• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bdcc17f4b70176dace76bbee7b38efd3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<u><span style=\"color: #ff00ff\">แหล่งการเรียนรู้ในจังหวัดกาฬสินธุ์</span></u>\n</p>\n<p align=\"center\">\nแหล่งการเรียนรู้ในจังหวัดกาฬสินธุ์ที่หลายแห่ง เช่น พิพิธภัณสิรินธร\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #00ff00\">รายละเอียดของพิพิธภัณสิรินธร</span></u></strong>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n <strong>พิพิธภัณฑ์สิรินธร</strong> กำหนดพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 ธันวาคม 2551 <span> </span>โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จเป็นองค์ประธานในพิธี<br />\n พิพิธภัณฑ์สิรินธร เปิดให้บริการทุกวัน (ทั้งวันธรรมดาและวันหยุด) เวลา 8.30-17.30 น.\n</p>\n<p align=\"center\">\nพิพิธภัณสิรินธร\n</p>\n<p>\nตั้งอยู่ที่เชิงภูกุ้มข้าว อำเภอสหัสขันธ์ สามารถเดินทาง โดยใช้เส้นทางกาฬสินธุ์-สหัสขันธ์ (ทางหลวง 227) ประมาณ 28 กิโลเมตร (ก่อนถึงสหัสขันธ์ 2 กิโลเมตร) มีทางแยกขวาไปอีก 1 กิโลเมตร บริเวณภูกุ้มข้าว ซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ของวัดสักกะวัน เป็นสถานที่ค้นพบกระดูกไดโนเสาร์จำนวนมาก รวมทั้งโครงกระดูกไดโนเสาร์ ทั้งตัวที่สมบูรณ์ที่ฝังอยู่ในพื้นดินและ ได้รับการขุดแต่งโดยเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรธรณี</p>\n<p>พิพิธภัณฑ์สิรินธร หรือพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว เป็นพิพิธภัณฑ์และศูนย์วิจัยเกี่ยวกับไดโนเสาร์ ที่สมบูรณ์แบบและใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ว่า &quot;พิพิธภัณฑ์สิริธร&quot; การจัดแสดงภายในอาคารแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ <br />\nส่วนที่ 1 การกำเนิดโลก <br />\nส่วนที่ 2 การกำเนิดของสิ่งมีชีวิตซึ่งรวมถึงไดโนเสาร์ จนถึงการกำเนิดมนุษย์ <br />\nส่วนที่ 3 เป็นนิทรรศการหมุนเวียน ปัจจุบันกำลังจัดแสดงนิทรรศการ “ซากดึกดำบรรพ์ปลาภูน้ำจั้น” ซึ่งเป็นซากปลาน้ำจืดโบราณพันธุ์ใหม่ของโลกซึ่งอยู่ในสภาพสมบูรณ์ มีชื่อว่า &quot;เลปิโดเทส&quot; มีความยาวประมาณ 30-60 เซนติเมตรอยู่ในยุคมีโซโซอิก หรือ 65 ล้านปีที่แล้ว ช่วงเดียวกับไดโนเสาร์ </p>\n<p>นอกจากนี้ในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของวัดสักกะวัน เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อบันดาลฤทธิผล (หลวงพ่อบ้านด่าน) พระพุทธรูปปางมารวิชัย สมัยทวารวดี ซึ่งชาวบ้านในท้องถิ่นถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง </p>\n<p><strong>พิพิธภัณฑ์สิรินธร</strong><br />\nซากไดโนเสาร์ที่ภูกุ้มข้าว ต.โนนบุรี อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ ถูกค้นพบเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยพระครูวิจิตรสหัสคุณ (พระญาณวิศาลเถร รองเจ้าคณะจังหวัดในปัจจุบัน) ต่อมาคณะสำรวจจากฝ่ายชีววิทยา กองธรณีวิทยา (ส่วนวิจัยซากดึกดำบรรพ์และพิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยา ซึ่งเป็นสำนักธรณีวิทยาในปัจจุบัน) ได้มาขุดสำรวจจนถึงเดือนตุลาคม ๒๕๓๘ </p>\n<p>พบกระดูกไดโนเสาร์กินพืชมากกว่า ๖ ตัว มีกระดูกมากกว่า ๖๓๐ ชิ้น ภายในเวลาเพียง ๓ เดือน ซึ่งซากไดโนเสาร์นั้นมีขนาดใหญ่มีน้ำหนักและมีจำนวนมาก ทางฝ่ายโบราณชีววิทยา จึงได้จัดตั้งโครงการพัฒนาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติภูกุ้มข้าวขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๘</p>\n<p>ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๘ กรมทรัพยากรธรณีได้จัดสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ขึ้น เป็นสถานที่จัดแสดงนิทรรศการถาวร เพื่อบริการและเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชน และเป็นสถานที่ใช้ศึกษา ค้นคว้าของนักวิชาการจากทั่วโลก ที่มาแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน </p>\n<p>ต่อมาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทานพระราชานุญาตให้ใช้ชื่อพิพิธภัณฑ์นี้ว่า “พิพิธภัณฑ์สิรินธร” เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๙ ปัจจุบันกรมทรัพยากรธรณีได้ขุดค้นซากไดโนเสาร์พบกระดูกมากกว่า ๗๐๐ ชิ้น</p>\n<p>เป็นกลุ่มของกระดูกส่วนขา สะโพก ซี่โครง คอ และหางของไดโนเสาร์กินพืชและกินเนื้ออีกอย่างละ ๒ ชนิด จากลักษณะของกระดูกพบว่า เป็นไดโนเสาร์กินพืชสกุลภูเวียง (Phuwiangosaurus Sirindhonae) ๑ ชนิด และเป็นไดโนเสาร์กินพืชชนิดใหม่อีก ๑ ชนิด คาดว่าอาจเป็นไดโนเสาร์สกุลและชนิดใหม่ของโลก </p>\n<p>พิพิธภัณฑ์สิรินธรมีทั้งหมด ๘ โซนดังต่อไปนี้ </p>\n<p>โซนที่ ๑ จักวาลและโลก จักวาล โลก สิ่งมีชีวิตรวมทั้งไดโนเสาร์ถือกำเนิดขึ้นมานานแล้ว นักวิทยาศาสตร์พยายามค้นหาเรื่องราวที่ลี้ลับนี้ นับจากการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่หรือ “บิ๊กแบง” ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของจักรวาล การกำเนิดของดาวฤกษ์และพัฒนาการของระบบสุริยะและโลก สัณฐานธรณีต่าง ๆ บนโลกรวมทั้งหินต่าง ๆ บันทึกหลักฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญทางธรณีวิทยา ตลอดช่วงเวลา ๔,๖๐๐ ล้านปีที่ผ่านมาของโลก ซึ่งเราจะได้เรียนรู้ไปตามลำดับอายุทางธรณีวิทยา</p>\n<p>โซนที่ ๒ เมื่อสิ่งมีชีวิตแรกปรากฏ ความอิ่มตัวในน้ำภายในชั้นบรรยากาศกลายเป็นฝน โดยน้ำฝนจะชะล้างเอาแร่ธาตุต่าง ๆ มารวมกันเป็นซุบข้นทางเคมี เมื่อราว ๓,๔๐๐ ล้านปีก่อน ได้มีการเกิดฟ้าผ่าลงไปยังซุบข้น ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตพวกสาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว โดยพวกมันได้เปลี่ยนแปลงบรรยากาศของโลก จากที่เคยไม่มีออกซิเจนมาเป็นอุดมด้วยออกซิเจนคล้ายกับพืชในปัจจุบัน</p>\n<p>โซนที่ ๓ มหายุคพาลีโอโซอิก แบ่งออกเป็นทั้งหมด ๖ สมัย คือ\n</p>\n<ul>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><li>ยุคแคมเบรียน </li>\n<li>ยุคออร์โดวิเชียน </li>\n<li>ยุคไซลูเรียน </li>\n<li>ยุคดีโวเนียน </li>\n<li>ยุคคาร์บอนิเฟอรัส </li>\n<li>ยุคเพอร์เมียน </li>\n</ul>\n<p>\n<br />\nโซนที่ ๔ มหายุคมีโซโซอิค</p>\n<p>๔.๑ มหายุคแห่งสัตว์เลื้อยคลานและไดโนเสาร์ หลังการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ตอนสิ้นสุด มหายุคพาลีโอโซอิก สัตว์เลื้อยคลานก็ก้าวขึ้นมาครองโลก ไดโนเสาร์ครองความยิ่งใหญ่บนแผ่นดินเป็นครั้งแรก และสภาพแวดล้อมบนโลกก็ทวีความหลากหลายกว่าครั้งใด ๆ </p>\n<p>\n๔.๒ ไดโนเสาร์ไทย ไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทยมีอยู่ ๑๖ สายพันธุ์ โดยมีอยู่ ๕ สายพันธุ์ที่ไม่ซ้ำใครในโลก เรียงตามอายุได้ดังนี้<br />\n๑. ยุคไทรแอสสิก ได้แก่ อิสานโนซอรัส, อรรถวิภัชชิ<br />\n๒. ยุคจูแรสสิก ได้แก่ สเตโกซอร์, ฮิบซิโลโฟดอน<br />\n๓. ยุคครีเทเชียส ได้แก่ ภูเวียงโกซอรัส สิรินทรเน, กินรีมิมัส, สยามโมซอรัส สุธีธรนิ, สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส, ชิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ </p>\n<p>โซนที่ ๕ วิถีชีวิตของไดโนเสาร์ การจำแนกประเภทของไดโนเสาร์แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ “ซอริสเซียน” ไดโนเสาร์สะโพกแบบสัตว์เลื้อยคลาน แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ เทอโรพอด ไดโนเสาร์กินเนื้อ และเซอโรพอด ไดโนเสาร์กินพืช “ออร์นิธิเชียน” ไดโนเสาร์สะโพกแบบนก แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม คือ ไทรีโอโพแรน ไดโนเสาร์หุ้มเกราะ ออร์นิโธพอด ไดโนเสาร์ปากจะงอย และมาร์จิโนเซฟาเลียน ไดโนเสาร์หัวเกราะ</p>\n<p>\nโซนที่ ๖ คืนชีวิตให้ไดโนเสาร์ สิ้นมหายุคมีโซโซอิก เกิดการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ครั้งใหญ่ นักวิทยาศาสตร์ต่างพากันสันนิษฐานสาเหตุเอาไว้ได้หลายสาเหตุ เช่น อุกกาบาตพุ่งชนโลก, ภูเขาไฟระเบิด, การคุกคามของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, และสนามแม่เหล็กโลกเปลี่ยนทิศทาง</p>\n<p>โซนที่ ๗ มหายุคชิโนโซอิก หรือมหายุคแห่งชีวิตยุคใหม่ ครอบคลุมระยะเวลาตั้งแต่ ๖๕ ล้านปี มาแล้วจนถึงปัจจุบัน แบ่งออกเป็น ๒ ยุคคือ ยุคพาลีโอจีน และยุคนีโอจีน</p>\n<p>โซนที่ ๘ เรื่องของมนุษย์ จาก “ไพรเมต” หรือสัตว์ในตระกูลลิง ที่อาศัยอยู่บนต้นไม้ซึ่งถือว่าเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ ได้แยกตัวเองออกจากเผ่าพันธุ์ลิงใหญ่ เมื่อประมาณ ๗ – ๖ ล้านปีที่แล้ว และเริ่มวิวัฒนาการมาเป็นสัตว์ที่เดิน ๒ ขา และอาศัยบนพื้นดินแต่ความโดดเด่นของมนุษย์อยู่ที่พัฒนาการทางสมอง และภูมิปัญญาที่มีความฉลาดกว่าสัตว์ประเภทอื่น ซึ่งเปิดโอกาสให้เราสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ตั้งแต่ขวานหินไปจนถึงคอมพิวเตอร์</p>\n<p><strong>พิพิธภัณฑ์สิรินทรมีภารกิจหลัก ๓ ด้าน คือ</strong></p>\n<p>๑. งานจัดนิทรรศการ โดยจัดแสดงเป็นนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณีและซากดึกดำบรรพ์ โดยเน้นที่ซากไดโนเสาร์ที่ค้นพบในประเทศไทย ซึ่งแบ่งการแสดงออกเป็น ๘ โซนด้วยกันดังที่ได้กล่าวมาในข้างต้น </p>\n<p>๒. งานกิจกรรมและบริการ พิพิธภัณฑ์ได้มีการจัดค่ายอบรม สัมมนา และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเผยแพร่ความรู้ด้านซากดึกดำบรรพ์ และธรณีวิทยา รวมทั้งการให้บริการด้านอาคารสถานที่กับผู้ที่สนใจ ไม่ว่าจะเป็นห้องประชุม อบรม สัมมนา ห้องอาหาร บ้านพัก ฯลฯ ซึ่งดำเนินงานโดยวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ</p>\n<p>๓. งานศึกษาวิจัย ทำการสำรวจศึกษาวิจัย และงานอนุรักษ์ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชน และเป็นสถานที่ใช้ศึกษา ค้นคว้าของนักวิชาการจากทั่วโลก ที่จะมาแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน </p>\n<p>สถานที่แห่งนี้นับได้ว่าเป็นแหล่งเรียนรู้ธรณีวิทยา แหล่งเรียนรู้ทางวิชาการ และแหล่งเรียนรู้ซากดึกดำบรรพ์ ที่สมบูรณ์ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผมคิดว่าถ้าจะศึกษาให้ละเอียดแล้วจะต้องใช้เวลากันเป็นวัน ๆ เลยทีเดียวครับ สมควรเป็นอย่างยิ่งที่เด็กและเยาวชนของไทยทุกคน จะได้มาศึกษาเรียนรู้\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->', created = 1728184709, expire = 1728271109, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bdcc17f4b70176dace76bbee7b38efd3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แหล่งการเรียนรู้ในจังหวัดกาฬสินธุ์

สร้างโดย: 
นายวรวุทธ บุญเลิศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 872 คน กำลังออนไลน์