• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:db9d40b0a61dde1a29df0e04fececaca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n    <img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u21037/Test-past.jpg\" height=\"150\" /></p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\">1.  เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล พืชนั้นจะไม่มีปากใบในที่นี้สาหร่ายหางกระรอกคือพืชชนิดนั้น  กระบองเพชรมีการเปลี่ยนใบให้เป็นหนาม ปากใบก็อยู่ตามลำต้น  เป็นปากใบชนิดที่อยู่ลึกกว่าชั้นเอพิเดอร์มิสเพื่อลดการคายน้ำ</span></p>\n<p>2.  เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล พืชไม่มีอวัยวะที่ใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนแก๊สโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนแก๊สของพืชส่วนใหญ่เกิดในชั้นมีโซฟิลล์ของใบ  โดยเฉพาะในชั้นสปันจีเซลล์ซึ่งมีเซลล์เกาะกันอยู่หลวม ๆ มีช่องว่างระหว่างเซลล์ นอกจากนั้นพื้นที่ผิวของสปันจีเซลล์ยังมีความชื้นและสัมผัสกับอากาศโดยตรง ทำให้เหมาะต่อการแลกเปลี่ยนแก๊ส\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3.  เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล เซลล์พืชใช้ออกซิเจนในการหายใจ  เช่นเดียวกับเซลล์สัตว์เพราะเซลล์นำออกซิเจนไปสลายอาหาร  เพื่อให้ได้พลังงานสำหรับนำไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ  ของเซลล์แล้ว  คายคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา</span></p>\n<p>4.  เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล ถึงแม้ในสปันจีเซลล์จะมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจน  แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการหายใจ  เพราะแก๊สทั้งสองต่างจะแพร่ไปสู่บริเวณที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า  ในเซลล์ใบเมื่อมีการหายใจปริมาณ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะเพิ่มสูงทำให้มีความหนาแน่นมากจึงแพร่ออกสู่บรรยากาศ  ในขณะที่ความหนาแน่นของแก๊สออกซิเจนในบรรยากาศสูงกว่าในใบ  แก๊สออกซิเจนจะแพร่ออกจากบรรยากาศผ่านปากใบเข้ามา เช่นเดียวกับที่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ผ่านปากใบออกไป\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5.  เฉลยข้อ ค<br />\nเหตุผล ในแต่ละวันพืชนำคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง  ในช่วงไม่ต้องใช้แสงมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจ  เพราะปฏิกิริยาไม่ต้องใช้แสงนั้นเกิดได้ทุกเวลาไม่จำเป็นว่าจะต้องมีหรือไม่มีแสง</span></p>\n<p>6.  เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล เลนทิเซล (Lenticel)  เป็นรอยแตกเล็กๆ บนลำต้นหรือกิ่งของพืชบางชนิด ทำให้อากาศสามารถผ่านเข้าออกได้\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">7.  เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล เนื่องจากการตัดต้นไม้หรือกิ่งไม้ออกจากต้นเดิม เซลล์ในส่วนนี้ยังไม่ตาย  จึงยังมีการหายใจและขบวนการเมแทบอลิซึมอยู่ เมื่อนำกิ่งไม้ที่ตัดออกจากต้นเหล่านั้นมากองรวม ๆ กัน  อุณหภูมิในกองนั้นจะสูงกว่าปกติ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8.  เฉลยข้อ  ข<br />\nเหตุผล เมื่อเราเก็บเกี่ยวผลผลิตพืชออกมาจากต้นเดิมแล้ว  ไม่ว่าจะเป็นส่วนใดของพืช อาหารและน้ำในส่วนของผลผลิตนั้นจะสูญเสียไปเนื่องจากการหายใจโดยไม่มีการชดเชยจากแหล่งอื่น  ผลไม้หรือผลผลิตเหล่านั้นจึงเหี่ยวเฉา  หรือมีน้ำหนักลดลง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">9.  เฉลยข้อ  ง   จากการศึกษาของนักวิชาการเกษตรพบว่า  อัตราการหายใจของผลผลิตทางการเกษตรสามารถวัดได้จากปริมาณออกซิเจนที่ใช้ไป  หรือปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ปล่อยออกมาในระหว่างเซลล์มีการเจริญพัฒนาจนกระทั่งหมดอายุ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">10.   เฉลยข้อ  ง<br />\nเหตุผล ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจสูง  จะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวสั้น  คือ  เด็ดออกมาจากต้นทิ้งไว้ไม่นานก็เหี่ยวเฉา  ส่วนผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจต่ำจะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวนานกว่า  หมายถึง  เด็ดออกมาจากต้นแล้วทิ้งไว้ได้นานกว่าจะเหี่ยวเฉา</span></p>\n<p>11.  เฉลยข้อ  ง<br />\nเหตุผล  น้ำผ่านทางรากไม่ต้องใช้พลังงาน  เพราะจะมีการแพร่การออสโมซิส  และอิมบิบิ  ชัน แต่ไม่มีแอกทีฟทราสปอร์ต เพราะแอกทีฟทรานสปอร์ตต้องใช้พลังงาน \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">12.  เฉลยข้อ  ข<br />\nเหตุผล  ขนรากที่มีอายุน้อย ๆ จะมีแวคิวโอลหลายอัน  เมื่อเซลล์อายุมากขึ้นจะเก็บน้ำใน  เซลล์มากขึ้น  ทำให้แวคิวโอลมีขนาดใหญ่ขึ้น  แวคิวโอลขนาดเล็ก ๆ จะรวมกัน  จนอาจพบได้เพียงอันเดียว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">13.  เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล  โดยปกติแล้วสารละลายที่อยู่รอบ ๆ รากจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลาย   ภายในราก  น้ำภายนอกจึงจะออสโมซิสเข้ารากได้  ในกรณีกลับกันเมื่อสารละลาย  ภายนอกรากมีความเข้มข้นมากกว่าสารละลายภายในราก  จะทำให้น้ำจากราก   ออสโมซิสออก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">14.  เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล  การลำเลียงน้ำจากรากขึ้นไปสู่ใบจะผ่านขั้นตอนดังต่อไปนี้<br />\n  เอพิเดอร์มิสซึ่งเป็นเซลล์เดียวกันกับขนรากผ่านคอร์เทกซ์เข้าไซเลม  ซึ่งต่อเนื่อง  ไปถึงเส้นใบ (Vein)</span></p>\n<p>15.  เฉลยข้อ ค<br />\nเหตุผล  ต้นที่สามจะไม่เหี่ยวหรือเหี่ยวก็เหี่ยวน้อยที่สุด  เพราะไม่ได้ทิ้งให้ต้นไม้เหี่ยวก่อน  นำไปตัดใต้น้ำแล้วจึงแช่สี  ทำให้ไม่มีฟองอากาศในท่อลำเลียง  น้ำสีจะเข้าสู่ลำต้น  ได้เร็วที่สุด  ต้นจึงไม่เหี่ยว\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">16.  เฉลยข้อ  ง<br />\nเหตุผล  ภาวการณ์สูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำ (Guttation) เกิดในสภาวะที่ความชื้นในอากาศ  สูง  พืชไม่สามารถคายน้ำทางปากใบได้  จึงเกิดการคายน้ำออกทางรู  Hydathode   การคายน้ำแบบนี้เรียกว่า Guttation  </span></p>\n<p>17.  เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล  อาหารที่สร้างที่ใบด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนั้น   เมื่อส่งไปยังรากจะถูก  ใช้ไปในกระบวนการหายใจระดับเซลล์  ทำให้ได้พลังงานและนำไปใช้ในการ  เจริญเติบโตในระบบราก ส่วนที่เหลือยังเก็บสะสมเอาไว้ในรากเช่น  รากกระชาย    ถั่วพู  หัวผักกาด  มันเทศ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">18.  เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล  Tracheid  เป็นท่อของ ไซเลมไม่ใช่ของโฟลเอ็ม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">19. เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล  สารเคมีที่พืชส่งไปลำเลียงได้ง่าย  คือ  สารละลายกลูโคส</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">20. เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล  เมือพืชสังเคราะห์อาหารด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแล้ว พืชจะส่งอาหาร  ไปเก็บสะสมไว้ในเซลล์Parenchyma  ซึ่งเป็นเซลล์อ่อนนุ่ม  อมน้ำได้ดี</span></p>\n<p>21. เฉลยข้อ ง<br />\nเหตุผล  ในท่อโฟลเอ็มมีการลำเลียงอาหารของต้นพืชที่เป็น  Host  ดังนั้น Rootless and    Parasitic  climbing  plant  จะส่ง Sucker  เข้าไปในส่วนโฟลเอ็ม</p>\n<p>22.  เฉลยข้อ  ง<br />\nเหตุผล  น้ำผ่านทางรากไม่ต้องใช้พลังงาน  เพราะจะมีการแพร่การออสโมซิส  และอิมบิบิ  ชัน แต่ไม่มีแอกทีฟทราสปอร์ต เพราะแอกทีฟทรานสปอร์ตต้องใช้พลังงาน \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">23.  เฉลยข้อ  ข<br />\nเหตุผล  ขนรากที่มีอายุน้อย ๆ จะมีแวคิวโอลหลายอัน  เมื่อเซลล์อายุมากขึ้นจะเก็บน้ำใน  เซลล์มากขึ้น  ทำให้แวคิวโอลมีขนาดใหญ่ขึ้น  แวคิวโอลขนาดเล็ก ๆ จะรวมกัน  จนอาจพบได้เพียงอันเดียว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">24.  เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล  โดยปกติแล้วสารละลายที่อยู่รอบ ๆ รากจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลาย   ภายในราก  น้ำภายนอกจึงจะออสโมซิสเข้ารากได้  ในกรณีกลับกันเมื่อสารละลาย  ภายนอกรากมีความเข้มข้นมากกว่าสารละลายภายในราก  จะทำให้น้ำจากราก   ออสโมซิสออก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">25.  เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล  การลำเลียงน้ำจากรากขึ้นไปสู่ใบจะผ่านขั้นตอนดังต่อไปนี้<br />\n  เอพิเดอร์มิสซึ่งเป็นเซลล์เดียวกันกับขนรากผ่านคอร์เทกซ์เข้าไซเลม  ซึ่งต่อเนื่อง  ไปถึงเส้นใบ (Vein)</span></p>\n<p>26.  เฉลยข้อ ค<br />\nเหตุผล  ต้นที่สามจะไม่เหี่ยวหรือเหี่ยวก็เหี่ยวน้อยที่สุด  เพราะไม่ได้ทิ้งให้ต้นไม้เหี่ยวก่อน  นำไปตัดใต้น้ำแล้วจึงแช่สี  ทำให้ไม่มีฟองอากาศในท่อลำเลียง  น้ำสีจะเข้าสู่ลำต้น  ได้เร็วที่สุด  ต้นจึงไม่เหี่ยว\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">27.  เฉลยข้อ  ง<br />\nเหตุผล  ภาวการณ์สูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำ (Guttation) เกิดในสภาวะที่ความชื้นในอากาศ  สูง  พืชไม่สามารถคายน้ำทางปากใบได้  จึงเกิดการคายน้ำออกทางรู  Hydathode   การคายน้ำแบบนี้เรียกว่า Guttation  </span></p>\n<p>28.  เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล  Tracheid  เป็นท่อของ ไซเลมไม่ใช่ของโฟลเอ็ม\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">29. เฉลยข้อ  ค<br />\nเหตุผล  สารเคมีที่พืชส่งไปลำเลียงได้ง่าย  คือ  สารละลายกลูโคส</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">30. เฉลยข้อ  ก<br />\nเหตุผล  เมือพืชสังเคราะห์อาหารด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแล้ว พืชจะส่งอาหาร  ไปเก็บสะสมไว้ในเซลล์Parenchyma  ซึ่งเป็นเซลล์อ่อนนุ่ม  อมน้ำได้ดี<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"/node/56390\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u21037/home_copy_0.jpg\" height=\"80\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1715453105, expire = 1715539505, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:db9d40b0a61dde1a29df0e04fececaca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รวมเฉลยแบบทดสอบ

   

1.  เฉลยข้อ  ค
เหตุผล พืชนั้นจะไม่มีปากใบในที่นี้สาหร่ายหางกระรอกคือพืชชนิดนั้น  กระบองเพชรมีการเปลี่ยนใบให้เป็นหนาม ปากใบก็อยู่ตามลำต้น  เป็นปากใบชนิดที่อยู่ลึกกว่าชั้นเอพิเดอร์มิสเพื่อลดการคายน้ำ

2.  เฉลยข้อ  ก
เหตุผล พืชไม่มีอวัยวะที่ใช้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนแก๊สโดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนแก๊สของพืชส่วนใหญ่เกิดในชั้นมีโซฟิลล์ของใบ  โดยเฉพาะในชั้นสปันจีเซลล์ซึ่งมีเซลล์เกาะกันอยู่หลวม ๆ มีช่องว่างระหว่างเซลล์ นอกจากนั้นพื้นที่ผิวของสปันจีเซลล์ยังมีความชื้นและสัมผัสกับอากาศโดยตรง ทำให้เหมาะต่อการแลกเปลี่ยนแก๊ส

3.  เฉลยข้อ  ก
เหตุผล เซลล์พืชใช้ออกซิเจนในการหายใจ  เช่นเดียวกับเซลล์สัตว์เพราะเซลล์นำออกซิเจนไปสลายอาหาร  เพื่อให้ได้พลังงานสำหรับนำไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ  ของเซลล์แล้ว  คายคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา

4.  เฉลยข้อ  ค
เหตุผล ถึงแม้ในสปันจีเซลล์จะมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจน  แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการหายใจ  เพราะแก๊สทั้งสองต่างจะแพร่ไปสู่บริเวณที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า  ในเซลล์ใบเมื่อมีการหายใจปริมาณ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะเพิ่มสูงทำให้มีความหนาแน่นมากจึงแพร่ออกสู่บรรยากาศ  ในขณะที่ความหนาแน่นของแก๊สออกซิเจนในบรรยากาศสูงกว่าในใบ  แก๊สออกซิเจนจะแพร่ออกจากบรรยากาศผ่านปากใบเข้ามา เช่นเดียวกับที่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ผ่านปากใบออกไป

5.  เฉลยข้อ ค
เหตุผล ในแต่ละวันพืชนำคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง  ในช่วงไม่ต้องใช้แสงมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจ  เพราะปฏิกิริยาไม่ต้องใช้แสงนั้นเกิดได้ทุกเวลาไม่จำเป็นว่าจะต้องมีหรือไม่มีแสง

6.  เฉลยข้อ  ค
เหตุผล เลนทิเซล (Lenticel)  เป็นรอยแตกเล็กๆ บนลำต้นหรือกิ่งของพืชบางชนิด ทำให้อากาศสามารถผ่านเข้าออกได้

7.  เฉลยข้อ  ก
เหตุผล เนื่องจากการตัดต้นไม้หรือกิ่งไม้ออกจากต้นเดิม เซลล์ในส่วนนี้ยังไม่ตาย  จึงยังมีการหายใจและขบวนการเมแทบอลิซึมอยู่ เมื่อนำกิ่งไม้ที่ตัดออกจากต้นเหล่านั้นมากองรวม ๆ กัน  อุณหภูมิในกองนั้นจะสูงกว่าปกติ

8.  เฉลยข้อ  ข
เหตุผล เมื่อเราเก็บเกี่ยวผลผลิตพืชออกมาจากต้นเดิมแล้ว  ไม่ว่าจะเป็นส่วนใดของพืช อาหารและน้ำในส่วนของผลผลิตนั้นจะสูญเสียไปเนื่องจากการหายใจโดยไม่มีการชดเชยจากแหล่งอื่น  ผลไม้หรือผลผลิตเหล่านั้นจึงเหี่ยวเฉา  หรือมีน้ำหนักลดลง

9.  เฉลยข้อ  ง   จากการศึกษาของนักวิชาการเกษตรพบว่า  อัตราการหายใจของผลผลิตทางการเกษตรสามารถวัดได้จากปริมาณออกซิเจนที่ใช้ไป  หรือปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ปล่อยออกมาในระหว่างเซลล์มีการเจริญพัฒนาจนกระทั่งหมดอายุ

10.   เฉลยข้อ  ง
เหตุผล ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจสูง  จะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวสั้น  คือ  เด็ดออกมาจากต้นทิ้งไว้ไม่นานก็เหี่ยวเฉา  ส่วนผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจต่ำจะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวนานกว่า  หมายถึง  เด็ดออกมาจากต้นแล้วทิ้งไว้ได้นานกว่าจะเหี่ยวเฉา

11.  เฉลยข้อ  ง
เหตุผล  น้ำผ่านทางรากไม่ต้องใช้พลังงาน  เพราะจะมีการแพร่การออสโมซิส  และอิมบิบิ  ชัน แต่ไม่มีแอกทีฟทราสปอร์ต เพราะแอกทีฟทรานสปอร์ตต้องใช้พลังงาน 

12.  เฉลยข้อ  ข
เหตุผล  ขนรากที่มีอายุน้อย ๆ จะมีแวคิวโอลหลายอัน  เมื่อเซลล์อายุมากขึ้นจะเก็บน้ำใน  เซลล์มากขึ้น  ทำให้แวคิวโอลมีขนาดใหญ่ขึ้น  แวคิวโอลขนาดเล็ก ๆ จะรวมกัน  จนอาจพบได้เพียงอันเดียว

13.  เฉลยข้อ  ค
เหตุผล  โดยปกติแล้วสารละลายที่อยู่รอบ ๆ รากจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลาย   ภายในราก  น้ำภายนอกจึงจะออสโมซิสเข้ารากได้  ในกรณีกลับกันเมื่อสารละลาย  ภายนอกรากมีความเข้มข้นมากกว่าสารละลายภายในราก  จะทำให้น้ำจากราก   ออสโมซิสออก

14.  เฉลยข้อ  ก
เหตุผล  การลำเลียงน้ำจากรากขึ้นไปสู่ใบจะผ่านขั้นตอนดังต่อไปนี้
  เอพิเดอร์มิสซึ่งเป็นเซลล์เดียวกันกับขนรากผ่านคอร์เทกซ์เข้าไซเลม  ซึ่งต่อเนื่อง  ไปถึงเส้นใบ (Vein)

15.  เฉลยข้อ ค
เหตุผล  ต้นที่สามจะไม่เหี่ยวหรือเหี่ยวก็เหี่ยวน้อยที่สุด  เพราะไม่ได้ทิ้งให้ต้นไม้เหี่ยวก่อน  นำไปตัดใต้น้ำแล้วจึงแช่สี  ทำให้ไม่มีฟองอากาศในท่อลำเลียง  น้ำสีจะเข้าสู่ลำต้น  ได้เร็วที่สุด  ต้นจึงไม่เหี่ยว

16.  เฉลยข้อ  ง
เหตุผล  ภาวการณ์สูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำ (Guttation) เกิดในสภาวะที่ความชื้นในอากาศ  สูง  พืชไม่สามารถคายน้ำทางปากใบได้  จึงเกิดการคายน้ำออกทางรู  Hydathode   การคายน้ำแบบนี้เรียกว่า Guttation 

17.  เฉลยข้อ  ก
เหตุผล  อาหารที่สร้างที่ใบด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนั้น   เมื่อส่งไปยังรากจะถูก  ใช้ไปในกระบวนการหายใจระดับเซลล์  ทำให้ได้พลังงานและนำไปใช้ในการ  เจริญเติบโตในระบบราก ส่วนที่เหลือยังเก็บสะสมเอาไว้ในรากเช่น  รากกระชาย    ถั่วพู  หัวผักกาด  มันเทศ

18.  เฉลยข้อ  ค
เหตุผล  Tracheid  เป็นท่อของ ไซเลมไม่ใช่ของโฟลเอ็ม

19. เฉลยข้อ  ค
เหตุผล  สารเคมีที่พืชส่งไปลำเลียงได้ง่าย  คือ  สารละลายกลูโคส

20. เฉลยข้อ  ก
เหตุผล  เมือพืชสังเคราะห์อาหารด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแล้ว พืชจะส่งอาหาร  ไปเก็บสะสมไว้ในเซลล์Parenchyma  ซึ่งเป็นเซลล์อ่อนนุ่ม  อมน้ำได้ดี

21. เฉลยข้อ ง
เหตุผล  ในท่อโฟลเอ็มมีการลำเลียงอาหารของต้นพืชที่เป็น  Host  ดังนั้น Rootless and    Parasitic  climbing  plant  จะส่ง Sucker  เข้าไปในส่วนโฟลเอ็ม

22.  เฉลยข้อ  ง
เหตุผล  น้ำผ่านทางรากไม่ต้องใช้พลังงาน  เพราะจะมีการแพร่การออสโมซิส  และอิมบิบิ  ชัน แต่ไม่มีแอกทีฟทราสปอร์ต เพราะแอกทีฟทรานสปอร์ตต้องใช้พลังงาน 

23.  เฉลยข้อ  ข
เหตุผล  ขนรากที่มีอายุน้อย ๆ จะมีแวคิวโอลหลายอัน  เมื่อเซลล์อายุมากขึ้นจะเก็บน้ำใน  เซลล์มากขึ้น  ทำให้แวคิวโอลมีขนาดใหญ่ขึ้น  แวคิวโอลขนาดเล็ก ๆ จะรวมกัน  จนอาจพบได้เพียงอันเดียว

24.  เฉลยข้อ  ค
เหตุผล  โดยปกติแล้วสารละลายที่อยู่รอบ ๆ รากจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลาย   ภายในราก  น้ำภายนอกจึงจะออสโมซิสเข้ารากได้  ในกรณีกลับกันเมื่อสารละลาย  ภายนอกรากมีความเข้มข้นมากกว่าสารละลายภายในราก  จะทำให้น้ำจากราก   ออสโมซิสออก

25.  เฉลยข้อ  ก
เหตุผล  การลำเลียงน้ำจากรากขึ้นไปสู่ใบจะผ่านขั้นตอนดังต่อไปนี้
  เอพิเดอร์มิสซึ่งเป็นเซลล์เดียวกันกับขนรากผ่านคอร์เทกซ์เข้าไซเลม  ซึ่งต่อเนื่อง  ไปถึงเส้นใบ (Vein)

26.  เฉลยข้อ ค
เหตุผล  ต้นที่สามจะไม่เหี่ยวหรือเหี่ยวก็เหี่ยวน้อยที่สุด  เพราะไม่ได้ทิ้งให้ต้นไม้เหี่ยวก่อน  นำไปตัดใต้น้ำแล้วจึงแช่สี  ทำให้ไม่มีฟองอากาศในท่อลำเลียง  น้ำสีจะเข้าสู่ลำต้น  ได้เร็วที่สุด  ต้นจึงไม่เหี่ยว

27.  เฉลยข้อ  ง
เหตุผล  ภาวการณ์สูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำ (Guttation) เกิดในสภาวะที่ความชื้นในอากาศ  สูง  พืชไม่สามารถคายน้ำทางปากใบได้  จึงเกิดการคายน้ำออกทางรู  Hydathode   การคายน้ำแบบนี้เรียกว่า Guttation 

28.  เฉลยข้อ  ค
เหตุผล  Tracheid  เป็นท่อของ ไซเลมไม่ใช่ของโฟลเอ็ม

29. เฉลยข้อ  ค
เหตุผล  สารเคมีที่พืชส่งไปลำเลียงได้ง่าย  คือ  สารละลายกลูโคส

30. เฉลยข้อ  ก
เหตุผล  เมือพืชสังเคราะห์อาหารด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแล้ว พืชจะส่งอาหาร  ไปเก็บสะสมไว้ในเซลล์Parenchyma  ซึ่งเป็นเซลล์อ่อนนุ่ม  อมน้ำได้ดี

สร้างโดย: 
นายสมโภชน์ ผ่องใส และ นายกิตติชา พลไพศาล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 321 คน กำลังออนไลน์