• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ปัญหา \'access denied\'', 'user/8603', '', '18.118.93.123', 0, 'd4694212aa1371548947d1b8cdd14756', 494, 1715965386) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0ff2b8300f42b7e35f79118f0d123172' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #800080\"><strong>การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์</strong></span> <br />\n           เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการดำเนินงานทางธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก 4 ประการคือ<br />\n          1.  เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจที่ดีขึ้น <br />\n          2.  เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น <br />\n          3.  เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีขึ้น <br />\n          4.  เพื่อการจัดการกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น   <br />\n<span style=\"color: #800080\"><strong>องค์ประกอบของการสื่อสาร <br />\n</strong></span>          1.  ผู้ส่งข้อมูล (Sender) ทำหน้าที่ส่งข้อมูล <br />\n          2.  ผู้รับข้อมูล (Receiver) ทำหน้าที่รับข้อมูล <br />\n          3.  ข้อมูล (Data) <br />\n          4.  สื่อนำข้อมูล (Medium) ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่ายข้อมูล <br />\n          5.  โปรโตคอล (Protocol) กฎหรือวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล<br />\n<span style=\"color: #800080\"><strong>การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร <br />\n</strong></span>          การสื่อสารข้อมูลในยุคปัจจุบัน มีการประยุกต์เทคโนโลยีการสื่อสารในองค์การมีดังนี้  <br />\n<span style=\"color: #800080\"><u>ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail)</u> <br />\n</span>          การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่นจะต้องมีชื่อและที่อยู่ในรูปแบบอีเมล์แอดเดรส   <br />\n<u><span style=\"color: #800080\">โทรสาร (Facsimile หรือ Fax)</span></u> <br />\n          เป็นการส่งข้อมูล เป็นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ กราฟต่างๆจากคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีอุปกรณ์ที่เรียกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเครื่องรับโทรสาร <br />\n<span style=\"color: #800080\"><u>วอยซ์เมล (Voice Mail)</u></span>                <br />\n          เป็นการส่งข้อความเป็นเสียงพูดให้กลายเป็นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายการสื่อสาร<br />\n<span style=\"color: #800080\"><u>การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing)</u></span>                <br />\n          เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง  จะต้องมีอุปกรณ์สำหรับการบันทึกภาพและอุปกรณ์บันทึกเสียง <br />\n<u><span style=\"color: #800080\">การระบุตำแหน่งด้วยดาวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs)</span></u>                <br />\n          เป็นระบบที่ใช้วิเคราะห์และระบุตำแหน่งของคน สัตว์ หรือสิ่งของที่เป็นเป้าหมายของระบบ <br />\n<span style=\"color: #800080\"><u>กรุ๊ปแวร์(groupware)</u></span>                <br />\n           เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของกลุ่มบุคคลให้สามารถทำงานร่วมกัน การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบเครือข่าย  <br />\n<span style=\"color: #800080\"><u>การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Fund Transfer : EFT)</u></span>                <br />\n          ปัจจุบันผู้ใช้สามารถชำระค่าสินค้าและบริการโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์จากบัญชีธนาคารที่ให้บริการโอนเงินอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย  <br />\n<span style=\"color: #800080\"><u>การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI)</u></span>                <br />\n          เป็นระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐานสากล <br />\n <span style=\"color: #800080\"><u>การระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ(RFID)</u></span> <br />\n          เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ปัจจุบันมีการนำ RFID ไปประยุกต์ใช้งานหลากหลายประเภท <br />\n<span style=\"color: #800080\"><strong>ชนิดของสัญญาณข้อมูล</strong></span> <br />\n          1.  สัญญาณแอนะล็อก(Analog Signal)                <br />\n    เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (Sine Wave)โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน <span style=\"color: #800080\"><u>เฮิรตซ์  (Hertz)</u></span> คือหน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก                                                                               2.  สัญญาณดิจิทัล(Digital Signal)                <br />\n     สัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปสัญญาณของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก <span style=\"color: #800080\"><u>โมเด็ม(Modulator DEModulator หรือ Modem)</u></span>                    <br />\n          <span style=\"color: #000000\">โมเด็ม(Modem)</span> เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก <br />\nทิศทางการส่งข้อมูล(Transmission Mode) สามารถจำแนกทิศทางการส่งข้อมูลได้ 3 รูปแบบ <br />\n          1.  การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission) <br />\n          2.  การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission) <br />\n          3.  การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission)  <br />\n<span style=\"color: #800080\"><strong>ตัวกลางการสื่อสาร</strong></span> <br />\n          1.  สื่อนำข้อมูลแบบมีสาย(Wired Media)  สื่อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้มี 3 ชนิดดังนี้ <br />\n               -  สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair Cable)                <br />\n                  สายคู่บิดเกลียว เป็นสายสัญญาณนำข้อมูลไฟฟ้า  จำนวนสายจะมีเป็นคู่  แต่ละคู่จะมีพันบิดเกลียว <br />\n                -  สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)   เป็นสายสัญญาณนำข้อมูลไฟฟ้า มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง500 MHz สายโคแอกเชียลมีความมเร็วในการส่งข้อมูลและราคาสูงกว่าสายบิดเกลียว <br />\n                -  สายใยแก้วนำแสง(Optical Fiber Cable)  สายสัญญาณทำจากใยแก้วหรือสารนำแสงหุ้มด้วยวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งสูงกับความเร็วแสง สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนำแสง คือ แสง และ สัญญาณรบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก  <br />\n          2.  สื่อนำข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media) การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของการสื่อสาร เช่น <br />\n           - แสงอินฟราเรด (Infrared)  เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยใช้แสงอินฟราเรดเป็นสื่อกลาง นิยมใช้สำหรับการสือสารข้อมูลระยะใกล้ <br />\n           -  สัญญาณวิทยุ (Radio Wave)  เป็นสื่อนำข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ที่มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่อนวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ <br />\n           -  ไมโครเวฟภาคพื้นดิน (Terrestrial Microwave) เป็นการสื่อสารไรสายอีกประเภหนึ่ง                                                          -  การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication)  เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม <span style=\"color: #800080\"><strong>หลักเกณฑ์การพิจารณาเลือกสื่อนำข้อมูล</strong></span> <br />\n          1.  ราคา <br />\n          2.  ความเร็ว <br />\n          3.  ระยะทาง <br />\n          4.  สัญญาณรบกวนที่อาจจะเกิดขึ้น <br />\n          5.  ความปลอดภัยของข้อมูล  <br />\n<span style=\"color: #800080\"><strong>มาตรฐานเครื่อข่ายไร้สาย (Wireless Networking Protocols)</strong></span> <br />\n          1. บลูทูธ (Bluetooth) <br />\n          2. ไวไฟ (Wi-Fi) <br />\n          3. ไว-แมกซ์ (Wi-MAX)\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #993366\"><strong>ให้นักเรียนตอบคำถามและแสดงความเห็นในประเด็นต่อไปนี้ </strong></span>                                                      </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">        1.  นักเรียนคิดว่าการสื่อข้อมูล ในปัจจุบันมีความสำคัญและประโยชน์อย่างไร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><u>ตอบ</u>   ทำให้การสื่อสารมีความรวดเร็ว  สะดวกสบายมากขึ้น  ไม่เสียเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">        2.การสื่อสารข้อมูลต้องมีองค์ประกอบพื้นฐานและเกี่ยวข้องกับข่าวสารประเภทใด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">ตอบ     1.   ผู้ส่งข้อมูล (Sender) <br />\n          2.  ผู้รับข้อมูล (Receiver) <br />\n          3.  ข้อมูล (Data) <br />\n          4.  สื่อนำข้อมูล (Medium) <br />\n          5.  โปรโตคอล (Protocol) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">         3.การสื่อสารข้อมูลมีรูปแบบ/ทิศทางการสื่อสารอย่างไร มีอุปกรณ์เครื่องมือใด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">ตอบ   ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์   โทรสาร  วอยซ์เมล  การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์  การระบุตำแหน่งด้วยดาวเทียม                                                                                                                                      </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">        </span><span style=\"color: #cc99ff\"> 4.นักเรียนคิดว่าการสื่อสารข้อมูลมีโทษอย่างไร<br />\n              ถ้าการสื่อสารไม่ถูกต้องชัดเจน อาจจะทำให้การสื่อสารผิดผลาดระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n         5.บลูทูธ (Bluetooth)  ไวไฟ(WiFi)  ไว-แมกซ์ (Wi-max) มีลักษณะอย่างไรมีวิะการใช้อย่างไร\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\">     Bluetooth คือ ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ และไม่จำเป็นจะต้องใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด <br />\n     WIFI คือ  องค์กรหนึ่ง ที่ทดสอบผลิตภัณฑ์ Wireless Lan หรือระบบ Network แบบไร้สาย ภายใต้เทคโนโลยีการสื่อสาร ภายใต้มาตราฐาน IEEE 802.11 ว่าอุปกรณ์ทุกตัวซึ่งต่างยี่ห้อกันนั้นมันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยไม่มีปัญหา เช่น Notebook ตัวนี้ หรือ PDA ตัวนี้มันมี Wi-Fi  ด้วยหละ ! นั่นก็หมายความว่า อุปกรณ์ชิ้นนั้น มันสามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องตัวอื่นในระบบ Network แบบไร้สายได้ โดยอยู่ภายใต้ มาตราฐานเทคโนโลยี <br />\n      ไวแมกซ์ (WiMAX เป็นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16e ขึ้นโดยได้การอนุมัติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE: Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งมีรัศมีทำการที่ 30 ไมล์ (ประมาณ 50 กิโลเมตร) หมายความว่า ไวแมกซ์ สามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบไครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิ่งกว่านั้นยังมีอัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งเร็วกว่า 3G ถึง 30 เท่า  มาตรฐาน IEEE 802.16e หรือ ไวแมกซ์ มีความสามารถในการส่งกระจายสัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลายจุด (Point-to-multipoint) ได้พร้อมๆ กัน โดยมีความสามารถรองรับการทำงานในแบบ Non-Line-of-Sight ได้ สามารถทำงานได้แม้กระทั่งมีสิ่งกีดขวาง (ต้นไม้ อาคาร) ได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ ไวแมกซ์ สามารถช่วยให้ผู้ที่ใช้งานสามารถขยายเครือข่ายเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้กว้างขวางด้วยรัศมีทำการถึง 31 ไมล์ (ประมาณ 48 กิโลเมตร) และมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดถึง 75 Mbps มาตรฐาน IEEE 802.16e นี้ใช้งานอยู่บนคลื่นไมโครเวฟที่ความถี่ระหว่าง 2-11 กิกะเฮรตซ์ (GHz) และยังสามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์มาตรฐานชนิดอื่นๆ ที่ออกมาก่อนหน้านี้ได้เป็นอย่างดี<br />\n</span>\n</p>\n', created = 1715965396, expire = 1716051796, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0ff2b8300f42b7e35f79118f0d123172' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
           เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการดำเนินงานทางธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก 4 ประการคือ
          1.  เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจที่ดีขึ้น
          2.  เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
          3.  เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีขึ้น
          4.  เพื่อการจัดการกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น  
องค์ประกอบของการสื่อสาร
          1.  ผู้ส่งข้อมูล (Sender) ทำหน้าที่ส่งข้อมูล
          2.  ผู้รับข้อมูล (Receiver) ทำหน้าที่รับข้อมูล
          3.  ข้อมูล (Data)
          4.  สื่อนำข้อมูล (Medium) ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่ายข้อมูล
          5.  โปรโตคอล (Protocol) กฎหรือวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล
การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร
          การสื่อสารข้อมูลในยุคปัจจุบัน มีการประยุกต์เทคโนโลยีการสื่อสารในองค์การมีดังนี้ 
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail)
          การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่นจะต้องมีชื่อและที่อยู่ในรูปแบบอีเมล์แอดเดรส  
โทรสาร (Facsimile หรือ Fax)
          เป็นการส่งข้อมูล เป็นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ กราฟต่างๆจากคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีอุปกรณ์ที่เรียกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเครื่องรับโทรสาร
วอยซ์เมล (Voice Mail)               
          เป็นการส่งข้อความเป็นเสียงพูดให้กลายเป็นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายการสื่อสาร
การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing)               
          เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง  จะต้องมีอุปกรณ์สำหรับการบันทึกภาพและอุปกรณ์บันทึกเสียง
การระบุตำแหน่งด้วยดาวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs)               
          เป็นระบบที่ใช้วิเคราะห์และระบุตำแหน่งของคน สัตว์ หรือสิ่งของที่เป็นเป้าหมายของระบบ
กรุ๊ปแวร์(groupware)               
           เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของกลุ่มบุคคลให้สามารถทำงานร่วมกัน การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบเครือข่าย 
การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Fund Transfer : EFT)               
          ปัจจุบันผู้ใช้สามารถชำระค่าสินค้าและบริการโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์จากบัญชีธนาคารที่ให้บริการโอนเงินอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย 
การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI)               
          เป็นระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐานสากล
 การระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ(RFID)
          เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ปัจจุบันมีการนำ RFID ไปประยุกต์ใช้งานหลากหลายประเภท
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
          1.  สัญญาณแอนะล็อก(Analog Signal)                
    เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (Sine Wave)โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เฮิรตซ์  (Hertz) คือหน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก                                                                               2.  สัญญาณดิจิทัล(Digital Signal)                
     สัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปสัญญาณของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก โมเด็ม(Modulator DEModulator หรือ Modem)                   
          โมเด็ม(Modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก
ทิศทางการส่งข้อมูล(Transmission Mode) สามารถจำแนกทิศทางการส่งข้อมูลได้ 3 รูปแบบ
          1.  การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission)
          2.  การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission)
          3.  การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission) 
ตัวกลางการสื่อสาร
          1.  สื่อนำข้อมูลแบบมีสาย(Wired Media)  สื่อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้มี 3 ชนิดดังนี้
               -  สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair Cable)               
                  สายคู่บิดเกลียว เป็นสายสัญญาณนำข้อมูลไฟฟ้า  จำนวนสายจะมีเป็นคู่  แต่ละคู่จะมีพันบิดเกลียว 
                -  สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)   เป็นสายสัญญาณนำข้อมูลไฟฟ้า มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง500 MHz สายโคแอกเชียลมีความมเร็วในการส่งข้อมูลและราคาสูงกว่าสายบิดเกลียว
                -  สายใยแก้วนำแสง(Optical Fiber Cable)  สายสัญญาณทำจากใยแก้วหรือสารนำแสงหุ้มด้วยวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งสูงกับความเร็วแสง สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนำแสง คือ แสง และ สัญญาณรบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก 
          2.  สื่อนำข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media) การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของการสื่อสาร เช่น 
           - แสงอินฟราเรด (Infrared)  เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยใช้แสงอินฟราเรดเป็นสื่อกลาง นิยมใช้สำหรับการสือสารข้อมูลระยะใกล้ 
           -  สัญญาณวิทยุ (Radio Wave)  เป็นสื่อนำข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ที่มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่อนวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ 
           -  ไมโครเวฟภาคพื้นดิน (Terrestrial Microwave) เป็นการสื่อสารไรสายอีกประเภหนึ่ง                                                          -  การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication)  เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม หลักเกณฑ์การพิจารณาเลือกสื่อนำข้อมูล
          1.  ราคา
          2.  ความเร็ว
          3.  ระยะทาง
          4.  สัญญาณรบกวนที่อาจจะเกิดขึ้น
          5.  ความปลอดภัยของข้อมูล 
มาตรฐานเครื่อข่ายไร้สาย (Wireless Networking Protocols)
          1. บลูทูธ (Bluetooth)
          2. ไวไฟ (Wi-Fi)
          3. ไว-แมกซ์ (Wi-MAX)

ให้นักเรียนตอบคำถามและแสดงความเห็นในประเด็นต่อไปนี้                                                      

        1.  นักเรียนคิดว่าการสื่อข้อมูล ในปัจจุบันมีความสำคัญและประโยชน์อย่างไร

ตอบ   ทำให้การสื่อสารมีความรวดเร็ว  สะดวกสบายมากขึ้น  ไม่เสียเวลาและประหยัดค่าใช้จ่าย

        2.การสื่อสารข้อมูลต้องมีองค์ประกอบพื้นฐานและเกี่ยวข้องกับข่าวสารประเภทใด

ตอบ     1.   ผู้ส่งข้อมูล (Sender) 
          2.  ผู้รับข้อมูล (Receiver) 
          3.  ข้อมูล (Data)
          4.  สื่อนำข้อมูล (Medium) 
          5.  โปรโตคอล (Protocol)

         3.การสื่อสารข้อมูลมีรูปแบบ/ทิศทางการสื่อสารอย่างไร มีอุปกรณ์เครื่องมือใด

ตอบ   ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์   โทรสาร  วอยซ์เมล  การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์  การระบุตำแหน่งด้วยดาวเทียม                                                                                                                                     

         4.นักเรียนคิดว่าการสื่อสารข้อมูลมีโทษอย่างไร
              ถ้าการสื่อสารไม่ถูกต้องชัดเจน อาจจะทำให้การสื่อสารผิดผลาดระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ


         5.บลูทูธ (Bluetooth)  ไวไฟ(WiFi)  ไว-แมกซ์ (Wi-max) มีลักษณะอย่างไรมีวิะการใช้อย่างไร

     Bluetooth คือ ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ และไม่จำเป็นจะต้องใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด 
     WIFI คือ  องค์กรหนึ่ง ที่ทดสอบผลิตภัณฑ์ Wireless Lan หรือระบบ Network แบบไร้สาย ภายใต้เทคโนโลยีการสื่อสาร ภายใต้มาตราฐาน IEEE 802.11 ว่าอุปกรณ์ทุกตัวซึ่งต่างยี่ห้อกันนั้นมันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยไม่มีปัญหา เช่น Notebook ตัวนี้ หรือ PDA ตัวนี้มันมี Wi-Fi  ด้วยหละ ! นั่นก็หมายความว่า อุปกรณ์ชิ้นนั้น มันสามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องตัวอื่นในระบบ Network แบบไร้สายได้ โดยอยู่ภายใต้ มาตราฐานเทคโนโลยี 
      ไวแมกซ์ (WiMAX เป็นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16e ขึ้นโดยได้การอนุมัติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE: Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซึ่งมีรัศมีทำการที่ 30 ไมล์ (ประมาณ 50 กิโลเมตร) หมายความว่า ไวแมกซ์ สามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบไครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิ่งกว่านั้นยังมีอัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งเร็วกว่า 3G ถึง 30 เท่า  มาตรฐาน IEEE 802.16e หรือ ไวแมกซ์ มีความสามารถในการส่งกระจายสัญญาณในลักษณะจากจุดเดียวไปยังหลายจุด (Point-to-multipoint) ได้พร้อมๆ กัน โดยมีความสามารถรองรับการทำงานในแบบ Non-Line-of-Sight ได้ สามารถทำงานได้แม้กระทั่งมีสิ่งกีดขวาง (ต้นไม้ อาคาร) ได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ ไวแมกซ์ สามารถช่วยให้ผู้ที่ใช้งานสามารถขยายเครือข่ายเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้กว้างขวางด้วยรัศมีทำการถึง 31 ไมล์ (ประมาณ 48 กิโลเมตร) และมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดถึง 75 Mbps มาตรฐาน IEEE 802.16e นี้ใช้งานอยู่บนคลื่นไมโครเวฟที่ความถี่ระหว่าง 2-11 กิกะเฮรตซ์ (GHz) และยังสามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์มาตรฐานชนิดอื่นๆ ที่ออกมาก่อนหน้านี้ได้เป็นอย่างดี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 299 คน กำลังออนไลน์