• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:71de523fdd2a5d8e9be13f36eedfb589' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">พลังงานขยะ</span></strong> \n</p>\n<p>\n  ในสภาวะที่ประเทศไทยมีความจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียนทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งนับวันจะมี ปริมาณลดน้อยลงและมีราคาสูงขึ้นขยะเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งด้านการผลิตพลังงาน เพราะขยะ มีศักยภาพที่สามารถนำมาใช้เพื่อผลิตพลังงานได้ ทั้งนี้ เนื่องจากมีปริมาณมาก และไม่ต้องซื้อหาแต่ในปัจจุบันมีการนำขยะมาผลิต เป็นพลังงานน้อยมากเมื่อเทียบกับพลังงานทดแทนด้านอื่น ๆ\n</p>\n<p>\n   ในสภาวะที่ประเทศไทยมีความจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียน ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งนับวันจะมีปริมาณลดน้อยลงและมีราคาสูงขึ้นขยะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านการผลิตพลังงาน เพราะขยะมีศักยภาพที่สามารถนำมาใช้เพื่อผลิตพลังงานได้ทั้งนี้เนื่องจากมีปริมาณมากและไม่ต้องซื้อหาแต่ในปัจจุบันมีการนำขยะมาผลิตเป็นพลังงานน้อยมากเมื่อเทียบกับพลังงานทดแทนด้านอื่นๆการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน<br />\n(Anaerobic Digestion) เป็นกระบวนการหมักของเสียในสภาวะที่ไร้ออกซิเจนเพื่อให้จุลินทรีย์ย่อยสลายสารอินทรีย์ให้กลายเป็นก๊าซชีวภาพ สำหรับใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือความร้อนและสุดท้ายยังสามารถปรับสภาพดินให้สามารถนำไปใช้ในการเพาะปลูกพืชได้อย่างปลอดภัย ระบบย่อย สลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ตามความเข้มข้นของ สารอินทรีย์ที่ป้องเข้าสู่ถังหมัก ได้แก่ การหมักแบบแห้ง (Dry Digestion) ซึ่งมีความ เข้มข้นของสารอินทรีย์ประมาณร้อยละ 20 – 40 และการหมักแบบเปียก (Wet Digestion) ซึ่งมีความเข้มข้นของสารอินทรีย์น้อยกว่าร้อยละ 20 นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งระบบหมัก ตามอุณหภูมิระดับกลาง (Mesophilic Digestion Process) และระบบหมักที่อุณหภูมิสูง (Hemophilic Digestion Process)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong>ปริมาณและคุณภาพของก๊าซ ชีวภาพจากระบบย่อยสลายแบบไม่ใช้</strong></span>\n</p>\n<p>\n            ออกซิเจนขึ้นอยู่กับลักษณะของขยะเป็นหลักนอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับการควบคุมระบบและสภาพแวดล้อมของการหมัก ได้แก่ ปริมาณแบคทีเรียปริมาณสารอินทรีย์อุุณหภูมิระยะเวลาการหมักการผสมคลุกเคล้าและปริมาณสารยับยั้งแบคทีเรีย ก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้สามารถนำไปใช้ในการผลิตพลังงานได้หลายรูปแบบเช่นผลิตไฟฟ้าโดยใช้เครื่องยนต์ก๊าซหรือใช้ เป็นเชื้อเพลิงสำหรับหม้อน้ำเพื่อผลิตน้ำร้อนหรือไอน้ำ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #000000\">การผลิตพลังงานโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะ (Landfill Gas to Energy)</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n               เป็นการพัฒนาและปรับปรุงระบบฝังกลบขยะเพื่อลดการปล่อยก๊าซชีวภาพออก และนำ ก๊าซชีวภาพที่ได้จากหลุมฝังกลบขยะมาใช้พลังงานทดแทนก๊าซชีวภาพที่ได้สามารถนำไป ใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงพลังงานได้หลายทางเช่นเดียวกับก๊าซชีวภาพที่ได้จากระบบย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน   แต่อาจมีความจำเป็นต้องปรับปรุงคุณภาพก๊าซก่อนนำไปใช้ เช่น การกำจัดน้ำคาร์บอนไดออกไซด์ และสารกัดกร่อนต่าง ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อกำหนด คุณภาพ ก๊าซสำหรับการใช้ประโยชน์ในแต่ละรูปแบบ การผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิง ขยะ เป็นการนำขยะมาผ่านกระบวนการจัดการต่าง ๆ ได้แก่ การคัดแยกด้วยมือหรือเครื่องจักรการลดขนาดการผสมการทำให้แห้งการอัดแท่งการบรรจุแลการเก็บ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ ทางกายภาพและเคมีให้กลายเป็นเชื้อเพลิงขยะ(RDF)ที่มีค่าความร้อนสูงสามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงาน อีกทั้งยังสะดวกต่อการจัดเก็บและขนส่ง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong>            การผลิตก๊าซเชื้อเพลิง(Gasification)</strong></span>การผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน(MSWGasificationเป็นกระบวนการทำให้ขยะกลายเป็น ก๊าซโดยทำปฏิกิริยาสันดาปแบบไม่่สมบูรณ์(PartialCombustion)กล่าวคือสารอินทรีย์ในขยะจะทำปฏิกิริยากับอากาศหรือ ออกซิเจนในปริมาณจำกัดและทำให้เกิดก๊าซซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือคาร์บอนมอนออกไซค์ไฮโดรเจนและมีเทน ทั้งนี้ องค์ประกอบของก๊าซเชื้อเพลิงจะขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องปฏิกรณ์(Gasifier)สภาวะความดันอุณหภูมิและคุณสมบัติของก๊าซเชื้อเพลิงแข็งก๊าซเชื้อ เพลิงที่ผลิตได้้สามารถใช้งานได้หลายรูปแบบเช่นเป็นก๊าซเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าการให้ความร้อนโดยตรง หรือใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะทั้งนี้ การใช้งานจะต้อง คำนึงถึงคุณภาพของก๊าซเชื้อเพลิงโดยอาจจำเป็นต้องทำความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิงโดยการกำจัดก๊าซ ที่เป็นกรดสารประกอบของโลหะอัลคาไลน์น้ำมันทาร์และฝุ่นละออง เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบลดปัญหาการเสียหายของอุปกรณ์และป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้น\n</p>\n<p>\n      ศักยภาพสำหรับปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมียอดรวมประมาณ 41,991 ตันต่อวันเป็นขยะที่เกิดขึ้นในกรุงเทพฯ ถึง 9,400 ตันต่อวันซึ่งจำนวนขยะที่เกิดขึ้นสามารถนำมาผลิตเป็นพลังงานได้อย่างมากมายแต่สาเหตุที่การใช้พลังงานจากขยะยังมีน้อย เนื่องมาจากการขาดความพร้อมในหลายด้านทั้งงบประมาณเครื่องมืออุปกรณ์บุคลากรหรือแม้แต่สถานที่ดังนั้นการนำพลังงานจากขยะมา ใช้ในประเทศไทยจึง ต้องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนา อีกระยะหนึ่ง จึงจะ สามารถนำพลังงานดังกล่าวมาใช้ได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n    ขยะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากของเหลือใช้ในกิจวัตรประจำวันของมนุษย์ก่อนจะถูกทิ้งออกมาสู่สิ่งแวดล้อมขยะเหล่านี้ หากไม่ได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีจะส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของมนุษย์การนำขยะมาผลิตพลังงาน เป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยกำจัดขยะที่เกิดขึ้นได้อีกทั้งวิธีดังกล่าวยังทำให้ได้ประโยชน์จากขยะกลับมาในรูปของ พลังงานจากขยะซึ่งจะทำให้ประเทศมีแหล่งพลังงานเพิ่มขึ้นแต่การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า ที่สุดยังคงเป็นสิ่งสำคัญ ต่อการอนุรักษ์พลังงานในยุควิกฤตพลังงานเช่นนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/45985\"> <img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u21020/home.jpg\" height=\"60\" /></a>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/51199\">พลังงานประเภทสิ้นเปลือง</a>     <a href=\"/node/51173\">พลังงานหมุนเวียน</a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">    <a href=\"/node/51213\">พลังงานแสงอาทิตย์</a>  <a href=\"/node/50997\">  พลังงานลม</a>   <a href=\"/node/51274\">พลังงานใต้พิภพ</a>    <a href=\"/node/51547\">พลังงานชีวมวล</a>   <a href=\"/node/51576\">พลังงานน้ำ</a>  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/51628\">แหล่งอ้างอิง</a>   ผู้จัดทำ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1714991238, expire = 1715077638, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:71de523fdd2a5d8e9be13f36eedfb589' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พลังงานขยะ

พลังงานขยะ 

  ในสภาวะที่ประเทศไทยมีความจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียนทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งนับวันจะมี ปริมาณลดน้อยลงและมีราคาสูงขึ้นขยะเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งด้านการผลิตพลังงาน เพราะขยะ มีศักยภาพที่สามารถนำมาใช้เพื่อผลิตพลังงานได้ ทั้งนี้ เนื่องจากมีปริมาณมาก และไม่ต้องซื้อหาแต่ในปัจจุบันมีการนำขยะมาผลิต เป็นพลังงานน้อยมากเมื่อเทียบกับพลังงานทดแทนด้านอื่น ๆ

   ในสภาวะที่ประเทศไทยมีความจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแหล่งพลังงานหมุนเวียน ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งนับวันจะมีปริมาณลดน้อยลงและมีราคาสูงขึ้นขยะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านการผลิตพลังงาน เพราะขยะมีศักยภาพที่สามารถนำมาใช้เพื่อผลิตพลังงานได้ทั้งนี้เนื่องจากมีปริมาณมากและไม่ต้องซื้อหาแต่ในปัจจุบันมีการนำขยะมาผลิตเป็นพลังงานน้อยมากเมื่อเทียบกับพลังงานทดแทนด้านอื่นๆการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน
(Anaerobic Digestion) เป็นกระบวนการหมักของเสียในสภาวะที่ไร้ออกซิเจนเพื่อให้จุลินทรีย์ย่อยสลายสารอินทรีย์ให้กลายเป็นก๊าซชีวภาพ สำหรับใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือความร้อนและสุดท้ายยังสามารถปรับสภาพดินให้สามารถนำไปใช้ในการเพาะปลูกพืชได้อย่างปลอดภัย ระบบย่อย สลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ตามความเข้มข้นของ สารอินทรีย์ที่ป้องเข้าสู่ถังหมัก ได้แก่ การหมักแบบแห้ง (Dry Digestion) ซึ่งมีความ เข้มข้นของสารอินทรีย์ประมาณร้อยละ 20 – 40 และการหมักแบบเปียก (Wet Digestion) ซึ่งมีความเข้มข้นของสารอินทรีย์น้อยกว่าร้อยละ 20 นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งระบบหมัก ตามอุณหภูมิระดับกลาง (Mesophilic Digestion Process) และระบบหมักที่อุณหภูมิสูง (Hemophilic Digestion Process)

 

ปริมาณและคุณภาพของก๊าซ ชีวภาพจากระบบย่อยสลายแบบไม่ใช้

            ออกซิเจนขึ้นอยู่กับลักษณะของขยะเป็นหลักนอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับการควบคุมระบบและสภาพแวดล้อมของการหมัก ได้แก่ ปริมาณแบคทีเรียปริมาณสารอินทรีย์อุุณหภูมิระยะเวลาการหมักการผสมคลุกเคล้าและปริมาณสารยับยั้งแบคทีเรีย ก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้สามารถนำไปใช้ในการผลิตพลังงานได้หลายรูปแบบเช่นผลิตไฟฟ้าโดยใช้เครื่องยนต์ก๊าซหรือใช้ เป็นเชื้อเพลิงสำหรับหม้อน้ำเพื่อผลิตน้ำร้อนหรือไอน้ำ

การผลิตพลังงานโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะ (Landfill Gas to Energy) 

               เป็นการพัฒนาและปรับปรุงระบบฝังกลบขยะเพื่อลดการปล่อยก๊าซชีวภาพออก และนำ ก๊าซชีวภาพที่ได้จากหลุมฝังกลบขยะมาใช้พลังงานทดแทนก๊าซชีวภาพที่ได้สามารถนำไป ใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงพลังงานได้หลายทางเช่นเดียวกับก๊าซชีวภาพที่ได้จากระบบย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน   แต่อาจมีความจำเป็นต้องปรับปรุงคุณภาพก๊าซก่อนนำไปใช้ เช่น การกำจัดน้ำคาร์บอนไดออกไซด์ และสารกัดกร่อนต่าง ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อกำหนด คุณภาพ ก๊าซสำหรับการใช้ประโยชน์ในแต่ละรูปแบบ การผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิง ขยะ เป็นการนำขยะมาผ่านกระบวนการจัดการต่าง ๆ ได้แก่ การคัดแยกด้วยมือหรือเครื่องจักรการลดขนาดการผสมการทำให้แห้งการอัดแท่งการบรรจุแลการเก็บ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ ทางกายภาพและเคมีให้กลายเป็นเชื้อเพลิงขยะ(RDF)ที่มีค่าความร้อนสูงสามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงาน อีกทั้งยังสะดวกต่อการจัดเก็บและขนส่ง

            การผลิตก๊าซเชื้อเพลิง(Gasification)การผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน(MSWGasificationเป็นกระบวนการทำให้ขยะกลายเป็น ก๊าซโดยทำปฏิกิริยาสันดาปแบบไม่่สมบูรณ์(PartialCombustion)กล่าวคือสารอินทรีย์ในขยะจะทำปฏิกิริยากับอากาศหรือ ออกซิเจนในปริมาณจำกัดและทำให้เกิดก๊าซซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือคาร์บอนมอนออกไซค์ไฮโดรเจนและมีเทน ทั้งนี้ องค์ประกอบของก๊าซเชื้อเพลิงจะขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องปฏิกรณ์(Gasifier)สภาวะความดันอุณหภูมิและคุณสมบัติของก๊าซเชื้อเพลิงแข็งก๊าซเชื้อ เพลิงที่ผลิตได้้สามารถใช้งานได้หลายรูปแบบเช่นเป็นก๊าซเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าการให้ความร้อนโดยตรง หรือใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะทั้งนี้ การใช้งานจะต้อง คำนึงถึงคุณภาพของก๊าซเชื้อเพลิงโดยอาจจำเป็นต้องทำความสะอาดก๊าซเชื้อเพลิงโดยการกำจัดก๊าซ ที่เป็นกรดสารประกอบของโลหะอัลคาไลน์น้ำมันทาร์และฝุ่นละออง เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบลดปัญหาการเสียหายของอุปกรณ์และป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้น

      ศักยภาพสำหรับปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมียอดรวมประมาณ 41,991 ตันต่อวันเป็นขยะที่เกิดขึ้นในกรุงเทพฯ ถึง 9,400 ตันต่อวันซึ่งจำนวนขยะที่เกิดขึ้นสามารถนำมาผลิตเป็นพลังงานได้อย่างมากมายแต่สาเหตุที่การใช้พลังงานจากขยะยังมีน้อย เนื่องมาจากการขาดความพร้อมในหลายด้านทั้งงบประมาณเครื่องมืออุปกรณ์บุคลากรหรือแม้แต่สถานที่ดังนั้นการนำพลังงานจากขยะมา ใช้ในประเทศไทยจึง ต้องอาศัยระยะเวลาในการพัฒนา อีกระยะหนึ่ง จึงจะ สามารถนำพลังงานดังกล่าวมาใช้ได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ

 

    ขยะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากของเหลือใช้ในกิจวัตรประจำวันของมนุษย์ก่อนจะถูกทิ้งออกมาสู่สิ่งแวดล้อมขยะเหล่านี้ หากไม่ได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีจะส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของมนุษย์การนำขยะมาผลิตพลังงาน เป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถช่วยกำจัดขยะที่เกิดขึ้นได้อีกทั้งวิธีดังกล่าวยังทำให้ได้ประโยชน์จากขยะกลับมาในรูปของ พลังงานจากขยะซึ่งจะทำให้ประเทศมีแหล่งพลังงานเพิ่มขึ้นแต่การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า ที่สุดยังคงเป็นสิ่งสำคัญ ต่อการอนุรักษ์พลังงานในยุควิกฤตพลังงานเช่นนี้

 

   

พลังงานประเภทสิ้นเปลือง     พลังงานหมุนเวียน 

    พลังงานแสงอาทิตย์    พลังงานลม   พลังงานใต้พิภพ    พลังงานชีวมวล   พลังงานน้ำ 

แหล่งอ้างอิง   ผู้จัดทำ

 

 

 

 

สร้างโดย: 
คุณครู กรณิการ์ ฝักแก้ว และ นาวสาว ทิพย์สุดา วงษ์จันทร์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 504 คน กำลังออนไลน์