไม่มีเสกลที่ใช้ขีดเส้นตรงได้เพียงอย่างเดียว=ไม่มีการวัดความยาว) ดูจะมีอิทธิพลเหนือกว่าความรู้ที่ได้จากการสังเกต ทดลอง และวัดค่าเป็นตัวเลขออกมาเป็นตัวเลขในแบบของกาลิเลโอ แต่ข้อมูลจากการสังเกต ทดลองวัดค่าเป็นตัวเลขในงานกฎการตกของวัตถุมีส่วนสำคัญที่ทำให้นิวตันค้นพบกฎแรงของโน้มถ่วง()ในครั้งแรก และงานที่ได้จากการทดลอง ทางกลศาสตร์ของกาลิเลโอก็เป็นพื้นฐานสำคัญที่ทำให้นิวตันสามารถสรุปกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 3 ข้อ ออกมาได้ ซึ่งกฎทั้งสี่ข้อนี้ คือ ชัยชนะของวิทยาศาสตร์ที่เหนือกว่า กระบวนการแสวงหาความรู้เดิมที่ได้รับอิทธิพลจากนักปราชญ์ชาวกรีกซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูงมาเป็นพันๆปี

มีข้อสังเกตว่างานที่ใช้ตัดสินชี้ขาดชัยชนะของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์น้ำหนักน่าจะอยู่ที่งานของเคปเลอร์ที่เป็นถือข้อพิสูจน์ กฎแรงของโน้มถ่วงที่นิวตันพิสูจน์ได้เป็นครั้งที่สอง มากกว่างานของกาลิเลโอ แต่งานของเคปเลอร์อาจไม่ได้มีความหมายตรงกับ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามมาตรฐานทั่วไป เราจึงไม่นับว่าเคปเลอร์เป็นบิดาวิทยาศาสตร์

กาลิเลโอ นำเรื่อง ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล

[แก้] งานเขียนของกาลิเลโอ

  • Two New Sciences, ค.ศ. 1638 Lowys Elzevir (Louis Elsevier) Leiden (ในภาษาอิตาเลียน , Discorsi e Dimostrazioni Matematiche, intorno á due nuoue scienze Leida, Appresso gli Elsevirii 1638)
  • Letters on Sunspots
  • The Assayer (ในภาษาอิตาเลียน, Il Saggiatore)
  • Dialogue Concerning the Two Chief World Systems, ค.ศ. 1632 (ในภาษาอิตาเลียน, Dialogo dei due massimi sistemi del mondo)
  • The Starry Messenger, ค.ศ. 1610 Venice (ในภาษาลาติน, Sidereus Nuncius)
  • Letter to Grand Duchess Christina

 

[แก้] ลำดับเวลา

  • ปี พ.ศ. 2107 (ค.ศ. 1564) - วันที่ 15 กุมภาพันธ์ กาลิเลโอ เกิด ณ เมืองปิซา ประเทศอิตาลี
  • ปี พ.ศ. 2117 (ค.ศ. 1574) - ย้ายที่อยู่ไปยังเมืองฟลอเรนซ์ และเข้าศึกษาต่อที่โบสถ์วอลลอมโบรซา
  • ปี พ.ศ. 2124 (ค.ศ. 1581) - เข้าศึกษาในคณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยปิซา
  • ปี พ.ศ. 2126 (ค.ศ. 1583) - ได้ค้นพบ กฎการแกว่งของลูกตุ้ม จากการแกว่งของโคมไฟ ณ มหาวิทยาลัยปิซา
  • ปี พ.ศ. 2127 (ค.ศ. 1584) - มีทุนทรัพย์ไม่พอในการเรียน จึงลาออกจากมหาวิทยาลัยปิซา และกลับมายังเมืองฟลอเรนซ์
  • ปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) - ได้รับตำแหน่งเป็นอาจารย์วิชาคณิตศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยปิซา
  • ปี พ.ศ. 2133 (ค.ศ. 1590) - ได้ค้นพบ กฎการตกของวัตถุ โดยมีการทดลองที่ หอเอนเมืองปิซา
  • ปี พ.ศ. 2135 (ค.ศ. 1592) - ได้เป็นอาจารย์วิชาคณิตศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยปาดัว
  • ปี พ.ศ. 2142 (ค.ศ. 1599) - เริ่มชีวิตคู่ โดยแต่งงานกับ มารีนา กัมเบอร์
  • ปี พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609) - กาลิเลโอ ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์
  • ปี พ.ศ. 2153 (ค.ศ. 1610) - ในเดือน มกราคม ได้ค้นพบดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี และได้ออกหนังสือชื่อ The Starry Messenger และยังได้กลับมาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยปิซาอีกครั้ง ด้วยความอนุเคราะห์ของ ดยุคเมดิชี
  • ปี พ.ศ. 2185 (ค.ศ. 1642) - วันที่ 8 มกราคม กาลิเลโอ เสียชีวิตท่ามกลางลูกศิษย์ไม่กี่คน
สร้างโดย: 
ด.ญ.ปาณิสรา กันทะวาด ม.1/8 เลขที่ 17 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 505 คน กำลังออนไลน์