• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('คณิตศาสตร์, ช่วงชั้น 4 (ม.4-6)', 'taxonomy/term/1,14', '', '3.133.140.153', 0, 'c5aa0376f8a024949515226e02334aa6', 174, 1716875100) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7de65a3db84c310079515b715e4d9d8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<meta http-equiv=\"Content-Type\" content=\"text/html; charset=utf-8\" /><br />\n<meta name=\"ProgId\" content=\"Word.Document\" /><br />\n<meta name=\"Generator\" content=\"Microsoft Word 11\" /><br />\n<meta name=\"Originator\" content=\"Microsoft Word 11\" /></p>\n<link href=\"file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CHOME%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml\" rel=\"File-List\" />\n<link href=\"file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CHOME%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_editdata.mso\" rel=\"Edit-Time-Data\" />\n<!--[if !mso]>\n<style>\nv\\:* {behavior:url(#default#VML);}\no\\:* {behavior:url(#default#VML);}\nw\\:* {behavior:url(#default#VML);}\n.shape {behavior:url(#default#VML);}\n</style>\n<![endif]--><!--[if !mso]>\n<style>\nv\\:* {behavior:url(#default#VML);}\no\\:* {behavior:url(#default#VML);}\nw\\:* {behavior:url(#default#VML);}\n.shape {behavior:url(#default#VML);}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><style>\n<!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:\"ms sans serif\";\npanose-1:0 0 0 0 0 0 0 0 0 0;\nmso-font-alt:\"Times New Roman\";\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-format:other;\nmso-font-pitch:auto;\nmso-font-signature:0 0 0 0 0 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin:0cm;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:612.0pt 792.0pt;\nmargin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\nmso-header-margin:36.0pt;\nmso-footer-margin:36.0pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n--><!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:\"ms sans serif\";\npanose-1:0 0 0 0 0 0 0 0 0 0;\nmso-font-alt:\"Times New Roman\";\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-format:other;\nmso-font-pitch:auto;\nmso-font-signature:0 0 0 0 0 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin:0cm;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:612.0pt 792.0pt;\nmargin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\nmso-header-margin:36.0pt;\nmso-footer-margin:36.0pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n-->\n</style><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:ตารางปกติ;\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\nmso-para-margin:0cm;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:ตารางปกติ;\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\nmso-para-margin:0cm;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><p><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'ms sans serif\'\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20560/B6743884-1.jpg\" height=\"346\" width=\"461\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มารูปภาพ : <a href=\"http://www.pantipmarket.com/travel/picture/B6743884-1.jpg\">http://www.pantipmarket.com/travel/picture/B6743884-1.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<b>กำแพงเมืองจีน</b> เป็นที่กล่าวกันว่า นักบินอวกาศของสหรัฐ เมื่อโคจรอยู่นอกโลก มองลงมาสิ่งปลูกสร้างด้วยฝีมือมนุษย์ที่พบเห็นเป็นสิ่งแรก คือ กำแพงเมืองจีน นั่นเอง จึงไม่น่าแปลกใจ ถึงความอลังการ์ของมัน กำแพงเมืองจีน หรือ ฉางเฉิง มีความยาว 6,700 กม. จากทางชายฝั่งตะวันออกที่ ซานไห่กวน ไปทางตะวันตกจบลงที่ เจียยู่กวน ในทะเลทรายโกบี กำแพงเมืองจีน ถูกสร้างเมื่อ 2000 ปีมาแล้วในสมัยราชวงศ์ฉิน (221-207 BC) ในยุคของ จักรพรรดิ์ฉินฉือหวง กำแพงถูกแยกสร้างออกเป็นส่วนๆ โดยรัฐอิสระต่างๆ เพื่อป้องกันการรุกราน ของคนเถื่อนทางเหนือ และกำแพงเหล่านี้ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ปัจจุบันกำแพงส่วนใหญ่เสื่อมโทรม จนแทบไม่เหลือสภาพของความเป็นกำแพงอยู่เลย บางส่วนถูก กลืนเป็นฝุ่นทราย หรือซากบนภูเขา บางส่วนถูกตัดผ่านกลางเป็นถนน และทางรถไฟ มีเฉพาะบางส่วนที่ถูกบูรณะซ่อมแซมสำหรับนักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชม โดยเฉพาะที่ปักกิ่ง สามารถเดินทางไปเที่ยวชมกำแพงเมืองจีนได้ 3 จุดที่มีชื่อเสียง คือ </p>\n<p>Badaling changcheng ปาต้าหลิง ตั้งอยู่ 70 กม.ทางตะวันตกเฉียงเหนือของปักกิ่ง และเป็นที่นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ มาชมกำแพงเมืองจีนกันที่นี่ ปาต้าหลิงถูกบูรณะขึ้น เมื่อปี 1957 และกำแพงถูกปรับปรุงเป็นระยะ หลายร้อยเมตร แต่ถ้าเรายังคงเดินต่อไป จะพบส่วนของกำแพงซึ่งยังไม่ได้รับการบูรณะ เป็นอยู่ตามสภาพของมัน และนักท่องเที่ยวน้อย เดินกันมาไม่ถึง การเดินทางมาปาต้าหลิง ค่อนข้างสะดวก สามารถหาซื้อทัวร์ท้องถิ่นได้ทั่วไปในเมือง ซึ่งส่วนใหญ่จะนำมาเยี่ยมชมที่ ปาต้าหลิง </p>\n<p>Mutianyu changcheng มู่เถียนยู่ เป็นกำแพงเมืองจีนแห่งที่สอง ที่เปิดให้เข้าชม ตั้งอยู่ 90 กม.ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของปักกิ่ง มีสิ่งอำนวยความสะดวกเช่น รถกระเช้า เช่นเดียวกับที่ ปาต้าหลิง ที่นี่จะมีนักท่องเที่ยว มาเที่ยวน้อยกว่าปาต้าหลิง สำหรับนักท่องเที่ยวที่มากันเอง ส่วนใหญ่จะมาที่นี่ ส่วนการหาซื้อทัวร์ ก็พอหาซื้อได้ ตามแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ แต่ต้องถามให้แน่ใจ ไม่เช่นนั้นทัวร์นั้น อาจนำท่านไป ปาต้าหลิงได้ </p>\n<p>Simatai changcheng ซือหม่าไถ ถือว่าเป็นส่วนของกำแพงเมืองจีนที่มีความลาดชัน และค่อนข้างคงความเป็นสภาพปัจจุบันที่เสื่อมโทรม จึงมีความสวยงามเป็นอีกแบบ และที่นี่ไม่มี สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น รถกระเช้า หลายคนที่ไปเที่ยวชมมาแล้วกล่าวว่าที่นี่เป็นกำแพงเมืองจีน ที่งดงามที่สุด ซือหม่าไถ ตั้งอยู่ 110 กม.ตะวันออกเฉียงเหนือของปักกิ่ง ค่อนข้างไกลเมื่อเทียบกับ ที่อื่น และนักท่องเที่ยวยังมากันน้อย ทำให้การเดินทางโดยรถ ประจำทางไม่ค่อยสะดวก แต่ก็อาจ หาเหมารถจากปักกิ่ง ไปได้ ใช้เวลาในการเดินทาง 2-3 ชม.\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u20560/bg03.jpg\" height=\"177\" width=\"219\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มารูปภาำพ : <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/bg03.jpg\">http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/bg03.jpg</a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>พระราชวังต้องห้าม กู้กง (gugong)</b></p>\n<p>กู้กง พระราชวังต้องห้าม กู้กง (gugong) อยู่ใจกลางกรุงปักกิ่ง มีความกว้างจากตะวันออก ไปตะวันตก 750 เมตร และ จากเหนือลงใต้ 960 เมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 720,000 ตารางเมตร ถือว่าเป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในโลก ล้อมรอบโดยคูซึ่งมีความกว้าง 52 เมตรลึก 6 เมตร และกำแพงโอบล้อมซึ่งมีความยาว 3 กม.และสูง 10 เมตร บนกำแพงมีประตู 4 ด้านซึ่งแต่ละด้านมีหอคอย ด้านบน มีชื่อ เสินอู่เหมิน (shenwumen)ทางเหนือ, อู่เหมิน (wumen) ทางใต้ ส่วนประตูทางตะวันออก และตะวันตกจะอยู่ค่อนไปทางประตูทิศใต้ค่อนข้างมาก มีชื่อ ต่งอู่เหมิน และ ซีฮว๋าเหมิน ตามลำดับ และในพระราชวังมี 800 อาคาร 9000 ห้อง ซึ่งเป็นที่ออกว่าราชการของ จักรพรรดิ์ราชวงศ์หมิง และ ฉิง ระหว่างปี 1368-1911 AD ในรูปคือ Hall of supreme harmony (taihedian)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u20560/g03.jpg\" height=\"420\" width=\"560\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มารูปภาพ : <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/g03.jpg\">http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/g03.jpg</a>\n</p>\n<p>\nกุ้ยหลิน เป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงในแง่ความงดงาม มาตั้งแต่อดีต ดูได้จากผลงานทางบทกวี จิตรกรรม ภาพวาดต่างๆ ต่างบรรยายถึงความ งามของกุ้ยหลิน ถ้าถามคนจีนด้วยกัน ต่างบอกว่า กุ้ยหลินเป็นสถานที่ งดงามที่สุดในจีน แต่ในเมือง กุ้ยหลินปัจจุบันมีการ พัฒนาปรับปรุงไปมาก ทำให้เสน่ห์ของเมืองลดลงไปมาก แต่ก็หาได้ทำ ให้กุ้ยหลิน ต้องหมดชื่อแต่อย่างใด เนื่องจาก ธรรมชาติอันมีเสน่ห์สวยงามของกุ้ยหลิน หาใช่ในเมืองไม่ แต่จะเป็นทัศนียภาพ 2 ฝากของ แม่น้ำหลีเจียง โดยตั้งต้นล่องเรือจาก เมืองกุ้ยหลิน ไปตามลำน้ำหลีเจียง ไปขึ้นที่เมืองหยางซั่ว ซึ่งเป็นที่ มีทัศนียภาพและแหล่งท่องเที่ยว สวยงาม ห่างไกลจากความเจริญ นักท่องเที่ยวชาวตะวันตกมักจะแวะ ที่กุ้ยหลิน1-2 วัน แล้วจะมา พักที่หยางซั่วเป็นอาทิตย์ และเที่ยวชมหมู่บ้านใกล้เคียง การท่องเรือไปตามลำน้ำหลีเจียงมีข้อพึงสังเกตคือฤดูน้ำหลาก นับว่ามีความสำคัญ ซึ่งช่วงเวลา ที่เหมาะสมในการไปเที่ยว คือช่วงเดือนเมษายน ถึงสิงหาคมของทุกปี แต่ถ้าไปช่วงอื่น ก็ไม่มีปัญหานักเพียงแต่บางช่วงของลำน้ำหลีเจียง ตื้นเขิน ไม่สามารถเดินเรือได้ ก็จำต้องนั่งรถไปยังท่าเรือหนึ่ง แล้วล่องเรือไปจนถึงช่วงที่เรือจะไปต่อไปไม่ได้ <br />\nแล้วย้อนกลับมาที่ท่าเรือที่ขึ้น แล้ว นั่งรถโดยสารต่อไปยังหยางซั่ว\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20560/04.jpg\" height=\"162\" width=\"260\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มารูปภาพ : <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/04.jpg\">http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/04.jpg </a>\n</p>\n<p>\n<b>สุสานจักรพรรดิ์ ฉินฉือหวง </b></p>\n<p>สุสานจักรพรรดิ์ฉินฉือหวง ตั้งอยู่ทางตะวันตกของ ปิงหมาหย่ง (กองทัพตุ๊กตาหิน) ประมาณ 2 กม. ปกติถ้าเดินทางมาจากในเมืองซีอาน จะถึงสุสานฉินฉือหวง ก่อนถึงปิงหมาหย่ง สุสานจักรพรรดิ์ฉินฉือหวง อยู่ตีนภูเขาหลี่ ถูกสร้างเมื่อ 221 ปีก่อนคริตศักราช โดยมีกองทัพตุ๊กตาหิน คอยเฝ้ารักษาสุสาน ตามความเชื่อในสมัยนั้น เล่ากันว่า ในบริเวณใกล้เคียงมีโครงการสร้าง complex ขนาดใหญ่ อนุมัติโดยรัฐบาลท้องถิ่น แต่ได้รับการต่อต้านจากนักอนุรักษ์ที่เห็นความสำคัญของ สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ จึงร้องเรียน จนโครงการดังกล่าวต้องล้มเลิกไป ในปัจจุบัน สิ่งก่อสร้างสำคัญทางประวัติศาสตร์ได้ ถูกทำลายลงไปมาก ตามระดับการพัฒนาของทุนนิยม และในสมัยปฎิวัติวัฒนธรรมของนาง เจียงชิง ภริยาท่านเหมา เจ๋อตุง เช่น กำแพงเมืองกรุงเป่ยจิง (ปักกิ่ง) ถูกทำลายเป็น ถนนวงแหวน ชั้นที่ 2 ไปแล้ว ซึ่งนับว่าเสียดาย กล่าวกันว่า กำแพงเมืองกว้างมาก อย่างไรก็ดีที่ซีอาน ก็อาจทำให้นักท่องเที่ยว ค่อยลดความเศร้าโศรกเสียใจลงได้ เพราะที่ตัวเมืองซีอาน กำแพงเมืองยังอยู่ และค่อนข้างสมบูรณ์ มาก ทำให้สามารถจินตนาการได้ว่า กำแพงเมืองเป่ยจิง จะต้องยิ่งใหญ่กว่านั้นมาก ดังนั้นเมืองซีอาน จึงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ อย่างยิ่ง อาจกล่าวได้ว่า ใครไม่ได้มาซีอาน ก็มาไม่ถึงเมืองจีน นอกเรื่องมามาก กลับมาว่าถึงสุสานฉินฉือหวง จักรพรรดิฉินฉือหวง ครองราชย์เมื่ออายุ 13 ปี และในสมัยของพระองค์ เป็นยุคสมัยที่มีการปกครองที่เข้มงวด ลักษณะทรราช มีการสั่งทำลาย หนังสือต่างๆ ลงมาก ทำให้องค์ความรู้ วัฒนธรรมต่างๆ ด้องสูญหายไปจำนวนมาก มีการสั่งเก็บ ภาษีในอัตราสูง ไปใช้ในการสร้างกำแพงเมืองจีน กองทัพของตุ๊กตาหินก็หันหน้าไปทางตะวันออก ก็เนื่องจากตั้งประจัญหน้ากับศัตรูทางตะวันออก ถึงแม้ว่าในสมัยของพระองค์จะสามารถรวบ รวม เมืองจีนเข้าเป็นปึกแผ่นเป็นยุคแรก นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ได้มีการทบทวนเกี่ยวกับ ความเห็นที่ว่าพระองค์เป็นจักรพรรดิที่ด้อยอารยธรรม ป่าเถื่อน แต่จากการขุดค้นพบ ทรัพย์สมบัติในสุสาน และกองทัพตุ๊กตานักรบจำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความงดงาม ทางศิลปกรรม การมีวัฒนธรรมอย่างสูง และมีพรสวรรค์ทางศิลปะ จากบันทึกของจักรพรรดิฉินฉือหวง กล่าวไว้ว่าพระองค์ได้เริ่มให้มีการสร้างสุสาน ตั้งแต่ที่เริ่มครองราชย์ จนถึงเมื่อสามารถรวบรวมจีนเข้าเป็นอาณาจักรได้ ได้เขียนคำสั่งไปร่วม 7 แสนคำสั่งหรือ ราชย์โองการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสุสาน ทั้งยังได้มีการติดตั้งอาวุธ เกาฑัณท์ ที่ปล่อยอัตโนมัติ เมื่อมีผู้บุกรุกเข้ามา นอกจากนี้บรรดาผู้ออกแบบและจัดสร้างสุสาน ต่างถูกฝังทั้งเป็นไปพร้อมกับความลับและจักรพรรดิ เพื่อไม่ให้ความลับต่างๆ เกี่ยวกับสุสานแพร่งพรายออกไป นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า สุสานเดิมทีถูกประดับด้วย ทอง เงิน และไข่มุก แต่ได้สูญหายไป\n</p>\n<p>\n<a href=\"/44405\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u20560/Knob_Favorite.png\" height=\"32\" width=\"32\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1716875110, expire = 1716961510, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7de65a3db84c310079515b715e4d9d8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จีน




 

ที่มารูปภาพ : http://www.pantipmarket.com/travel/picture/B6743884-1.jpg

กำแพงเมืองจีน เป็นที่กล่าวกันว่า นักบินอวกาศของสหรัฐ เมื่อโคจรอยู่นอกโลก มองลงมาสิ่งปลูกสร้างด้วยฝีมือมนุษย์ที่พบเห็นเป็นสิ่งแรก คือ กำแพงเมืองจีน นั่นเอง จึงไม่น่าแปลกใจ ถึงความอลังการ์ของมัน กำแพงเมืองจีน หรือ ฉางเฉิง มีความยาว 6,700 กม. จากทางชายฝั่งตะวันออกที่ ซานไห่กวน ไปทางตะวันตกจบลงที่ เจียยู่กวน ในทะเลทรายโกบี กำแพงเมืองจีน ถูกสร้างเมื่อ 2000 ปีมาแล้วในสมัยราชวงศ์ฉิน (221-207 BC) ในยุคของ จักรพรรดิ์ฉินฉือหวง กำแพงถูกแยกสร้างออกเป็นส่วนๆ โดยรัฐอิสระต่างๆ เพื่อป้องกันการรุกราน ของคนเถื่อนทางเหนือ และกำแพงเหล่านี้ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ปัจจุบันกำแพงส่วนใหญ่เสื่อมโทรม จนแทบไม่เหลือสภาพของความเป็นกำแพงอยู่เลย บางส่วนถูก กลืนเป็นฝุ่นทราย หรือซากบนภูเขา บางส่วนถูกตัดผ่านกลางเป็นถนน และทางรถไฟ มีเฉพาะบางส่วนที่ถูกบูรณะซ่อมแซมสำหรับนักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชม โดยเฉพาะที่ปักกิ่ง สามารถเดินทางไปเที่ยวชมกำแพงเมืองจีนได้ 3 จุดที่มีชื่อเสียง คือ

Badaling changcheng ปาต้าหลิง ตั้งอยู่ 70 กม.ทางตะวันตกเฉียงเหนือของปักกิ่ง และเป็นที่นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ มาชมกำแพงเมืองจีนกันที่นี่ ปาต้าหลิงถูกบูรณะขึ้น เมื่อปี 1957 และกำแพงถูกปรับปรุงเป็นระยะ หลายร้อยเมตร แต่ถ้าเรายังคงเดินต่อไป จะพบส่วนของกำแพงซึ่งยังไม่ได้รับการบูรณะ เป็นอยู่ตามสภาพของมัน และนักท่องเที่ยวน้อย เดินกันมาไม่ถึง การเดินทางมาปาต้าหลิง ค่อนข้างสะดวก สามารถหาซื้อทัวร์ท้องถิ่นได้ทั่วไปในเมือง ซึ่งส่วนใหญ่จะนำมาเยี่ยมชมที่ ปาต้าหลิง

Mutianyu changcheng มู่เถียนยู่ เป็นกำแพงเมืองจีนแห่งที่สอง ที่เปิดให้เข้าชม ตั้งอยู่ 90 กม.ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของปักกิ่ง มีสิ่งอำนวยความสะดวกเช่น รถกระเช้า เช่นเดียวกับที่ ปาต้าหลิง ที่นี่จะมีนักท่องเที่ยว มาเที่ยวน้อยกว่าปาต้าหลิง สำหรับนักท่องเที่ยวที่มากันเอง ส่วนใหญ่จะมาที่นี่ ส่วนการหาซื้อทัวร์ ก็พอหาซื้อได้ ตามแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ แต่ต้องถามให้แน่ใจ ไม่เช่นนั้นทัวร์นั้น อาจนำท่านไป ปาต้าหลิงได้

Simatai changcheng ซือหม่าไถ ถือว่าเป็นส่วนของกำแพงเมืองจีนที่มีความลาดชัน และค่อนข้างคงความเป็นสภาพปัจจุบันที่เสื่อมโทรม จึงมีความสวยงามเป็นอีกแบบ และที่นี่ไม่มี สิ่งอำนวยความสะดวก เช่น รถกระเช้า หลายคนที่ไปเที่ยวชมมาแล้วกล่าวว่าที่นี่เป็นกำแพงเมืองจีน ที่งดงามที่สุด ซือหม่าไถ ตั้งอยู่ 110 กม.ตะวันออกเฉียงเหนือของปักกิ่ง ค่อนข้างไกลเมื่อเทียบกับ ที่อื่น และนักท่องเที่ยวยังมากันน้อย ทำให้การเดินทางโดยรถ ประจำทางไม่ค่อยสะดวก แต่ก็อาจ หาเหมารถจากปักกิ่ง ไปได้ ใช้เวลาในการเดินทาง 2-3 ชม.

 

ที่มารูปภาำพ : http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/bg03.jpg

 

พระราชวังต้องห้าม กู้กง (gugong)

กู้กง พระราชวังต้องห้าม กู้กง (gugong) อยู่ใจกลางกรุงปักกิ่ง มีความกว้างจากตะวันออก ไปตะวันตก 750 เมตร และ จากเหนือลงใต้ 960 เมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 720,000 ตารางเมตร ถือว่าเป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในโลก ล้อมรอบโดยคูซึ่งมีความกว้าง 52 เมตรลึก 6 เมตร และกำแพงโอบล้อมซึ่งมีความยาว 3 กม.และสูง 10 เมตร บนกำแพงมีประตู 4 ด้านซึ่งแต่ละด้านมีหอคอย ด้านบน มีชื่อ เสินอู่เหมิน (shenwumen)ทางเหนือ, อู่เหมิน (wumen) ทางใต้ ส่วนประตูทางตะวันออก และตะวันตกจะอยู่ค่อนไปทางประตูทิศใต้ค่อนข้างมาก มีชื่อ ต่งอู่เหมิน และ ซีฮว๋าเหมิน ตามลำดับ และในพระราชวังมี 800 อาคาร 9000 ห้อง ซึ่งเป็นที่ออกว่าราชการของ จักรพรรดิ์ราชวงศ์หมิง และ ฉิง ระหว่างปี 1368-1911 AD ในรูปคือ Hall of supreme harmony (taihedian)

 

 

ที่มารูปภาพ : http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/g03.jpg

กุ้ยหลิน เป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงในแง่ความงดงาม มาตั้งแต่อดีต ดูได้จากผลงานทางบทกวี จิตรกรรม ภาพวาดต่างๆ ต่างบรรยายถึงความ งามของกุ้ยหลิน ถ้าถามคนจีนด้วยกัน ต่างบอกว่า กุ้ยหลินเป็นสถานที่ งดงามที่สุดในจีน แต่ในเมือง กุ้ยหลินปัจจุบันมีการ พัฒนาปรับปรุงไปมาก ทำให้เสน่ห์ของเมืองลดลงไปมาก แต่ก็หาได้ทำ ให้กุ้ยหลิน ต้องหมดชื่อแต่อย่างใด เนื่องจาก ธรรมชาติอันมีเสน่ห์สวยงามของกุ้ยหลิน หาใช่ในเมืองไม่ แต่จะเป็นทัศนียภาพ 2 ฝากของ แม่น้ำหลีเจียง โดยตั้งต้นล่องเรือจาก เมืองกุ้ยหลิน ไปตามลำน้ำหลีเจียง ไปขึ้นที่เมืองหยางซั่ว ซึ่งเป็นที่ มีทัศนียภาพและแหล่งท่องเที่ยว สวยงาม ห่างไกลจากความเจริญ นักท่องเที่ยวชาวตะวันตกมักจะแวะ ที่กุ้ยหลิน1-2 วัน แล้วจะมา พักที่หยางซั่วเป็นอาทิตย์ และเที่ยวชมหมู่บ้านใกล้เคียง การท่องเรือไปตามลำน้ำหลีเจียงมีข้อพึงสังเกตคือฤดูน้ำหลาก นับว่ามีความสำคัญ ซึ่งช่วงเวลา ที่เหมาะสมในการไปเที่ยว คือช่วงเดือนเมษายน ถึงสิงหาคมของทุกปี แต่ถ้าไปช่วงอื่น ก็ไม่มีปัญหานักเพียงแต่บางช่วงของลำน้ำหลีเจียง ตื้นเขิน ไม่สามารถเดินเรือได้ ก็จำต้องนั่งรถไปยังท่าเรือหนึ่ง แล้วล่องเรือไปจนถึงช่วงที่เรือจะไปต่อไปไม่ได้
แล้วย้อนกลับมาที่ท่าเรือที่ขึ้น แล้ว นั่งรถโดยสารต่อไปยังหยางซั่ว

ที่มารูปภาพ : http://www.skn.ac.th/skl/project1/chaina48/04.jpg

สุสานจักรพรรดิ์ ฉินฉือหวง

สุสานจักรพรรดิ์ฉินฉือหวง ตั้งอยู่ทางตะวันตกของ ปิงหมาหย่ง (กองทัพตุ๊กตาหิน) ประมาณ 2 กม. ปกติถ้าเดินทางมาจากในเมืองซีอาน จะถึงสุสานฉินฉือหวง ก่อนถึงปิงหมาหย่ง สุสานจักรพรรดิ์ฉินฉือหวง อยู่ตีนภูเขาหลี่ ถูกสร้างเมื่อ 221 ปีก่อนคริตศักราช โดยมีกองทัพตุ๊กตาหิน คอยเฝ้ารักษาสุสาน ตามความเชื่อในสมัยนั้น เล่ากันว่า ในบริเวณใกล้เคียงมีโครงการสร้าง complex ขนาดใหญ่ อนุมัติโดยรัฐบาลท้องถิ่น แต่ได้รับการต่อต้านจากนักอนุรักษ์ที่เห็นความสำคัญของ สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ จึงร้องเรียน จนโครงการดังกล่าวต้องล้มเลิกไป ในปัจจุบัน สิ่งก่อสร้างสำคัญทางประวัติศาสตร์ได้ ถูกทำลายลงไปมาก ตามระดับการพัฒนาของทุนนิยม และในสมัยปฎิวัติวัฒนธรรมของนาง เจียงชิง ภริยาท่านเหมา เจ๋อตุง เช่น กำแพงเมืองกรุงเป่ยจิง (ปักกิ่ง) ถูกทำลายเป็น ถนนวงแหวน ชั้นที่ 2 ไปแล้ว ซึ่งนับว่าเสียดาย กล่าวกันว่า กำแพงเมืองกว้างมาก อย่างไรก็ดีที่ซีอาน ก็อาจทำให้นักท่องเที่ยว ค่อยลดความเศร้าโศรกเสียใจลงได้ เพราะที่ตัวเมืองซีอาน กำแพงเมืองยังอยู่ และค่อนข้างสมบูรณ์ มาก ทำให้สามารถจินตนาการได้ว่า กำแพงเมืองเป่ยจิง จะต้องยิ่งใหญ่กว่านั้นมาก ดังนั้นเมืองซีอาน จึงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ อย่างยิ่ง อาจกล่าวได้ว่า ใครไม่ได้มาซีอาน ก็มาไม่ถึงเมืองจีน นอกเรื่องมามาก กลับมาว่าถึงสุสานฉินฉือหวง จักรพรรดิฉินฉือหวง ครองราชย์เมื่ออายุ 13 ปี และในสมัยของพระองค์ เป็นยุคสมัยที่มีการปกครองที่เข้มงวด ลักษณะทรราช มีการสั่งทำลาย หนังสือต่างๆ ลงมาก ทำให้องค์ความรู้ วัฒนธรรมต่างๆ ด้องสูญหายไปจำนวนมาก มีการสั่งเก็บ ภาษีในอัตราสูง ไปใช้ในการสร้างกำแพงเมืองจีน กองทัพของตุ๊กตาหินก็หันหน้าไปทางตะวันออก ก็เนื่องจากตั้งประจัญหน้ากับศัตรูทางตะวันออก ถึงแม้ว่าในสมัยของพระองค์จะสามารถรวบ รวม เมืองจีนเข้าเป็นปึกแผ่นเป็นยุคแรก นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ได้มีการทบทวนเกี่ยวกับ ความเห็นที่ว่าพระองค์เป็นจักรพรรดิที่ด้อยอารยธรรม ป่าเถื่อน แต่จากการขุดค้นพบ ทรัพย์สมบัติในสุสาน และกองทัพตุ๊กตานักรบจำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความงดงาม ทางศิลปกรรม การมีวัฒนธรรมอย่างสูง และมีพรสวรรค์ทางศิลปะ จากบันทึกของจักรพรรดิฉินฉือหวง กล่าวไว้ว่าพระองค์ได้เริ่มให้มีการสร้างสุสาน ตั้งแต่ที่เริ่มครองราชย์ จนถึงเมื่อสามารถรวบรวมจีนเข้าเป็นอาณาจักรได้ ได้เขียนคำสั่งไปร่วม 7 แสนคำสั่งหรือ ราชย์โองการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสุสาน ทั้งยังได้มีการติดตั้งอาวุธ เกาฑัณท์ ที่ปล่อยอัตโนมัติ เมื่อมีผู้บุกรุกเข้ามา นอกจากนี้บรรดาผู้ออกแบบและจัดสร้างสุสาน ต่างถูกฝังทั้งเป็นไปพร้อมกับความลับและจักรพรรดิ เพื่อไม่ให้ความลับต่างๆ เกี่ยวกับสุสานแพร่งพรายออกไป นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า สุสานเดิมทีถูกประดับด้วย ทอง เงิน และไข่มุก แต่ได้สูญหายไป

สร้างโดย: 
นางสาวศิริลักษณ์ ธรรมมนูญกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์