• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('นำเสนอ', 'node/89964', '', '52.15.57.52', 0, '70d1994f500ecaad2a33ca5e241d7b7a', 197, 1716117459) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7b19536ef54ac7ddb81940dd2abbd979' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n14.การแทนความหมายด้วยรหัสในคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\nความสำคัญของรหัสที่จะใช้ในระบบคอมพิวเตอร์นั้นมิได้ใช้สำหรับแทนตัวข้อมูล ที่จะให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังใช้แทนคำสั่งที่จะสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน หรือควบคุมระบบการทำงานต่างๆรวมทั้งใช้ในการประมวลผลข้อมูลให้เกิดขึ้นตามความต้องการ<br />\n          คอมพิวเตอร์เป็นเทคโนโลยี ที่ได้รับการพัฒนามาจากประเทศทางตะวันตก ซึ่งใช้อักษรละติน ดังนั้นจึงมีผู้กำหนดรูปแบบของตัวอักษรละตินเป็นรหัสที่จะให้คอมพิวเตอร์รับรู้ได้ รหัสที่กำหนดนี้จะต้องเหมาะสมกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลักการของเลขฐานสอง ดังนั้น จึงกำหนดรหัสแทนตัวอักษรละตินเหล่านั้นเป็นรหัสเลขฐานสองซึ่งมีหลักตัวเลขที่เล็กที่สุดคือ บิต เมื่อนำตัวเลขฐานสองหลายหลักหรือหลายบิตมาประกอบกันเป็นกลุ่มตั้งแต่ ๖, ๗ หรือ ๘ บิต เรียกว่า ไบต์<br />\n          รหัสแทนอักษรภาษาละตินที่นิยมใช้กันจริงๆ จนเป็นมาตรฐานใช้กันทั่วโลกมีเพียง ๒ รหัส คือ รหัสแอสกี(ASCII; American standard code for information interchange) และรหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC; extended binarycode-decimal interchange code)<br />\n          รหัสแอสกีเป็นรหัสที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน  (International Standard Organization;ISO) กำหนดขึ้น  และใช้กันในระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปโดยใช้อีกชื่อว่า รหัสไอเอสโอ ๖๔๖-๑๙๘๓ (ISO  646-1983) รหัสแอสกีหรือรหัสไอเอสโอ ที่มีเพียง ๗ บิต ในแต่ละประเทศจะใช้แตกต่างกันเล็กน้อย โดยเฉพาะในเรื่องเครื่องหมายพิเศษบางตัว  เช่น อักษรแทนเงินตรา รหัสที่ไอเอสโอกำหนดนี้มีเพียง ๗ บิต   จึงแทนรหัสของตัวอักษรได้  ๒๗ หรือ = ๑๒๘ ตัว โดยกำหนดให้รหัส ๓๒ ตัวแรกคือ ๐๐๐๐๐๐๐ ถึง ๐๐๑๑๑๑๑ เป็นรหัสควบคุม เช่น ส่งเสียงปิ๊บ ปัดแคร่ (CR; carriage return) ขึ้นบรรทัดใหม่(LF; line feed) จบเอกสาร (EOT; end of text) เป็นต้น<br />\n          ส่วนรหัสเอ็บซีดิก เป็นรหัสที่มีประวัติความเป็นมาค่อนข้างยาวนาน  และมีรากฐานมาจากการใช้บัตรเจาะรูแบบฮอลเลอริท   โดยมีช่องเจาะอยู่  ๑๒ แถว จัดเป็นแถว ๐ ถึง๙, ๑๑ และ ๑๒ รหัสบนบัตรเจาะรูส่วนที่เป็นแถว ๐ ถึง ๙จะแปลเป็นเลขฐานสองโดยตรง  ซึ่งเรียกรหัสนี้ว่า  บีซีดี(BCD;  binary code decimal) ส่วนแถวที่ ๑๑ และ ๑๒จะได้รับการแปลเป็นเลขฐานสองควบคู่กันไปด้วยแถวละ  ๑ หลัก ผลที่ได้คือ จะได้รหัสที่ประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง๖ บิต หลังจากนั้นก็ได้มีการปรับปรุงขึ้น จนในที่สุดรหัสเอ็บซีดิกได้รับการขยายให้ครบ  ๘ บิต โดยให้มีตัวอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่อยู่รวมกัน<br />\n          เพื่อให้การแสดงรหัสของคอมพิวเตอร์เป็นที่เข้าใจได้ง่าย การแสดงด้วยการแทนรหัสกับตัวอักษรโดยตรง  จึงไม่เป็นที่นิยมกันนัก  เพราะอ่านลำบาก เปลืองเนื้อที่ และจดจำได้ยาก การแสดงรหัสจึงแสดงในรูปของตาราง ซึ่งถ้าเป็นรหัส ๘ บิต จะแสดงในรูปตารางขนาด ๑๖ x ๑๖ และถ้าเป็นรหัส ๗ บิต จะแสดงในรูปตารางขนาด ๑๖ x ๘ โดยหมายเลขบรรทัด ๐-๑๕ ใช้แทนรหัสเลขท้าย  ๔  บิต (เลข ๔ บิต ได้แก่ ๐๐๐๐ ถึง ๑๑๑๑ มี ๑๖ จำนวน เลขบรรทัดจะใช้เลขฐาน ๑๖  เป็นตัวบอกคือ ๐, ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙,A, B, C, D, E และ F) ส่วนหมายเลขสดมภ์ ๐-๗หรือ  ๐-๑๕  ใช้แทนรหัสเลขต้น  ๓  บิต หรือ ๔ บิต(เอ็บซีดิก) กำกับด้วยเลขฐาน ๑๖ เช่นกัน<br />\n         เนื่องจากรหัสแอสกีมีเพียง ๗ บิต (แทนตัวอักษรได้๑๒๘ ตัว) เมื่อนำมาใช้แสดงตัวอักษรไทยและอังกฤษ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องขยายเพิ่มอีก ๑ บิต เพื่อให้ได้เป็นตารางขนาด  ๑๖ x ๑๖ และแสดงความหมาย โดยถ้าในบิตแรกเป็น ๐ ก็จะคงรหัสแอสกีเดิม และถ้าเป็น ๑ ก็แสดงเป็นรหัสไทย แต่สำหรับรหัสเอ็บซีดิกมีรูปแบบอักษรได้๒๕๖ ตัว จึงสามารถใส่อักษรไทยลงในช่องว่างได้พอ<br />\n         สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ดำเนินการกำหนดรหัสมาตรฐานภาษาไทยเพื่อใช้กับงานคอมพิวเตอร์ โดยมีขอบข่ายของการใช้รหัสดังนี้<br />\n         ๑. มาตรฐานนี้กำหนดรหัสภาษาไทยเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ยนข้อมูล<br />\n         ๒. มาตรฐานนี้ครอบคลุมรหัสภาษาไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มไอเอสโอ ๖๔๖-๑๙๘๓และกลุ่มเอ็บซีดิก     <br />\n         ๓. มาตรฐานนี้กำหนดเฉพาะตัวอักษรภาษาไทยโดยยึดหลักการไม่เปลี่ยนแปลงรหัสที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานได้กำหนดไว้แล้ว ตามไอเอสโอ ๖๔๖-๑๙๘๓ และเอ็บซีดิก<br />\n         การกำหนดรหัสในตารางเพิ่มต่อไอเอสโอ  ๖๔๖-๑๙๘๓ จะดูจากตารางที่มีขนาด ๑๖ x ๑๖ ได้ โดยตำแหน่งของอักษรภาษาไทยเริ่มจากตำแหน่ง A1 (สดมภ์ A แถว ๑)<br />\n         การพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงาน และรับส่งข้อมูลตัวอักษรไทยได้นั้น จำเป็นต้องมีการกำหนดรหัสที่ใช้แทนอักษรไทย ซึ่งได้แก่ ตัวอักษรไทย ตัวเลขไทย  และเครื่องหมายพิเศษที่ใช้สื่อความหมายภาษาไทย จำแนกเป็นกลุ่มได้ดังนี้<br />\n         ตัวอักษรไทย ได้แก่<br />\n         พยัญชนะ ได้แก่ ก  ข  ฃ  ค  ฅ ฆ  ง จ  ฉ  ช  ซ ...... ร  ฤ  ล ฦ  ว  ศ  ษ  ส  ห  ฬ อ  ฮ<br />\n         สระ  ได้แก่      ็  ะ    ั  า   ำ     ิ    ี    ึ    ื   ุ    ู เ  แ โ  ใ  ไ   ํ (นิคหิต)  .  (พินทุ)<br />\n         วรรณยุกต์ ได้แก่   ่     ้     ๊    ๋     ์ (ทัณฑฆาต)<br />\n         ตัวเลขไทย ได้แก่ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙<br />\n         เครื่องหมายพิเศษ ได้แก่ ๅ  ๆ   ฯ<br />\n         เครื่องหมายพิเศษทั่วไป ได้แก่ ฿ (เครื่องหมายเงินบาท) e (ยามักการ)  ๏  ฟองมัน  ๛  (โคมูตร) และ ๚ (อังคั่นคู่) เป็นต้น<br />\n         รหัสภาษาไทยในตารางเอ็บซีดิกนี้ ใช้วิธีการกำหนด    ให้ไม่ซ้ำกับอักษรตัวใดตัวหนึ่งที่มีอยู่แล้วในตารางเอ็บซีดิกโดยเริ่มต้นตั้งแต่ตำแหน่ง ๔๑\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/43258\">คอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50987\">1.ความหมายของคอมพิวเตอร์ </a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50994\">2.ประเภทของคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50998\">3.ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51005\">4.ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51010\">5.ยุคของคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51038\">6.อุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51041\">7.ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51047\">8.ความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51092\">9.ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51097\">10.กลไกการทำงานของซีพียู</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51507\">11.การดูแลรักษาความสะอาดของคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51546\">12.วิธีการลงโปรแกรม</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51559\">13.ภาษาคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n14.การแทนความหมายด้วยรหัสในระบบคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51593\">15.แนะนำภาษาเบสิค</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51603\">16.เครื่องพิมพ์แบบจุด</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51621\">17.6 วิธีประหยัดหมึกพิมพ์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51653\">18.การกำจัดไวรัสและป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51698\">19.โน๊ตบุ๊ต</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51731\">20.ผู้จัดทำ</a>\n</p>\n', created = 1716117489, expire = 1716203889, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7b19536ef54ac7ddb81940dd2abbd979' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

14.การแทนความหมายด้วยรหัสในคอมพิวเตอร์

14.การแทนความหมายด้วยรหัสในคอมพิวเตอร์

ความสำคัญของรหัสที่จะใช้ในระบบคอมพิวเตอร์นั้นมิได้ใช้สำหรับแทนตัวข้อมูล ที่จะให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังใช้แทนคำสั่งที่จะสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน หรือควบคุมระบบการทำงานต่างๆรวมทั้งใช้ในการประมวลผลข้อมูลให้เกิดขึ้นตามความต้องการ
          คอมพิวเตอร์เป็นเทคโนโลยี ที่ได้รับการพัฒนามาจากประเทศทางตะวันตก ซึ่งใช้อักษรละติน ดังนั้นจึงมีผู้กำหนดรูปแบบของตัวอักษรละตินเป็นรหัสที่จะให้คอมพิวเตอร์รับรู้ได้ รหัสที่กำหนดนี้จะต้องเหมาะสมกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลักการของเลขฐานสอง ดังนั้น จึงกำหนดรหัสแทนตัวอักษรละตินเหล่านั้นเป็นรหัสเลขฐานสองซึ่งมีหลักตัวเลขที่เล็กที่สุดคือ บิต เมื่อนำตัวเลขฐานสองหลายหลักหรือหลายบิตมาประกอบกันเป็นกลุ่มตั้งแต่ ๖, ๗ หรือ ๘ บิต เรียกว่า ไบต์
          รหัสแทนอักษรภาษาละตินที่นิยมใช้กันจริงๆ จนเป็นมาตรฐานใช้กันทั่วโลกมีเพียง ๒ รหัส คือ รหัสแอสกี(ASCII; American standard code for information interchange) และรหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC; extended binarycode-decimal interchange code)
          รหัสแอสกีเป็นรหัสที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน  (International Standard Organization;ISO) กำหนดขึ้น  และใช้กันในระบบคอมพิวเตอร์ทั่วไปโดยใช้อีกชื่อว่า รหัสไอเอสโอ ๖๔๖-๑๙๘๓ (ISO  646-1983) รหัสแอสกีหรือรหัสไอเอสโอ ที่มีเพียง ๗ บิต ในแต่ละประเทศจะใช้แตกต่างกันเล็กน้อย โดยเฉพาะในเรื่องเครื่องหมายพิเศษบางตัว  เช่น อักษรแทนเงินตรา รหัสที่ไอเอสโอกำหนดนี้มีเพียง ๗ บิต   จึงแทนรหัสของตัวอักษรได้  ๒๗ หรือ = ๑๒๘ ตัว โดยกำหนดให้รหัส ๓๒ ตัวแรกคือ ๐๐๐๐๐๐๐ ถึง ๐๐๑๑๑๑๑ เป็นรหัสควบคุม เช่น ส่งเสียงปิ๊บ ปัดแคร่ (CR; carriage return) ขึ้นบรรทัดใหม่(LF; line feed) จบเอกสาร (EOT; end of text) เป็นต้น
          ส่วนรหัสเอ็บซีดิก เป็นรหัสที่มีประวัติความเป็นมาค่อนข้างยาวนาน  และมีรากฐานมาจากการใช้บัตรเจาะรูแบบฮอลเลอริท   โดยมีช่องเจาะอยู่  ๑๒ แถว จัดเป็นแถว ๐ ถึง๙, ๑๑ และ ๑๒ รหัสบนบัตรเจาะรูส่วนที่เป็นแถว ๐ ถึง ๙จะแปลเป็นเลขฐานสองโดยตรง  ซึ่งเรียกรหัสนี้ว่า  บีซีดี(BCD;  binary code decimal) ส่วนแถวที่ ๑๑ และ ๑๒จะได้รับการแปลเป็นเลขฐานสองควบคู่กันไปด้วยแถวละ  ๑ หลัก ผลที่ได้คือ จะได้รหัสที่ประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง๖ บิต หลังจากนั้นก็ได้มีการปรับปรุงขึ้น จนในที่สุดรหัสเอ็บซีดิกได้รับการขยายให้ครบ  ๘ บิต โดยให้มีตัวอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่อยู่รวมกัน
          เพื่อให้การแสดงรหัสของคอมพิวเตอร์เป็นที่เข้าใจได้ง่าย การแสดงด้วยการแทนรหัสกับตัวอักษรโดยตรง  จึงไม่เป็นที่นิยมกันนัก  เพราะอ่านลำบาก เปลืองเนื้อที่ และจดจำได้ยาก การแสดงรหัสจึงแสดงในรูปของตาราง ซึ่งถ้าเป็นรหัส ๘ บิต จะแสดงในรูปตารางขนาด ๑๖ x ๑๖ และถ้าเป็นรหัส ๗ บิต จะแสดงในรูปตารางขนาด ๑๖ x ๘ โดยหมายเลขบรรทัด ๐-๑๕ ใช้แทนรหัสเลขท้าย  ๔  บิต (เลข ๔ บิต ได้แก่ ๐๐๐๐ ถึง ๑๑๑๑ มี ๑๖ จำนวน เลขบรรทัดจะใช้เลขฐาน ๑๖  เป็นตัวบอกคือ ๐, ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙,A, B, C, D, E และ F) ส่วนหมายเลขสดมภ์ ๐-๗หรือ  ๐-๑๕  ใช้แทนรหัสเลขต้น  ๓  บิต หรือ ๔ บิต(เอ็บซีดิก) กำกับด้วยเลขฐาน ๑๖ เช่นกัน
         เนื่องจากรหัสแอสกีมีเพียง ๗ บิต (แทนตัวอักษรได้๑๒๘ ตัว) เมื่อนำมาใช้แสดงตัวอักษรไทยและอังกฤษ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องขยายเพิ่มอีก ๑ บิต เพื่อให้ได้เป็นตารางขนาด  ๑๖ x ๑๖ และแสดงความหมาย โดยถ้าในบิตแรกเป็น ๐ ก็จะคงรหัสแอสกีเดิม และถ้าเป็น ๑ ก็แสดงเป็นรหัสไทย แต่สำหรับรหัสเอ็บซีดิกมีรูปแบบอักษรได้๒๕๖ ตัว จึงสามารถใส่อักษรไทยลงในช่องว่างได้พอ
         สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ดำเนินการกำหนดรหัสมาตรฐานภาษาไทยเพื่อใช้กับงานคอมพิวเตอร์ โดยมีขอบข่ายของการใช้รหัสดังนี้
         ๑. มาตรฐานนี้กำหนดรหัสภาษาไทยเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ และแลกเปลี่ยนข้อมูล
         ๒. มาตรฐานนี้ครอบคลุมรหัสภาษาไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มไอเอสโอ ๖๔๖-๑๙๘๓และกลุ่มเอ็บซีดิก    
         ๓. มาตรฐานนี้กำหนดเฉพาะตัวอักษรภาษาไทยโดยยึดหลักการไม่เปลี่ยนแปลงรหัสที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานได้กำหนดไว้แล้ว ตามไอเอสโอ ๖๔๖-๑๙๘๓ และเอ็บซีดิก
         การกำหนดรหัสในตารางเพิ่มต่อไอเอสโอ  ๖๔๖-๑๙๘๓ จะดูจากตารางที่มีขนาด ๑๖ x ๑๖ ได้ โดยตำแหน่งของอักษรภาษาไทยเริ่มจากตำแหน่ง A1 (สดมภ์ A แถว ๑)
         การพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงาน และรับส่งข้อมูลตัวอักษรไทยได้นั้น จำเป็นต้องมีการกำหนดรหัสที่ใช้แทนอักษรไทย ซึ่งได้แก่ ตัวอักษรไทย ตัวเลขไทย  และเครื่องหมายพิเศษที่ใช้สื่อความหมายภาษาไทย จำแนกเป็นกลุ่มได้ดังนี้
         ตัวอักษรไทย ได้แก่
         พยัญชนะ ได้แก่ ก  ข  ฃ  ค  ฅ ฆ  ง จ  ฉ  ช  ซ ...... ร  ฤ  ล ฦ  ว  ศ  ษ  ส  ห  ฬ อ  ฮ
         สระ  ได้แก่      ็  ะ    ั  า   ำ     ิ    ี    ึ    ื   ุ    ู เ  แ โ  ใ  ไ   ํ (นิคหิต)  .  (พินทุ)
         วรรณยุกต์ ได้แก่   ่     ้     ๊    ๋     ์ (ทัณฑฆาต)
         ตัวเลขไทย ได้แก่ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
         เครื่องหมายพิเศษ ได้แก่ ๅ  ๆ   ฯ
         เครื่องหมายพิเศษทั่วไป ได้แก่ ฿ (เครื่องหมายเงินบาท) e (ยามักการ)  ๏  ฟองมัน  ๛  (โคมูตร) และ ๚ (อังคั่นคู่) เป็นต้น
         รหัสภาษาไทยในตารางเอ็บซีดิกนี้ ใช้วิธีการกำหนด    ให้ไม่ซ้ำกับอักษรตัวใดตัวหนึ่งที่มีอยู่แล้วในตารางเอ็บซีดิกโดยเริ่มต้นตั้งแต่ตำแหน่ง ๔๑

 

คอมพิวเตอร์

1.ความหมายของคอมพิวเตอร์

2.ประเภทของคอมพิวเตอร์

3.ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

4.ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

5.ยุคของคอมพิวเตอร์

6.อุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์

7.ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์

8.ความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์

9.ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์

10.กลไกการทำงานของซีพียู

11.การดูแลรักษาความสะอาดของคอมพิวเตอร์

12.วิธีการลงโปรแกรม

13.ภาษาคอมพิวเตอร์

14.การแทนความหมายด้วยรหัสในระบบคอมพิวเตอร์

15.แนะนำภาษาเบสิค

16.เครื่องพิมพ์แบบจุด

17.6 วิธีประหยัดหมึกพิมพ์

18.การกำจัดไวรัสและป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์

19.โน๊ตบุ๊ต

20.ผู้จัดทำ

สร้างโดย: 
นางสาวณัฏฐนันธ์ เสริมวัฒนา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 308 คน กำลังออนไลน์