• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cabb98998f3d224556e5b439d804e851' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 26pt; color: #984806; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">กำ</span><span style=\"font-size: 26pt; color: #e36c0a; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เนิด</span><span style=\"font-size: 26pt; color: #fabf8f; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ดวง</span><span style=\"font-size: 26pt; color: #fbd4b4; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ดาว</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><o:p> <span style=\"font-size: 16pt; color: #7f7f7f; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">The star*</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">มันเกิดขึ้นได้อย่างไรกันนะ....รึว่ามีใครที่ผลิตมันขึ้นมา</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">? </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ขอเชิญทุกท่านสัมผัสกับความพิศวงน่าตื่นเต้นของดวงดาวได้เลยค่ะ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">^^</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>                </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ดาวเกิดขึ้นเมื่อ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> อะตอมของธาตุเบาๆถูกบีบภายไต้ความดันมากพอที่จะทำให้เกิด </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Nuclear</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">fusion</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ดวงดาวทั้งหมดเป็นผลพวงจากการสมดุลพอดีของแรงต่างๆ ซึ่งมีดังนี้: แรงโน้มถ่วง อัดอะตอมใน </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">interstellargas</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> จนกระทั่งปฏิกิริยา </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">fusion</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> เริ่มขึ้น และทันทีที่ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้น มันจะออกแรงดันไปข้างนอก (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">outwardpressure)</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> ตราบที่แรงดันเข้าภายใน ซึ่งคือแรงโน้มถ่วงเท่ากับแรงดันออกภายนอกที่ได้จากปฏิกิริยา </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">fusion</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ดวงดาวยังคงเสถียรในกาแลกซีของเราและกาแลกซีอื่นๆที่คล้ายของเราต่างก็มีกลุ่มหมอกแก๊ส ซึ่งเราเรียกว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">naebulaenabula</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> อยู่ห่างหลายปีแสง และมีมวลมากพอที่จะทำให้เกิดดาวหลายพันดวงซึ่งอาจมีขนาดเทียบเท่าดวงอาทิตย์ แก๊สส่วนใหญ่ใน </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">nabulae</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> ประกอบด้วยโมเลกุลของไฮโดรเจน และ ฮีเลียม แต่ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">nabulae</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> ส่วนใหญ่ยังประกอบด้วยธาตุอื่นๆ และสารอินทรีย์ที่ซับซ้อน อะตอมหนักๆเหล่านี้เป็นซากที่เหลือจากดาวเก่าๆที่ได้ระเบิดขึ้นในปรากฏการณ์ที่เรียกว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">supernova</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> ส่วนที่มาของสารอินทรีย์ยังคงเร้นลับอยู่ความไม่สม่ำเสมอของความหนาแน่นของแก๊ส ทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงที่ดึงโมเลกุลของแก๊สเข้าหากันนักดาราศาสตร์บางคนคิดว่าแรงโน้มถ่วง หรือ การก่อกวนจากสนามแม่เหล็กทำให้ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">nabulae</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> แตกสลายเมื่อแก๊สเย็นลง มันจะสูญเสียพลังงานศักย์ ซึ่งเป็นผลให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้น เมื่อเกิดการแตกสลายไปเรื่อยๆอย่างนี้ อุณหภูมิย่อมสูงขึ้น กลุ่มแก๊สหมอกนี้จึงแยกออกเป็นกลุ่มแก๊สหมอกที่เล็กลง ซึ่งผลที่สุดจะกลายเป็นดาวแกนของกลุ่มเมฆล่มได้เร็วกว่าส่วนนอก กลุ่มแก๊สจึงหมุนเร็วขึ้นเพื่ออนุรักษ์โมเมนตัม เมื่อตัวแกนมีอุณหภูมิถึงประมาณ 2000 องศาเคลวิน โมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจนจะแตกออกเป็นไฮโดรเจนอะตอม ในที่สุดแกนนี้มีอุณหภูมิถึง 10000 องศาเคลวิน และมันเริ่มคล้ายๆดาวดวงหนึ่งเมื่อปฏิกิริยา </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">fusion</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> เริ่มขึ้น เมื่อมันแตกสลายจนถึงขนาด 30 เท่าของดวงอาทิตย์ มันก็มีสภาพเป็นดาวมาขึ้น (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">prostar)</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เมื่ออุณหภูมิและความดันในแกนนี้มากเพียงพอที่จะทำให้ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Nuclear</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">fusion</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> ดำเนินต่อไป แรงดันออกภายนอกจะต้านกับแรงโน้มถ่วง ถึงขั้นนี้ แกนนี้มีขนาดประมาณเกือบเท่าดวงอาทิตย์ พวกฝุ่น ซึ่งเป็นอนุภาคต่างที่ล้อมรอบดาวนี้เริ่มร้อนขึ้น และเปล่งแสงออกมาจ้า ซึ่งอยู่ในย่านอินฟราเรด ณ จุดนี้ แสงที่ตามองเห็นได้จากดาวดวงใหม่นี้ไม่อาจทะลุฝุ่นเล่านั้น ผลที่สุด </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">radiation pressure</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> จากดาวนี้จะเป่าฝุ่นนี้ออกไป และดาวดวงใหม่จึงเริ่มโตขึ้น สมบัติ และ อายุของดาวใหม่นี้ขึ้นกับปริมาณแก๊สที่ยังตกค้างอยู่</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'FreesiaUPC\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 24pt; color: #4f6228; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดวง</span><span style=\"font-size: 24pt; color: #76923c; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาว</span><span style=\"font-size: 24pt; color: #c2d69b; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ในระ</span><span style=\"font-size: 24pt; color: #d6e3bc; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">บบสุริยะ</span><span style=\"font-size: 24pt; color: #0d0d0d; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span><b><span style=\"font-size: 24pt; color: #0d0d0d; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><v:shapetype u1:preferrelative=\"t\" u1:spt=\"75\" coordsize=\"21600,21600\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path u1:connecttype=\"rect\" u1:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\"></v:path><o:lock u2:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape u1:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 24.2pt; z-index: 1; left: 0px; margin-left: 0px; width: 126pt; position: absolute; height: 159pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1026\"><v:imagedata u1:title=\"sun\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></v:shape> </span></b><span style=\"font-size: 24pt; color: #0d0d0d; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 24pt; color: #0d0d0d; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #7030a0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดวงอาทิตย์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #7030a0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Sun)</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> </span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">กำเนิดของชีวิต ดวงอาทิตย์ให้พลังงานความร้อน ให้ความอบอุ่น ให้แสงงสว่างแกมวลสรรพสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกที่สุดอยู่ห่างจากโลก 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์</span><v:shape u1:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 3.3pt; z-index: 2; margin-left: 0px; width: 135pt; position: absolute; height: 178.5pt\" id=\"_x0000_s1027\"><v:imagedata u1:title=\"moon\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image004.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></v:shape><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #002060; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดวงจันทร์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #002060; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Moon)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1025\"> <v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ของดวงจันทร์เป็นรูปจันทร์เสี้ยว ส่วนรูปหญิงสาวกำลังยิงธนูคือ เทพีแห่งการล่าสัตว์ ดวงจันทร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างมากเป็นอันดับหนึ่งในเวลากลางคืน บดวงจันทร์ไม่มีน้ำและบรรยากาศห่อหุ้มเป็นบริวาณ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">        <span lang=\"TH\">เดียวของโลกและอยู่ใกล้มากที่สุด </span><o:p> </o:p><o:p> </o:p><o:p> </o:p><v:shape u1:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -18pt; z-index: 3; margin-left: 0px; width: 126pt; position: absolute; height: 149.25pt\" id=\"_x0000_s1028\"><v:imagedata u1:title=\"mercury\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></v:shape><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1026\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape> </span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวพุธ (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Mercury)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: green; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1028\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ของดาวพุธเป็นรูปงูพันไม้เท้า มีปีกดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กกว่าโลก เคลื่อนที่เร็วที่สุด จึงเปรียบเสมือนเทพเจ้าผู้ส่งข่าว อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด สามรถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า บนดาวพุธไม่มีบรรยากาศ พื้นผิวเต็มไปด้วยหลุมบ่อ มีหน้าผาสูง หุบเหว และรอยแยก </span><v:shape u1:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 9.85pt; z-index: 4; margin-left: 0px; width: 126pt; position: absolute; height: 157.5pt\" id=\"_x0000_s1029\"><v:imagedata u1:title=\"venus\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image007.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></v:shape><span style=\"font-size: 18pt; color: #00b0f0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวศุกร์ (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #00b0f0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Venus)</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1029\"> <v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ของดาวศุกร์ เป็นรูปกระจกเงาที่มีมือถือ ใช้แทนสัญลักษณ์สากลของเพศหญิง ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีแสงสว่างสวยงามมาก ชาวโรมันจึงเรียกดาวดวงนี้ว่า วีนัส เป็น เทพธิดาแห่งความงาม สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีบรรยากาศหนาทึบเต็มไปด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไอของกรดกำมะถน เป็นดาวเคราะห์ที่มขนาดใกล้เคียงกับโลกมากที่สุด จึงได้ชื่อว่าเป็น ดาวคู่แฝดกับโลก ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวาร</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">โลก (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Earth)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> <v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1045\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ของโลกเป็นรูปวงกลมรอบกากบาทซึ่งหมายถึงเส้นศูนย์สูตร และส้นลองจิจูดของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 1 ดวง และพื้นผิวส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยน้ำ โลกจึงได้ชื่อว่าเป็น ดาวเคราะห์แห่งพื้นน้ำ </span><v:shape u1:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 22.05pt; z-index: 6; margin-left: 0px; width: 126pt; position: absolute; height: 153pt\" id=\"_x0000_s1031\"><v:imagedata u1:title=\"mars\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image011.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></v:shape><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #006666; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวอังคาร (</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #006666; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Mars)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1031\"> <v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1032\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ของดาวอังคารเป็นรูปโล่และหอก ใช้แทนสัญลักษณ์สากลของเพศชาย เป็นดาวเคราะห์สีแดง ได้ชื่อว่าเป็น เทพเจ้าแห่งสงคราม เพราะปรากฏเป็นสีแดงในท้องฟ้า อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 4 มีบรรยากาศเบาบาง ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พื้นผิวมีแต่รอยแยก หลุมบ่อ และภูเขาไฟอยู่ทั่วไปไม่มีสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 2 ดวง ชื่อ โฟบอส และ ไดมอส </span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #92d050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวพฤหัสบดี (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #92d050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Jupiter)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> <v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1034\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ของดาวพฤหัสบดีเป็นรูปสายฟ้าแลบ เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาดใหญ่กว่าโลกประมาณ 12 เทา อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 บรรยากาศส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ไม่มีก๊าซออกซิเจน มีจุดแดงใหญ่และแถบสีคล้ำพาดผ่านขวางตัวดวงเป็นลักษณะเด่นมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 16 ดวง ที่มีขนาดใหญ่ 4 ดวงเห็นชัดเจน ซึ่งกาลิเลโอเป็นผู้ส่องกล้องค้นพบเรียกว่า ดวงจันทร์กาลิเลียน </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">   <span lang=\"TH\">ได้แก่ ไอโอ ยุโรปา แกนิมีด และ คัลลิสโต สำหรับ ดวงจันทร์แนนิมีด (</span>Ganymede)<span lang=\"TH\"> เป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึง <st1:metricconverter u3:st=\"on\" ProductID=\"5,260 กิโลเมตร\">5,<span lang=\"TH\">260 กิโลเมตร </span></st1:metricconverter></span></span><v:shape u1:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 23.35pt; z-index: 8; margin-left: 0px; width: 117pt; position: absolute; height: 143.25pt\" id=\"_x0000_s1033\"><v:imagedata u1:title=\"saturn\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image015.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></v:shape><b><span style=\"font-size: 18pt; color: yellow; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวเสาร์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: yellow; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Saturn)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1035\"> <v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1036\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ดาวเสาร์เป็นรูปเคียว เพราะดาวเสาร์เป็น เทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีสีเหลืองอ่อน เมื่อดูด้วยกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวนล้อมรอบสวยงาม 7 ชั้น เป็นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เป็นบริวารมากถึง 18 ดวง <v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1037\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>ดวงจันทร์ดวงใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ชื่อว่า ไททัน (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Titan)<span lang=\"TH\"> มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดวงจันทร์แกนิมีด (</span>Gany-made)<span lang=\"TH\">ของดาวพฤหัสบดี <br />\n</span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #330066; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1038\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #ffc000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวยูเรนัส (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #ffc000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Uranus)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> <v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1039\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ดาวยูเรนัสแทนสวรรค์ เพราะยูเรนัสเป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า ของกรีก เป็นดาวเคราะห์ที่ วิลเลียม เฮอร์เชล ค้นพบโดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ส่องค้นพบปี พ.ศ. 2324 มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดี คือ ประกอบด้วยก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียม ดาวยูเรนัสมีสีฟ้าเขียว มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 15 ดวง ชื่อไทยของดาวยูเรนัสคือ ดาวมฤตยู </span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวเนปจูน (<st1:place u3:st=\"on\"><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Neptune<span lang=\"TH\">)</span></span></b></st1:place></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1040\"> <v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1041\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ดาวเนปจูนเป็นรูปตรีศร หรือสามง่าม เนปจูนเป็น เทพเจ้าแห่งทะเล ของโรมัน มีสามง่ามเป็นอาวุธ เป็นดาวเคราะห์ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ส่องกล้องโทรทรรศน์ค้นพบโอย จอห์น คูช อะดัมส์ ชาวอังกฤษ และ เลอแวร์รีเย ชาวฝรั่งเศส บรรยากาศบนดาวเนปจูนเต็มไปด้วยก๊าซมีเทน มีจุดสีดำ มีวงแหวนล้อมรอบ 5 ชั้น และมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 8 ดวง ชื่อไทยของดาวเนปจูนคือ ดาวเกตุ </span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #c00000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดาวพลูโต (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #c00000; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Pluto)</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #66ccff; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 15pt; height: 15pt\" id=\"_x0000_i1043\"><v:imagedata u1:href=\"http://www.rayongwit.ac.th/library/astro/wanich/dot.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\COM\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>สัญลักษณ์ดาวพลูโตเป็นรูปตัว </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">P<span lang=\"TH\"> และ </span>L<span lang=\"TH\"> รวมกัน เป็นอักษรย่อของ </span>Percival<span lang=\"TH\"> <st1:city u3:st=\"on\"><st1:place u3:st=\"on\">Lowell</st1:place></st1:city></span><span lang=\"TH\"> นักดาราศาสตร์สหรัฐฯ ผู้มีส่วนช่วยให้ค้นพบดาวพลูโต ผู้ส่องกล้องค้นพบโดยไคลด์ ทอมบอห์ ค้นพบที่หอดูดาวโลเวลล์ เมื่อ พ.ศ. 2473 ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะและอยู่ไกลมากเป็นอันดับที่ 9 จึงไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ดาวพลูโตมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 1 ดวงเหมือนกับโลก ชื่อ ชารอน (</span>Charon)<span lang=\"TH\"> ชื่อไทยของดาวพลูโตคือ ดาวยม </span><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 24pt; color: #0d0d0d; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Calibri\"> </span></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715674289, expire = 1715760689, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cabb98998f3d224556e5b439d804e851' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ce1fbc5cdaf037006e25fc291d2941f8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-undecided.gif\" alt=\"Undecided\" title=\"Undecided\" />\n</p>\n', created = 1715674289, expire = 1715760689, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ce1fbc5cdaf037006e25fc291d2941f8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ebdd98c7086c7d24d6f909e71e3f5a40' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nดีจ้า...\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nเรื่องน่าสนใจมากๆเลย\n</p>\n<p>\nไปเม้นดาวหาวยีนส์ด้วยนะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" title=\"Innocent\" />\n</p>\n', created = 1715674289, expire = 1715760689, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ebdd98c7086c7d24d6f909e71e3f5a40' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แก้ไขเป็นชิ้นที่ 2 แล้วค่ะ เรื่อง ดวงดาว ***

กำเนิดดวงดาว The star*  มันเกิดขึ้นได้อย่างไรกันนะ....รึว่ามีใครที่ผลิตมันขึ้นมา

ขอเชิญทุกท่านสัมผัสกับความพิศวงน่าตื่นเต้นของดวงดาวได้เลยค่ะ  ^^

                  ดาวเกิดขึ้นเมื่อ  อะตอมของธาตุเบาๆถูกบีบภายไต้ความดันมากพอที่จะทำให้เกิด Nuclear fusionดวงดาวทั้งหมดเป็นผลพวงจากการสมดุลพอดีของแรงต่างๆ ซึ่งมีดังนี้: แรงโน้มถ่วง อัดอะตอมใน interstellargas จนกระทั่งปฏิกิริยา fusion เริ่มขึ้น และทันทีที่ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้น มันจะออกแรงดันไปข้างนอก (outwardpressure) ตราบที่แรงดันเข้าภายใน ซึ่งคือแรงโน้มถ่วงเท่ากับแรงดันออกภายนอกที่ได้จากปฏิกิริยา fusionดวงดาวยังคงเสถียรในกาแลกซีของเราและกาแลกซีอื่นๆที่คล้ายของเราต่างก็มีกลุ่มหมอกแก๊ส ซึ่งเราเรียกว่า naebulaenabula อยู่ห่างหลายปีแสง และมีมวลมากพอที่จะทำให้เกิดดาวหลายพันดวงซึ่งอาจมีขนาดเทียบเท่าดวงอาทิตย์ แก๊สส่วนใหญ่ใน nabulae ประกอบด้วยโมเลกุลของไฮโดรเจน และ ฮีเลียม แต่ nabulae ส่วนใหญ่ยังประกอบด้วยธาตุอื่นๆ และสารอินทรีย์ที่ซับซ้อน อะตอมหนักๆเหล่านี้เป็นซากที่เหลือจากดาวเก่าๆที่ได้ระเบิดขึ้นในปรากฏการณ์ที่เรียกว่า supernova ส่วนที่มาของสารอินทรีย์ยังคงเร้นลับอยู่ความไม่สม่ำเสมอของความหนาแน่นของแก๊ส ทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงที่ดึงโมเลกุลของแก๊สเข้าหากันนักดาราศาสตร์บางคนคิดว่าแรงโน้มถ่วง หรือ การก่อกวนจากสนามแม่เหล็กทำให้ nabulae แตกสลายเมื่อแก๊สเย็นลง มันจะสูญเสียพลังงานศักย์ ซึ่งเป็นผลให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้น เมื่อเกิดการแตกสลายไปเรื่อยๆอย่างนี้ อุณหภูมิย่อมสูงขึ้น กลุ่มแก๊สหมอกนี้จึงแยกออกเป็นกลุ่มแก๊สหมอกที่เล็กลง ซึ่งผลที่สุดจะกลายเป็นดาวแกนของกลุ่มเมฆล่มได้เร็วกว่าส่วนนอก กลุ่มแก๊สจึงหมุนเร็วขึ้นเพื่ออนุรักษ์โมเมนตัม เมื่อตัวแกนมีอุณหภูมิถึงประมาณ 2000 องศาเคลวิน โมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจนจะแตกออกเป็นไฮโดรเจนอะตอม ในที่สุดแกนนี้มีอุณหภูมิถึง 10000 องศาเคลวิน และมันเริ่มคล้ายๆดาวดวงหนึ่งเมื่อปฏิกิริยา fusion เริ่มขึ้น เมื่อมันแตกสลายจนถึงขนาด 30 เท่าของดวงอาทิตย์ มันก็มีสภาพเป็นดาวมาขึ้น (prostar)เมื่ออุณหภูมิและความดันในแกนนี้มากเพียงพอที่จะทำให้ Nuclear fusion ดำเนินต่อไป แรงดันออกภายนอกจะต้านกับแรงโน้มถ่วง ถึงขั้นนี้ แกนนี้มีขนาดประมาณเกือบเท่าดวงอาทิตย์ พวกฝุ่น ซึ่งเป็นอนุภาคต่างที่ล้อมรอบดาวนี้เริ่มร้อนขึ้น และเปล่งแสงออกมาจ้า ซึ่งอยู่ในย่านอินฟราเรด ณ จุดนี้ แสงที่ตามองเห็นได้จากดาวดวงใหม่นี้ไม่อาจทะลุฝุ่นเล่านั้น ผลที่สุด radiation pressure จากดาวนี้จะเป่าฝุ่นนี้ออกไป และดาวดวงใหม่จึงเริ่มโตขึ้น สมบัติ และ อายุของดาวใหม่นี้ขึ้นกับปริมาณแก๊สที่ยังตกค้างอยู่     ดวงดาวในระบบสุริยะ
  ดวงอาทิตย์ (Sun) กำเนิดของชีวิต ดวงอาทิตย์ให้พลังงานความร้อน ให้ความอบอุ่น ให้แสงงสว่างแกมวลสรรพสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกที่สุดอยู่ห่างจากโลก 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์ ดวงจันทร์ (Moon) สัญลักษณ์ของดวงจันทร์เป็นรูปจันทร์เสี้ยว ส่วนรูปหญิงสาวกำลังยิงธนูคือ เทพีแห่งการล่าสัตว์ ดวงจันทร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างมากเป็นอันดับหนึ่งในเวลากลางคืน บดวงจันทร์ไม่มีน้ำและบรรยากาศห่อหุ้มเป็นบริวาณ        เดียวของโลกและอยู่ใกล้มากที่สุด     ดาวพุธ (Mercury) สัญลักษณ์ของดาวพุธเป็นรูปงูพันไม้เท้า มีปีกดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กกว่าโลก เคลื่อนที่เร็วที่สุด จึงเปรียบเสมือนเทพเจ้าผู้ส่งข่าว อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด สามรถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า บนดาวพุธไม่มีบรรยากาศ พื้นผิวเต็มไปด้วยหลุมบ่อ มีหน้าผาสูง หุบเหว และรอยแยก ดาวศุกร์ (Venus) สัญลักษณ์ของดาวศุกร์ เป็นรูปกระจกเงาที่มีมือถือ ใช้แทนสัญลักษณ์สากลของเพศหญิง ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีแสงสว่างสวยงามมาก ชาวโรมันจึงเรียกดาวดวงนี้ว่า วีนัส เป็น เทพธิดาแห่งความงาม สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีบรรยากาศหนาทึบเต็มไปด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไอของกรดกำมะถน เป็นดาวเคราะห์ที่มขนาดใกล้เคียงกับโลกมากที่สุด จึงได้ชื่อว่าเป็น ดาวคู่แฝดกับโลก ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวาร  โลก (Earth) สัญลักษณ์ของโลกเป็นรูปวงกลมรอบกากบาทซึ่งหมายถึงเส้นศูนย์สูตร และส้นลองจิจูดของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 1 ดวง และพื้นผิวส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยน้ำ โลกจึงได้ชื่อว่าเป็น ดาวเคราะห์แห่งพื้นน้ำ   ดาวอังคาร (Mars) สัญลักษณ์ของดาวอังคารเป็นรูปโล่และหอก ใช้แทนสัญลักษณ์สากลของเพศชาย เป็นดาวเคราะห์สีแดง ได้ชื่อว่าเป็น เทพเจ้าแห่งสงคราม เพราะปรากฏเป็นสีแดงในท้องฟ้า อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 4 มีบรรยากาศเบาบาง ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พื้นผิวมีแต่รอยแยก หลุมบ่อ และภูเขาไฟอยู่ทั่วไปไม่มีสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 2 ดวง ชื่อ โฟบอส และ ไดมอส ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) สัญลักษณ์ของดาวพฤหัสบดีเป็นรูปสายฟ้าแลบ เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาดใหญ่กว่าโลกประมาณ 12 เทา อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 5 บรรยากาศส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ไม่มีก๊าซออกซิเจน มีจุดแดงใหญ่และแถบสีคล้ำพาดผ่านขวางตัวดวงเป็นลักษณะเด่นมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 16 ดวง ที่มีขนาดใหญ่ 4 ดวงเห็นชัดเจน ซึ่งกาลิเลโอเป็นผู้ส่องกล้องค้นพบเรียกว่า ดวงจันทร์กาลิเลียน    ได้แก่ ไอโอ ยุโรปา แกนิมีด และ คัลลิสโต สำหรับ ดวงจันทร์แนนิมีด (Ganymede) เป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึง 5,260 กิโลเมตร ดาวเสาร์ (Saturn) สัญลักษณ์ดาวเสาร์เป็นรูปเคียว เพราะดาวเสาร์เป็น เทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีสีเหลืองอ่อน เมื่อดูด้วยกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวนล้อมรอบสวยงาม 7 ชั้น เป็นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เป็นบริวารมากถึง 18 ดวง ดวงจันทร์ดวงใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ชื่อว่า ไททัน (Titan) มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดวงจันทร์แกนิมีด (Gany-made)ของดาวพฤหัสบดี
 ดาวยูเรนัส (Uranus) สัญลักษณ์ดาวยูเรนัสแทนสวรรค์ เพราะยูเรนัสเป็นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า ของกรีก เป็นดาวเคราะห์ที่ วิลเลียม เฮอร์เชล ค้นพบโดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ส่องค้นพบปี พ.ศ. 2324 มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดี คือ ประกอบด้วยก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียม ดาวยูเรนัสมีสีฟ้าเขียว มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 15 ดวง ชื่อไทยของดาวยูเรนัสคือ ดาวมฤตยู ดาวเนปจูน (Neptune) สัญลักษณ์ดาวเนปจูนเป็นรูปตรีศร หรือสามง่าม เนปจูนเป็น เทพเจ้าแห่งทะเล ของโรมัน มีสามง่ามเป็นอาวุธ เป็นดาวเคราะห์ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ส่องกล้องโทรทรรศน์ค้นพบโอย จอห์น คูช อะดัมส์ ชาวอังกฤษ และ เลอแวร์รีเย ชาวฝรั่งเศส บรรยากาศบนดาวเนปจูนเต็มไปด้วยก๊าซมีเทน มีจุดสีดำ มีวงแหวนล้อมรอบ 5 ชั้น และมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 8 ดวง ชื่อไทยของดาวเนปจูนคือ ดาวเกตุ ดาวพลูโต (Pluto) สัญลักษณ์ดาวพลูโตเป็นรูปตัว P และ L รวมกัน เป็นอักษรย่อของ Percival Lowell นักดาราศาสตร์สหรัฐฯ ผู้มีส่วนช่วยให้ค้นพบดาวพลูโต ผู้ส่องกล้องค้นพบโดยไคลด์ ทอมบอห์ ค้นพบที่หอดูดาวโลเวลล์ เมื่อ พ.ศ. 2473 ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะและอยู่ไกลมากเป็นอันดับที่ 9 จึงไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ดาวพลูโตมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 1 ดวงเหมือนกับโลก ชื่อ ชารอน (Charon) ชื่อไทยของดาวพลูโตคือ ดาวยม    

 

รูปภาพของ virat

ครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ

Undecided

รูปภาพของ knw32249

ดีจ้า...

 

เรื่องน่าสนใจมากๆเลย

ไปเม้นดาวหาวยีนส์ด้วยนะ

 

Innocent

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 459 คน กำลังออนไลน์