• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:01d931d82ee156d1447c21b74ce6a59f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n    <img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u21037/Test-test.jpg\" height=\"150\" /><br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\">จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว</span></span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1.  พืชชนิดใดไม่มีปากใบ<br />\n ก.  กระบองเพชร                ข.  บัว<br />\n ค.  สาหร่ายหางกระรอก        ง.  โกงกาง</span></p>\n<p>2.  ในคนมีปอด ในปูมีเหงือก  (นมปู) ในปลามีเหงือกสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สในพืชใช้อวัยวะส่วนใดหรือเซลล์ใดแลกเปลี่ยนแก๊ส<br />\n ก.  สปันจีเซลล์                  ข. แพลิเซดเซลล์<br />\n ค.  เอพิเดอร์มิส                  ง.  เซลล์คุม \n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">3.  เซลล์พืชใช้ออกซิเจนไปในกิจกรรมใด<br />\n ก.  หายใจ                        ข. สังเคราะห์ด้วยแสง<br />\n ค.  ลำเลียงอาหาร               ง.  ลำเลียงน้ำ</span></p>\n<p>4.  ในใบโดยเฉพาะในชั้นมีโซฟิลล์  มีช่องอากาศอยู่ในช่วงสปันจีเซลล์  ในช่องว่างนี้มีทั้งแก๊สออกซิเจนซึ่งเกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสง  และมีทั้งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  ซึ่งเกิดจากการหายใจ จะเป็นอุปสรรคต่อการหายใจของพืชหรือไม่<br />\n ก. เป็นอุปสรรคบ้าง เพราะแก๊สทั้งสองปนกันพืชจึงหายใจเอาคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปบ้าง<br />\n ข. เป็นอุปสรรคบ้าง  เพราะแก๊สทั้งสองปนกันพืชจึงอาจใช้แก๊สออกซิเจนในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้บ้าง<br />\n ค. ไม่เป็นอุปสรรค  เพราะการแพร่ของแก๊สจะแพร่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นมากไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า<br />\n ง. ข้อ  ก  และ  ข  ถูก \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5. ในแต่ละวันพืชจะใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์ด้วยแสงกับคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจ  อย่างไหนจะมากกว่ากัน เพราะเหตุใด<br />\n ก. คาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจมีมากกว่า  เพราะพืชหายใจตลอดเวลา แต่การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดเฉพาะเวลามีแสง<br />\n ข. คาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจมีมากกว่า  เพราะพืชหายใจออกมาแล้วปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดนั้น  ออกมาโดย ไม่ได้นำไปใช้<br />\n ค. คาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชนำไปใช้ในการสร้างอาหารมีมากกว่า เพราะการสร้างอาหารเป็นการสังเคราะห์ด้วยแสงในปฏิกิริยาที่ไม่ต้อง<br />\n     ใช้แสง<br />\n ง. ข  และ  ค  ถูก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">6.  เลนทิเซล  (Lenticel) คือ<br />\n ก. เนื้อเยื่อเจริญที่เจริญเร็วจนเกิดการปริ<br />\n ข. รอยแตกที่อยู่ตามเปลือกไม้<br />\n ค. รอยแตกที่อยู่ตามลำต้นหรือกิ่งของพืชบางชนิด<br />\n ง. ปากใบที่อยู่บริเวณลำต้น</span></p>\n<p>7.  หากตัดกิ่งไม้มากองรวม  ๆ กันไว้  แล้ววัดอุณหภูมิภายในกองไม้นั้น  จะพบว่า<br />\n ก. อุณหภูมิสูงขึ้น  เพราะเซลล์พืชมีการหายใจเนื่องจากเซลล์ยังไม่ตายทันที่ที่ถูกตัด<br />\n ข. อุณหภูมิสูงขึ้น  เพราะมีดีคอมโพสเซอร์  เข้าไปย่อยสลาย<br />\n ค. อุณหภูมิต่ำลง  เพราะทุกเซลล์ตายแล้วหลังจากถูกตัดออกจากต้น<br />\n ง. อุณหภูมิปกติเท่ากับอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8.  เมื่อซื้อส้มหรือเงาะมารับประทานแล้วเหลือผลส้มผลเงาะอยู่  ทิ้งไว้หลายวัน<br />\n ก. มีการระเหยของน้ำที่สะสมอยู่ในผลไม้เหล่านั้นออกมาตลอดเวลา  <br />\n ข. ผลไม่ที่เด็ดออกมาจากต้น  เซลล์ยังไม่ตาย  มีการหายใจอยู่ตลอดเวลา<br />\n ค. ผลไม้ที่เด็ดออกมาจากต้น  เซลล์ตายหมดแล้ว  ทิ้งไว้จึงเหี่ยว<br />\n ง. ก  และ  ค  ถูก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">9.  อัตราการหายใจของผลผลิตจะวัดได้จาก<br />\n ก. ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ไป<br />\n ข. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมา<br />\n ค. ปริมาณไอน้ำที่คายออกมา <br />\n ง. ก  และ  ข ถูก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">10.  ข้อใดถูก<br />\n ก. ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจสูงจะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวสั้น<br />\n ข. ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจต่ำจะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวนานกว่า<br />\n ค. ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจสูงจะมีอายุหลังเห็บเกี่ยวนานกว่า<br />\n ง. ก  และ  ข  ถูก</span></p>\n<p>11.  กระบวนการใดที่รากไม่ได้ใช้สำหรับการลำเลียงน้ำผ่านทางราก<br />\n ก. การแพร่                          ข.  ออสโมซิส<br />\n ค. อิมบิบิชั่น                        ง.  แอกทีฟ ทรานสปอร์ต \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">12.  เซลล์รากที่มีอายุมากสามารถบอกได้ถึงความแตกต่าง จากเซลล์ขนรากที่มีอายุน้อยคือ<br />\n ก.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งมากตามอายุ<br />\n ข.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งลดลง แต่มีขนาดใหญ่ขึ้น<br />\n ค.  ขนรากอายุยิ่งน้อย  จำนวนแวคิวโอลยิ่งน้อยตามอายุ<br />\n ง.  ขนรากอายุมากหรืออายุน้อย  จำนวนแวคิวโอลไม่แตกต่างกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">13.  ปกติแล้วสารละลายชนิดต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ รากจะต้องมีความเข้มข้นมากหรือน้อยกว่าสารละลายภายในราก<br />\n ก.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้<br />\n ข.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้<br />\n ค.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้<br />\n ง.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">14.  การลำเลียงน้ำจากรากไปสู่ใบจะต้องผ่านเนื้อเยื่อดังต่อไปนี้<br />\n ก.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  ไซเลม<br />\n ข.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม  ไซเลม<br />\n ค.  เอพิเดอร์มิส  โฟลเอ็ม  คอร์เทกซ์  ไซเลม<br />\n ง.  เอพิเดอร์มิส  ไซเลม  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม</span></p>\n<p>15.  เมื่อนำต้นผักกะสังที่มีรากสมบูรณ์มาด้วย   4  เส้น<br />\n ต้นแรก   ตัดเหนือราก  แล้วนำต้นไปไว้บนโต๊ะทิ้งไว้จนพืชเหี่ยวแล้วนำไปแช่ใน   น้ำสี<br />\n ต้นที่สอง ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วตัดเหนือราก   นำไปแช่น้ำสี<br />\n ต้นที่สาม นำไปตัดใต้น้ำโดยตัดเหนือราก  นำไปแช่น้ำสี<br />\n ต้นที่สี่  ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วนำไปตัดเหนือรากโดยตัดใต้น้ำ  แล้วจึงนำไปแช่สี<br />\nเมื่อนำต้นผักกะสังทั้งสี่ต้นไปแช่น้ำสีแล้ว  ต้นใดจะฟื้นจากอาการเหี่ยวได้เร็วที่สุด<br />\n ก.  ต้นแรก             ข.  ต้นที่สอง                 ค.  ต้นที่สาม               ง.  ต้นที่สี่ \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">16.  การสูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำทางใบ  เกิดได้ในสภาวะใด<br />\n ก.  เฉพาะพืชใบเลี้ยงคู่<br />\n ข.  ได้กับพืชทุกชนิด<br />\n ค.  เมื่อสภาวะแวดล้อมเอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี<br />\n ง.  เมื่อสภาวะแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี</span></p>\n<p>17.  อาหารที่สังเคราะห์ได้ที่ใบถูกส่งไปยังรากเพื่อใช้ทำอะไรบ้างในระบบราก<br />\n ก.  เจริญเติบโต เก็บสะสมอาหาร และการหายใจ<br />\n ข.  การเจริญเติบโตและสะสมอาหาร<br />\n ค.  การเจริญเติบโตอย่างเดียว<br />\n ง.  สะสมอาหารอย่างเดียว</p>\n<p>18.  ส่วนใดที่ไม่พบใน Phloem<br />\n ก.  Companion  cell                ข.  Sieve  tube<br />\n ค.  Tracheid                          ง.  Fiber \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">19.  สารเคมีชนิดใดที่สามารถลำเลียงได้ง่ายในระบบลำเลียงของพืช<br />\n ก.  เซลลูโลส                          ข.  ไขมัน<br />\n ค.  กลูโคส                             ง.  แป้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">20.  เมื่อสังเคราะห์อาหารด้วยแสงแล้วพืชจะส่งอาหารเหล่านั้นไปเก็บไว้ในเซลล์ชนิดใด<br />\n ก.  Parenchyma                     ข.  Sclerenchyma<br />\n ค.  Sieve  tube                      ง.  Tracheid</span></p>\n<p>21.  พืชที่เป็นปรสิตของต้นไม้อื่นซึ่งพันกับต้นผู้ถูกอาศัย  (Host) ส่งท่อดูดเข้าไปสู่ส่วนใดของต้นผู้ถูกอาศัย<br />\n ก.  ไซเลม             ข.  คอร์เทกซ์              ค.  แคมเบียม           ง.  โฟลเอ็ม</p>\n<p>22.  กระบวนการใดที่รากไม่ได้ใช้สำหรับการลำเลียงน้ำผ่านทางราก<br />\n ก. การแพร่                             ข.  ออสโมซิส<br />\n ค. อิมบิบิชั่น                           ง.  แอกทีฟ ทรานสปอร์ต \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">23.  เซลล์รากที่มีอายุมากสามารถบอกได้ถึงความแตกต่าง จากเซลล์ขนรากที่มีอายุน้อยคือ<br />\n ก.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งมากตามอายุ<br />\n ข.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งลดลง แต่มีขนาดใหญ่ขึ้น<br />\n ค.  ขนรากอายุยิ่งน้อย  จำนวนแวคิวโอลยิ่งน้อยตามอายุ<br />\n ง.  ขนรากอายุมากหรืออายุน้อย  จำนวนแวคิวโอลไม่แตกต่างกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">24.  ปกติแล้วสารละลายชนิดต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ รากจะต้องมีความเข้มข้นมากหรือน้อยกว่าสารละลายภายในราก<br />\n ก.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้<br />\n ข.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้<br />\n ค.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้<br />\n ง.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้</span></p>\n<p>25.  การลำเลียงน้ำจากรากไปสู่ใบจะต้องผ่านเนื้อเยื่อดังต่อไปนี้<br />\n ก.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  ไซเลม<br />\n ข.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม  ไซเลม<br />\n ค.  เอพิเดอร์มิส  โฟลเอ็ม  คอร์เทกซ์  ไซเลม<br />\n ง.  เอพิเดอร์มิส  ไซเลม  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม</p>\n<p>26.  เมื่อนำต้นผักกะสังที่มีรากสมบูรณ์มาด้วย   4  เส้น<br />\n ต้นแรก   ตัดเหนือราก  แล้วนำต้นไปไว้บนโต๊ะทิ้งไว้จนพืชเหี่ยวแล้วนำไปแช่ใน   น้ำสี<br />\n ต้นที่สอง ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วตัดเหนือราก   นำไปแช่น้ำสี<br />\n ต้นที่สาม นำไปตัดใต้น้ำโดยตัดเหนือราก  นำไปแช่น้ำสี<br />\n ต้นที่สี่  ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วนำไปตัดเหนือรากโดยตัดใต้น้ำ  แล้วจึงนำไปแช่สี<br />\nเมื่อนำต้นผักกะสังทั้งสี่ต้นไปแช่น้ำสีแล้ว  ต้นใดจะฟื้นจากอาการเหี่ยวได้เร็วที่สุด<br />\n ก.  ต้นแรก                ข.  ต้นที่สอง               ค.  ต้นที่สาม             ง.  ต้นที่สี่ \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">27.  การสูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำทางใบ  เกิดได้ในสภาวะใด<br />\n ก.  เฉพาะพืชใบเลี้ยงคู่<br />\n ข.  ได้กับพืชทุกชนิด<br />\n ค.  เมื่อสภาวะแวดล้อมเอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี<br />\n ง.  เมื่อสภาวะแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี</span></p>\n<p>28.  ส่วนใดที่ไม่พบใน Phloem<br />\n ก.  Companion  cell                ข.  Sieve  tube<br />\n ค.  Tracheid                          ง.  Fiber \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">29.  สารเคมีชนิดใดที่สามารถลำเลียงได้ง่ายในระบบลำเลียงของพืช<br />\n ก.  เซลลูโลส                          ข.  ไขมัน<br />\n ค.  กลูโคส                             ง.  แป้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">30.  เมื่อสังเคราะห์อาหารด้วยแสงแล้วพืชจะส่งอาหารเหล่านั้นไปเก็บไว้ในเซลล์ชนิดใด<br />\n ก.  Parenchyma                     ข.  Sclerenchyma<br />\n ค.  Sieve  tube                      ง.  Tracheid </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n <a href=\"/node/56390\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u21037/home_copy_0.jpg\" height=\"80\" /></a>\n</p>\n', created = 1714288727, expire = 1714375127, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:01d931d82ee156d1447c21b74ce6a59f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แบบทดสอบ เรื่อง โครงสร้างของพืช

   
จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1.  พืชชนิดใดไม่มีปากใบ
 ก.  กระบองเพชร                ข.  บัว
 ค.  สาหร่ายหางกระรอก        ง.  โกงกาง

2.  ในคนมีปอด ในปูมีเหงือก  (นมปู) ในปลามีเหงือกสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สในพืชใช้อวัยวะส่วนใดหรือเซลล์ใดแลกเปลี่ยนแก๊ส
 ก.  สปันจีเซลล์                  ข. แพลิเซดเซลล์
 ค.  เอพิเดอร์มิส                  ง.  เซลล์คุม


3.  เซลล์พืชใช้ออกซิเจนไปในกิจกรรมใด
 ก.  หายใจ                        ข. สังเคราะห์ด้วยแสง
 ค.  ลำเลียงอาหาร               ง.  ลำเลียงน้ำ

4.  ในใบโดยเฉพาะในชั้นมีโซฟิลล์  มีช่องอากาศอยู่ในช่วงสปันจีเซลล์  ในช่องว่างนี้มีทั้งแก๊สออกซิเจนซึ่งเกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสง  และมีทั้งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  ซึ่งเกิดจากการหายใจ จะเป็นอุปสรรคต่อการหายใจของพืชหรือไม่
 ก. เป็นอุปสรรคบ้าง เพราะแก๊สทั้งสองปนกันพืชจึงหายใจเอาคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปบ้าง
 ข. เป็นอุปสรรคบ้าง  เพราะแก๊สทั้งสองปนกันพืชจึงอาจใช้แก๊สออกซิเจนในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้บ้าง
 ค. ไม่เป็นอุปสรรค  เพราะการแพร่ของแก๊สจะแพร่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นมากไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า
 ง. ข้อ  ก  และ  ข  ถูก

5. ในแต่ละวันพืชจะใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราะห์ด้วยแสงกับคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจ  อย่างไหนจะมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
 ก. คาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจมีมากกว่า  เพราะพืชหายใจตลอดเวลา แต่การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดเฉพาะเวลามีแสง
 ข. คาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากการหายใจมีมากกว่า  เพราะพืชหายใจออกมาแล้วปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดนั้น  ออกมาโดย ไม่ได้นำไปใช้
 ค. คาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชนำไปใช้ในการสร้างอาหารมีมากกว่า เพราะการสร้างอาหารเป็นการสังเคราะห์ด้วยแสงในปฏิกิริยาที่ไม่ต้อง
     ใช้แสง
 ง. ข  และ  ค  ถูก

6.  เลนทิเซล  (Lenticel) คือ
 ก. เนื้อเยื่อเจริญที่เจริญเร็วจนเกิดการปริ
 ข. รอยแตกที่อยู่ตามเปลือกไม้
 ค. รอยแตกที่อยู่ตามลำต้นหรือกิ่งของพืชบางชนิด
 ง. ปากใบที่อยู่บริเวณลำต้น

7.  หากตัดกิ่งไม้มากองรวม  ๆ กันไว้  แล้ววัดอุณหภูมิภายในกองไม้นั้น  จะพบว่า
 ก. อุณหภูมิสูงขึ้น  เพราะเซลล์พืชมีการหายใจเนื่องจากเซลล์ยังไม่ตายทันที่ที่ถูกตัด
 ข. อุณหภูมิสูงขึ้น  เพราะมีดีคอมโพสเซอร์  เข้าไปย่อยสลาย
 ค. อุณหภูมิต่ำลง  เพราะทุกเซลล์ตายแล้วหลังจากถูกตัดออกจากต้น
 ง. อุณหภูมิปกติเท่ากับอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม

8.  เมื่อซื้อส้มหรือเงาะมารับประทานแล้วเหลือผลส้มผลเงาะอยู่  ทิ้งไว้หลายวัน
 ก. มีการระเหยของน้ำที่สะสมอยู่ในผลไม้เหล่านั้นออกมาตลอดเวลา 
 ข. ผลไม่ที่เด็ดออกมาจากต้น  เซลล์ยังไม่ตาย  มีการหายใจอยู่ตลอดเวลา
 ค. ผลไม้ที่เด็ดออกมาจากต้น  เซลล์ตายหมดแล้ว  ทิ้งไว้จึงเหี่ยว
 ง. ก  และ  ค  ถูก

9.  อัตราการหายใจของผลผลิตจะวัดได้จาก
 ก. ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ไป
 ข. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมา
 ค. ปริมาณไอน้ำที่คายออกมา 
 ง. ก  และ  ข ถูก

10.  ข้อใดถูก
 ก. ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจสูงจะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวสั้น
 ข. ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจต่ำจะมีอายุหลังเก็บเกี่ยวนานกว่า
 ค. ผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจสูงจะมีอายุหลังเห็บเกี่ยวนานกว่า
 ง. ก  และ  ข  ถูก

11.  กระบวนการใดที่รากไม่ได้ใช้สำหรับการลำเลียงน้ำผ่านทางราก
 ก. การแพร่                          ข.  ออสโมซิส
 ค. อิมบิบิชั่น                        ง.  แอกทีฟ ทรานสปอร์ต

12.  เซลล์รากที่มีอายุมากสามารถบอกได้ถึงความแตกต่าง จากเซลล์ขนรากที่มีอายุน้อยคือ
 ก.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งมากตามอายุ
 ข.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งลดลง แต่มีขนาดใหญ่ขึ้น
 ค.  ขนรากอายุยิ่งน้อย  จำนวนแวคิวโอลยิ่งน้อยตามอายุ
 ง.  ขนรากอายุมากหรืออายุน้อย  จำนวนแวคิวโอลไม่แตกต่างกัน

13.  ปกติแล้วสารละลายชนิดต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ รากจะต้องมีความเข้มข้นมากหรือน้อยกว่าสารละลายภายในราก
 ก.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้
 ข.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้
 ค.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้
 ง.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้

14.  การลำเลียงน้ำจากรากไปสู่ใบจะต้องผ่านเนื้อเยื่อดังต่อไปนี้
 ก.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  ไซเลม
 ข.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม  ไซเลม
 ค.  เอพิเดอร์มิส  โฟลเอ็ม  คอร์เทกซ์  ไซเลม
 ง.  เอพิเดอร์มิส  ไซเลม  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม

15.  เมื่อนำต้นผักกะสังที่มีรากสมบูรณ์มาด้วย   4  เส้น
 ต้นแรก   ตัดเหนือราก  แล้วนำต้นไปไว้บนโต๊ะทิ้งไว้จนพืชเหี่ยวแล้วนำไปแช่ใน   น้ำสี
 ต้นที่สอง ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วตัดเหนือราก   นำไปแช่น้ำสี
 ต้นที่สาม นำไปตัดใต้น้ำโดยตัดเหนือราก  นำไปแช่น้ำสี
 ต้นที่สี่  ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วนำไปตัดเหนือรากโดยตัดใต้น้ำ  แล้วจึงนำไปแช่สี
เมื่อนำต้นผักกะสังทั้งสี่ต้นไปแช่น้ำสีแล้ว  ต้นใดจะฟื้นจากอาการเหี่ยวได้เร็วที่สุด
 ก.  ต้นแรก             ข.  ต้นที่สอง                 ค.  ต้นที่สาม               ง.  ต้นที่สี่

16.  การสูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำทางใบ  เกิดได้ในสภาวะใด
 ก.  เฉพาะพืชใบเลี้ยงคู่
 ข.  ได้กับพืชทุกชนิด
 ค.  เมื่อสภาวะแวดล้อมเอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี
 ง.  เมื่อสภาวะแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี

17.  อาหารที่สังเคราะห์ได้ที่ใบถูกส่งไปยังรากเพื่อใช้ทำอะไรบ้างในระบบราก
 ก.  เจริญเติบโต เก็บสะสมอาหาร และการหายใจ
 ข.  การเจริญเติบโตและสะสมอาหาร
 ค.  การเจริญเติบโตอย่างเดียว
 ง.  สะสมอาหารอย่างเดียว

18.  ส่วนใดที่ไม่พบใน Phloem
 ก.  Companion  cell                ข.  Sieve  tube
 ค.  Tracheid                          ง.  Fiber

19.  สารเคมีชนิดใดที่สามารถลำเลียงได้ง่ายในระบบลำเลียงของพืช
 ก.  เซลลูโลส                          ข.  ไขมัน
 ค.  กลูโคส                             ง.  แป้ง

20.  เมื่อสังเคราะห์อาหารด้วยแสงแล้วพืชจะส่งอาหารเหล่านั้นไปเก็บไว้ในเซลล์ชนิดใด
 ก.  Parenchyma                     ข.  Sclerenchyma
 ค.  Sieve  tube                      ง.  Tracheid

21.  พืชที่เป็นปรสิตของต้นไม้อื่นซึ่งพันกับต้นผู้ถูกอาศัย  (Host) ส่งท่อดูดเข้าไปสู่ส่วนใดของต้นผู้ถูกอาศัย
 ก.  ไซเลม             ข.  คอร์เทกซ์              ค.  แคมเบียม           ง.  โฟลเอ็ม

22.  กระบวนการใดที่รากไม่ได้ใช้สำหรับการลำเลียงน้ำผ่านทางราก
 ก. การแพร่                             ข.  ออสโมซิส
 ค. อิมบิบิชั่น                           ง.  แอกทีฟ ทรานสปอร์ต

23.  เซลล์รากที่มีอายุมากสามารถบอกได้ถึงความแตกต่าง จากเซลล์ขนรากที่มีอายุน้อยคือ
 ก.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งมากตามอายุ
 ข.  ขนรากอายุยิ่งมาก  จำนวนแวคิวโอลยิ่งลดลง แต่มีขนาดใหญ่ขึ้น
 ค.  ขนรากอายุยิ่งน้อย  จำนวนแวคิวโอลยิ่งน้อยตามอายุ
 ง.  ขนรากอายุมากหรืออายุน้อย  จำนวนแวคิวโอลไม่แตกต่างกัน

24.  ปกติแล้วสารละลายชนิดต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ รากจะต้องมีความเข้มข้นมากหรือน้อยกว่าสารละลายภายในราก
 ก.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้
 ข.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  สารละลายจึงจะแพร่เข้าสู่รากได้
 ค.  เข้มข้นน้อยกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้
 ง.  เข้มข้นมากกว่าภายในราก  น้ำจึงจะออสโมซิสเข้าสู่รากได้

25.  การลำเลียงน้ำจากรากไปสู่ใบจะต้องผ่านเนื้อเยื่อดังต่อไปนี้
 ก.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  ไซเลม
 ข.  เอพิเดอร์มิส  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม  ไซเลม
 ค.  เอพิเดอร์มิส  โฟลเอ็ม  คอร์เทกซ์  ไซเลม
 ง.  เอพิเดอร์มิส  ไซเลม  คอร์เทกซ์  โฟลเอ็ม

26.  เมื่อนำต้นผักกะสังที่มีรากสมบูรณ์มาด้วย   4  เส้น
 ต้นแรก   ตัดเหนือราก  แล้วนำต้นไปไว้บนโต๊ะทิ้งไว้จนพืชเหี่ยวแล้วนำไปแช่ใน   น้ำสี
 ต้นที่สอง ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วตัดเหนือราก   นำไปแช่น้ำสี
 ต้นที่สาม นำไปตัดใต้น้ำโดยตัดเหนือราก  นำไปแช่น้ำสี
 ต้นที่สี่  ทิ้งไว้จนต้นเหี่ยวแล้วนำไปตัดเหนือรากโดยตัดใต้น้ำ  แล้วจึงนำไปแช่สี
เมื่อนำต้นผักกะสังทั้งสี่ต้นไปแช่น้ำสีแล้ว  ต้นใดจะฟื้นจากอาการเหี่ยวได้เร็วที่สุด
 ก.  ต้นแรก                ข.  ต้นที่สอง               ค.  ต้นที่สาม             ง.  ต้นที่สี่

27.  การสูญเสียน้ำในรูปหยดน้ำทางใบ  เกิดได้ในสภาวะใด
 ก.  เฉพาะพืชใบเลี้ยงคู่
 ข.  ได้กับพืชทุกชนิด
 ค.  เมื่อสภาวะแวดล้อมเอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี
 ง.  เมื่อสภาวะแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยให้เกิดการคายน้ำได้ดี

28.  ส่วนใดที่ไม่พบใน Phloem
 ก.  Companion  cell                ข.  Sieve  tube
 ค.  Tracheid                          ง.  Fiber

29.  สารเคมีชนิดใดที่สามารถลำเลียงได้ง่ายในระบบลำเลียงของพืช
 ก.  เซลลูโลส                          ข.  ไขมัน
 ค.  กลูโคส                             ง.  แป้ง

30.  เมื่อสังเคราะห์อาหารด้วยแสงแล้วพืชจะส่งอาหารเหล่านั้นไปเก็บไว้ในเซลล์ชนิดใด
 ก.  Parenchyma                     ข.  Sclerenchyma
 ค.  Sieve  tube                      ง.  Tracheid


 

สร้างโดย: 
นายสมโภชน์ ผ่องใส และ นายกิตติชา พลไพศาล

ขอเฉลยหน่อยคัพ

 

ขอเฉลยหน่อยค่ะ

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 473 คน กำลังออนไลน์