• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:60e28b8f34c50a0546a3333108278b38' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประวัติศาตร์น่ารู้ เรื่องเวลาสำคัญไฉน</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เราสามารถสัมผัสได้ถึงการผ่านพ้นไปของเวลาได้ด้วยประสบการณ์และการสังเกตสิ่งที่อยู่รอบข้าง เรารู้สึก คิด และอยู่ภายใต้การเคลื่อนที่ของเวลา</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <br />\n<span lang=\"TH\">อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ กล่าวไว้ว่า &quot;มิติ และเวลา สามารถรับรู้ด้วยความคิด ไม่ใช่เพราะเราเป็นอยู่&quot; ดังนั้น การที่เรารู้จักค่าของเวลา ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของนาฬิกา หรือปฏิทิน ถือเป็นสิ่งที่มนุษย์ค้นพบ</span> <br />\n<span lang=\"TH\">การวัดค่าของเวลา เป็นศาสตร์มาตั้งแต่อารยธรรมโบราณ ต่อเนื่องมาจนกระทั่งปัจจุบัน มนุษย์โครมันยอง รู้จักสังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลงดิถีของดวงจันทร์ตั้งแต่ราว ๓๐</span>,<span lang=\"TH\">๐๐๐ ปีที่ผ่านมา ในขณะที่หน่วยของเวลาเพิ่งเริ่มต้นนับได้อย่างแม่นยำราว ๔๐๐ ปีที่ผ่านมา และนาฬิกาอะตอมซึ่งให้ความแม่นยำในระดับ ๑ ใน ล้านของวินาทีเพิ่งจะมีไม่ถึง ๕๐ ปีเท่านั้น</span> <br />\n<span lang=\"TH\">การกำหนดเทียบเวลานั้นเป็นทั้งเลนส์ที่ส่องถึงปรากฏการณ์ที่มนุษย์สังเกตเห็นบนฟากฟ้า และยังเป็นทั้งกระจกที่สะท้อนถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอารยธรรมของมวลมนุษยชาติ</span> <br />\n<span lang=\"TH\">เป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่มนุษย์พยายามที่จะหาหน่วยสำหรับการวัดและสอบเทียบเวลา จะเห็นได้ว่าสิ่งนั้นไม่ว่าจะเป็นอุปกรณือะไรก็แล้วแต่ ล้วนมีความหมายที่จะพยายามเทียบเกณฑ์ดังกล่าวเข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่มีการเคลื่อนที่เป็นรอบหรือวัฎจักรทั้งสิ้น สิ่งแวดล้อมนั้นอาจเป็นได้ทั้งโลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ หรือดาวฤกษ์ ขึ้นกับว่าอารยธรรมหรือยุคสมัยนั้นให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากกว่ากัน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ยุคอียิปต์โบราณ</span> </span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณ เมื่อครั้งที่มนุษย์นับถือดวงอาทิตย์และท้องฟ้าเป็นพระเจ้า ชาวอียิปต์ได้สังเกตความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์รอบโลกกับการท่วมตลิ่งของแม่น้ำไนล์ในแต่ละปี ซึ่งเป็นสัญญาณเข้าสู่ฤดูกาลใหม่นั้น ชาวอียิปต์สามารถนับวันได้เท่ากัน ๓๖๕ วันต่อรอบ ถือเป็นต้นกำเนิดของช่วงเวลา ๑ ปีมีค่าเท่ากับ ๓๖๕ วันขึ้นเป็นครั้งแรก</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ต่อมาการสังเกตดังกล่าวได้ละเอียดขึ้นเมื่อชาวอียิปต์ได้เริ่มสังเกตการเคลื่อนที่ของดาวโจร หรือดาวซีริอัส ซึ่งเป็นดาวที่สุกสว่างตอนกลางคืน และพบว่า ในวันที่ครบรอบปีในแต่ละปีนั้น ดาวซีริอัสจะเคลื่อนที่มาช้ากว่าเดิมไปประมาณ ๖ ชั่วโมง หรือประมาณ ๑ ใน ๔ วันต่อปี ดังนั้น ชาวอียิปต์จึงได้ปรับปรุงให้ ๑ ปี มีค่าเพิ่มขึ้นเป็น ๓๖๕.๒๕ วัน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">นอกจากนี้ราว ๑</span>,<span lang=\"TH\">๖๐๐ ปีก่อนคริสตศักราช ชาวอียิปต์ได้สร้างนาฬิกาแดดขึ้นเพื่อใช้บอกเวลาในแต่ละวัน โดยอ้างอิงเวลากับการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์รอบโลกในแต่ละวัน แต่นาฬิกาแดดก็มีข้อจำกัดที่จะใช้งานได้ก็ต่อเมื่อมีแสงแดดเท่านั้น และนาฬิกาแดดที่สร้างขึ้นจากที่หนึ่งไม่สามารถใช้อ้าอิงกับอีกสถานที่หนึ่งได้</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ต่อมาราว ๑</span>,<span lang=\"TH\">๕๐๐ ปีก่อนคริสตศักราช ได้มีการสร้างนาฬิกาน้ำขึ้นเพื่อใช้บอกเวลาซึ่งสามารถบอกเวลาได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง แต่ก็มีข้อจำกัดเรื่องความแม่นยำ</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ราวคริสต์ศตวรรษที่ ๒ นักดาราศาสตร์ชาวกรีกผู้ยิ่งใหญ่ชื่อ ฮิปปาร์คัส ได้สังเกตเห็นดวงอาทิตย์ เคลื่อนที่ตัดผ่านเส้นศูนย์สูตรฟ้า ๒ ครั้งในแต่ละปี จึงกำหนดให้เป็น จุดวิษุวัต</span> (equinoxes <span lang=\"TH\">มาจากคำว่า </span>equal <span lang=\"TH\">แปลว่าเท่ากัน) และถือเป็นช่วงการเปลี่ยนฤดูกาล จากการสังเกตดังกล่าวพบว่า จุดตัดทั้งสองจะขยับถอยหลังไปทางทิศตะวันตกทีละน้อย ซึ่งเขาได้ประมาณไว้เท่ากัน ๒ องศาในรอบ ๑๕๐ ปี</span> <br />\n<span lang=\"TH\">จากการค้นพบดังกล่าวถือเป็นการค้นพบอันยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ในโลกของเวลาเลยทีเดียว เหตุการณ์ดังกล่าวทำให้ฮิปปาร์คัสทราบว่า จำนวนวันที่ถูกต้องในแต่ละปีมีค่าน้อยกว่า ๓๖๕.๒๕ วันเล็กน้อย ซึ่งจากการคำนวณของฮิปปาร์คัสพบว่า ใน ๑ ปีมีค่าเท่ากับ ๓๖๕.๒๔๒ วัน ซึ่งใกล้เคียงกับค่าที่ยอมรับในปัจจุบันคือ ๓๕๖.๒๔๒๑๙๙ วันต่อปี</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ฮิปปาร์คัสยังสามารถคำนวณจำนวนวันของเดือนจันทรคติได้โดยมีค่าเท่ากับ ๒๙.๕๓๐๕๘ วัน และได้สร้างนาฬิกาดาวซึ่งเกิดจากการสังเกตและบันทึกการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดวงดาวสุกสว่างเอาไว้บนแผ่นโลหะ ใช้บอกเวลาโดยอาศัยตำแหน่งของดวงอาทิตย์หรือดวงดาวเป็นตัวชี้</span> <br />\n<span lang=\"TH\">แต่เป็นที่น่าเสียดายที่ในช่วง ๑</span>,<span lang=\"TH\">๖๐๐ ปีต่อมา การค้นพบของฮิปปาร์คัสไม่ได้ถูกกำหนดให้ใช้เป็นปฏิทินและเครื่องบอกเวลาเมื่อกษัตริย์จูเลียส ซีซาร์ (ราว ๔๖ ปีก่อนคริสตกาล) ได้สร้างปฏิทินขึ้นมาใหม่ ชื่อปฏิทินจูเลียส โดยกำหนดให้ ๑ ปีมีค่าคงเท่ากับ ๓๖๕.๒๕ วัน ทำให้ปฏิทินของเขายาวนานกว่าวันจริงอยู่ ๑๑ นาทีในแต่ละปี ความผิดพลาดดังกล่าวทำให้ปฏิทินของจูเลียส ซีซาร์ เดินช้ากว่าความเป็นจริงไป ๑ วันภายในเวลา ๑๒๘ ปี</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ความผิดพลาดดังกล่าวเริ่มสังเกตเห็นได้มากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป จนกระทั่งคริสตศตวรรษที่ ๑๕ นักบวชชาวคริสต์พบว่าการนับการปรากฎของวันสำคัญทางศาสนาผิดพลาดไปราว ๑๐ วัน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ดังนั้นในปีค.ศ.๑๕๘๒ (พ.ศ.๒๑๒๕) สันตะปาปาเกรกอรี่ที่ ๑๓ ได้ปรับปรุงความถูกต้องโดยปรับวันในปฏิทินที่ช้าไป ๑๐ วันคืน โดยให้หลังวันที่ ๔ ตุลาคมในปีนั้นเป็นวันที่ ๑๕ ตุลาคม และกำหนดให้ ๑ ปีมีค่าเท่ากับ ๓๖๕ วัน ซึ่งแก้ไขโดยกำหนดให้ปีค.ศ.ที่หารด้วย ๔ ลงตัวจะมีวันเพิ่มอีก ๑ วันในเดือนกุมภาพันธ์แล้วเรียกปีนั้นว่า &quot;ปีอธิกสุรทิน&quot;</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ส่วนความผิดพลาดที่วันที่ในปฏิทินช้าไป ๑ วันในรอบ ๑๒๘ ปีนั้น แก้ไขโดยให้ปีค.ศ.ที่หารด้วย ๔๐๐ ลงตัวไม่ถือเป็นปีอธิกสุรทิน ดังนั้นทำให้ปฏิทิน ๑ ปีของปฏิทินแบบเกรกอรี่จึงมีค่าเท่ากับ ๓๖๕.๒๔๒๒ วัน ซึ่งมีความผิดพลาดเพียง ๑ วันในรอบ ๓</span>,<span lang=\"TH\">๓๒๒ ปี และปฏิทินดังกล่าวยังคงใช้งานมาจนกระทั่งปัจจุบัน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">แม้ว่าสันตะปาปาเกรกอรีที่ ๑๓ ได้ปรับค่าความถูกต้องและความแม่นยำของปฏิทินแล้วก็ตาม แต่การทำเครื่องมือเพื่อบอกเวลาที่แม่นยำและถูกต้องก็ยังไม่สามารถกระทำได้ในยุคสมัยนั้น</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๒ ได้มีการสร้างนาฬิกาแบบถ่วงน้ำหนักขึ้น โดยอาศัยการถ่วงของลูกน้ำหนักมาแกว่งกลไกที่เคลื่อนกลับไปกลับมาเป็นจึงหวะเพื่อใช้นับเวลาขึ้น แม้การบอกเวลาดังกล่าวจะไม่ค่อยแม่นยำนัก แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นการบอกเวลาที่อาศัยหลักการนับการเคลื่อนที่ของกลไกแล้วเทียบกลับเพื่อบอกเวลาเฉลี่ยที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่รอบโลกในแต่ละวัน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ในปี ค.ศ.๑๖๐๙ (พ.ศ.๒๑๕๒) นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ เคปเลอร์ สามารถอธิบายได้ว่ามีแรงที่ไม่ทราบชื่อ (ซึ่งต่อมาเรียกว่า แรงโน้มถ่วง) จากดวงอาทิตย์ ดึงดูดเหล่าบริวารให้เคลื่อนที่รอบ ๆ โดยที่ความเร็วในแต่ละตำแหน่งที่โคจรนั้นจะเร็วช้าไม่เท่ากัน เป็นเหตุผลที่ทำให้ความยาวนานของวันในแต่ละวันไม่คงที่ (ซึ่งนำไปสู่ &quot;สมการเวลา&quot; ในเวลาต่อมา)</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ต่อมา ช่วงกลางคริสตศตวรรษที่ ๑๖ นักประดิษฐ์ชาวดัชต์ชื่อ คริสเตียน ไฮเกนส์ ได้ประดิษฐ์นาฬิกาลูกตุ้มขึ้น โดยอาศัยหลักการแกว่งที่คงที่ของลูกตุ้มตามที่กาลิเลโอค้นพบ ผสมผสานกับหลักการที่เคปเลอร์ค้นพบ ทำให้นาฬิกาลูกตุ้มสามารถแกว่งคงที่ได้โดยอิสระปราศจากแรงเสียดทาน ทำให้การบอกเทียบเวลามีความแม่นยำมากขึ้น โดยผิดพลาดเพียงไม่กี่วินาทีเท่านั้นในแต่ละวัน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ในปี ค.ศ.๑๙๒๗ (พ.ศ.๒๔๗๐) ดับเบิลยู. เอ. มาร์ริสัน ได้ค้นพบว่า การสั่งสะเทือนของผลึกควอตซ์มีความคงที่ ซึ่งนำไปสู่การพัฒนานาฬิกาควอตซ์ขึ้น โดยอาศัยหลักการสั่นสะเทือนที่คงที่ของผลึกควอตซ์มาใช้อ้างอิงสำหรับสร้างจังหวะในการเดินของนาฬิกา ซึ่งทำให้นาฬิกาควอตซ์มีความผิดพลาดในระดับหนึ่งในพันของวินาทีเท่านั้น</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ปีค.ศ.๑๙๕๕ (พ.ศ.๒๔๙๘) ได้มีการสร้างนาฬิกาอะตอมขึ้น โดยห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติบริเทน โดยพบว่าเมื่อผลึกของซีเซียม-๑๓๓ ได้รับการกระตุ้น จะสั่นด้วยความถี่คงที่เสมอ จึงใช้การวัดค่าความถี่นั้นมาใช้เทียบในการบอกเวลา ซึ่งนาฬิกาอะตอมนี้มีความผิดพลาดในระดับหนึ่งในล้านของวินาทีเท่านั้น</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ในปีค.ศ.๑๙๖๗ (พ.ศ.๒๕๑๐) ได้มีการตัดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยของเวลาออกจากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์โดยเด็ดขาดอย่างเป็นทางการเมื่อมีการกำหนดนิยามให้ ๑ วินาที มีค่าเท่ากับเวลาที่อะตอมของธาตุซีเซียม-๑๓๓ แผ่นรังสี ๙</span>,<span lang=\"TH\">๑๙๒</span>,<span lang=\"TH\">๖๓๑</span>,<span lang=\"TH\">๗๗๐ ครั้ง ในการกระตุ้นระหว่าง ๒ จุดสมดุลในระดับพื้นฐาน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">บทสรุป</span> </p>\n<p><span lang=\"TH\">ถึงแม้เทคโนโลยีปัจจุบันจะสามารถบอกความแม่นยำของนาฬิกาได้ในระดับหนึ่งในพันของวินาที</span> (<span lang=\"TH\">นาฬิกาควอตซ์) หรือหนึ่งในล้านของวินาที (นาฬิกาอะตอม) และเทคโนโลยีด้านการบอกเวลาก็ยังดูเหมือนว่าไม่เกี่ยวข้องอะไรกับด้านดาราศาสตร์เลยก็ตาม แต่อย่างน้อยค่าของ ๑ วินาทีนั้นจะไม่มีความหมายอะไรเลย ถ้าไม่ได้มีค่าเท่ากับ ๑/๘๖</span>,<span lang=\"TH\">๔๐๐ ของเวลาเฉลี่ยที่โลกหมุนรอบตัวเองในแต่ละวัน</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n', created = 1728275367, expire = 1728361767, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:60e28b8f34c50a0546a3333108278b38' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เวลายุคสมัยประวัติศาตร์

ประวัติศาตร์น่ารู้ เรื่องเวลาสำคัญไฉนเราสามารถสัมผัสได้ถึงการผ่านพ้นไปของเวลาได้ด้วยประสบการณ์และการสังเกตสิ่งที่อยู่รอบข้าง เรารู้สึก คิด และอยู่ภายใต้การเคลื่อนที่ของเวลา
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ กล่าวไว้ว่า "มิติ และเวลา สามารถรับรู้ด้วยความคิด ไม่ใช่เพราะเราเป็นอยู่" ดังนั้น การที่เรารู้จักค่าของเวลา ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของนาฬิกา หรือปฏิทิน ถือเป็นสิ่งที่มนุษย์ค้นพบ
การวัดค่าของเวลา เป็นศาสตร์มาตั้งแต่อารยธรรมโบราณ ต่อเนื่องมาจนกระทั่งปัจจุบัน มนุษย์โครมันยอง รู้จักสังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลงดิถีของดวงจันทร์ตั้งแต่ราว ๓๐,๐๐๐ ปีที่ผ่านมา ในขณะที่หน่วยของเวลาเพิ่งเริ่มต้นนับได้อย่างแม่นยำราว ๔๐๐ ปีที่ผ่านมา และนาฬิกาอะตอมซึ่งให้ความแม่นยำในระดับ ๑ ใน ล้านของวินาทีเพิ่งจะมีไม่ถึง ๕๐ ปีเท่านั้น
การกำหนดเทียบเวลานั้นเป็นทั้งเลนส์ที่ส่องถึงปรากฏการณ์ที่มนุษย์สังเกตเห็นบนฟากฟ้า และยังเป็นทั้งกระจกที่สะท้อนถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอารยธรรมของมวลมนุษยชาติ
เป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่มนุษย์พยายามที่จะหาหน่วยสำหรับการวัดและสอบเทียบเวลา จะเห็นได้ว่าสิ่งนั้นไม่ว่าจะเป็นอุปกรณือะไรก็แล้วแต่ ล้วนมีความหมายที่จะพยายามเทียบเกณฑ์ดังกล่าวเข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่มีการเคลื่อนที่เป็นรอบหรือวัฎจักรทั้งสิ้น สิ่งแวดล้อมนั้นอาจเป็นได้ทั้งโลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ หรือดาวฤกษ์ ขึ้นกับว่าอารยธรรมหรือยุคสมัยนั้นให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากกว่ากัน
ยุคอียิปต์โบราณ

ตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณ เมื่อครั้งที่มนุษย์นับถือดวงอาทิตย์และท้องฟ้าเป็นพระเจ้า ชาวอียิปต์ได้สังเกตความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์รอบโลกกับการท่วมตลิ่งของแม่น้ำไนล์ในแต่ละปี ซึ่งเป็นสัญญาณเข้าสู่ฤดูกาลใหม่นั้น ชาวอียิปต์สามารถนับวันได้เท่ากัน ๓๖๕ วันต่อรอบ ถือเป็นต้นกำเนิดของช่วงเวลา ๑ ปีมีค่าเท่ากับ ๓๖๕ วันขึ้นเป็นครั้งแรก
ต่อมาการสังเกตดังกล่าวได้ละเอียดขึ้นเมื่อชาวอียิปต์ได้เริ่มสังเกตการเคลื่อนที่ของดาวโจร หรือดาวซีริอัส ซึ่งเป็นดาวที่สุกสว่างตอนกลางคืน และพบว่า ในวันที่ครบรอบปีในแต่ละปีนั้น ดาวซีริอัสจะเคลื่อนที่มาช้ากว่าเดิมไปประมาณ ๖ ชั่วโมง หรือประมาณ ๑ ใน ๔ วันต่อปี ดังนั้น ชาวอียิปต์จึงได้ปรับปรุงให้ ๑ ปี มีค่าเพิ่มขึ้นเป็น ๓๖๕.๒๕ วัน
นอกจากนี้ราว ๑,๖๐๐ ปีก่อนคริสตศักราช ชาวอียิปต์ได้สร้างนาฬิกาแดดขึ้นเพื่อใช้บอกเวลาในแต่ละวัน โดยอ้างอิงเวลากับการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์รอบโลกในแต่ละวัน แต่นาฬิกาแดดก็มีข้อจำกัดที่จะใช้งานได้ก็ต่อเมื่อมีแสงแดดเท่านั้น และนาฬิกาแดดที่สร้างขึ้นจากที่หนึ่งไม่สามารถใช้อ้าอิงกับอีกสถานที่หนึ่งได้
ต่อมาราว ๑,๕๐๐ ปีก่อนคริสตศักราช ได้มีการสร้างนาฬิกาน้ำขึ้นเพื่อใช้บอกเวลาซึ่งสามารถบอกเวลาได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง แต่ก็มีข้อจำกัดเรื่องความแม่นยำ
ราวคริสต์ศตวรรษที่ ๒ นักดาราศาสตร์ชาวกรีกผู้ยิ่งใหญ่ชื่อ ฮิปปาร์คัส ได้สังเกตเห็นดวงอาทิตย์ เคลื่อนที่ตัดผ่านเส้นศูนย์สูตรฟ้า ๒ ครั้งในแต่ละปี จึงกำหนดให้เป็น จุดวิษุวัต (equinoxes มาจากคำว่า equal แปลว่าเท่ากัน) และถือเป็นช่วงการเปลี่ยนฤดูกาล จากการสังเกตดังกล่าวพบว่า จุดตัดทั้งสองจะขยับถอยหลังไปทางทิศตะวันตกทีละน้อย ซึ่งเขาได้ประมาณไว้เท่ากัน ๒ องศาในรอบ ๑๕๐ ปี
จากการค้นพบดังกล่าวถือเป็นการค้นพบอันยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ในโลกของเวลาเลยทีเดียว เหตุการณ์ดังกล่าวทำให้ฮิปปาร์คัสทราบว่า จำนวนวันที่ถูกต้องในแต่ละปีมีค่าน้อยกว่า ๓๖๕.๒๕ วันเล็กน้อย ซึ่งจากการคำนวณของฮิปปาร์คัสพบว่า ใน ๑ ปีมีค่าเท่ากับ ๓๖๕.๒๔๒ วัน ซึ่งใกล้เคียงกับค่าที่ยอมรับในปัจจุบันคือ ๓๕๖.๒๔๒๑๙๙ วันต่อปี
ฮิปปาร์คัสยังสามารถคำนวณจำนวนวันของเดือนจันทรคติได้โดยมีค่าเท่ากับ ๒๙.๕๓๐๕๘ วัน และได้สร้างนาฬิกาดาวซึ่งเกิดจากการสังเกตและบันทึกการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดวงดาวสุกสว่างเอาไว้บนแผ่นโลหะ ใช้บอกเวลาโดยอาศัยตำแหน่งของดวงอาทิตย์หรือดวงดาวเป็นตัวชี้
แต่เป็นที่น่าเสียดายที่ในช่วง ๑,๖๐๐ ปีต่อมา การค้นพบของฮิปปาร์คัสไม่ได้ถูกกำหนดให้ใช้เป็นปฏิทินและเครื่องบอกเวลาเมื่อกษัตริย์จูเลียส ซีซาร์ (ราว ๔๖ ปีก่อนคริสตกาล) ได้สร้างปฏิทินขึ้นมาใหม่ ชื่อปฏิทินจูเลียส โดยกำหนดให้ ๑ ปีมีค่าคงเท่ากับ ๓๖๕.๒๕ วัน ทำให้ปฏิทินของเขายาวนานกว่าวันจริงอยู่ ๑๑ นาทีในแต่ละปี ความผิดพลาดดังกล่าวทำให้ปฏิทินของจูเลียส ซีซาร์ เดินช้ากว่าความเป็นจริงไป ๑ วันภายในเวลา ๑๒๘ ปี
ความผิดพลาดดังกล่าวเริ่มสังเกตเห็นได้มากขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป จนกระทั่งคริสตศตวรรษที่ ๑๕ นักบวชชาวคริสต์พบว่าการนับการปรากฎของวันสำคัญทางศาสนาผิดพลาดไปราว ๑๐ วัน
ดังนั้นในปีค.ศ.๑๕๘๒ (พ.ศ.๒๑๒๕) สันตะปาปาเกรกอรี่ที่ ๑๓ ได้ปรับปรุงความถูกต้องโดยปรับวันในปฏิทินที่ช้าไป ๑๐ วันคืน โดยให้หลังวันที่ ๔ ตุลาคมในปีนั้นเป็นวันที่ ๑๕ ตุลาคม และกำหนดให้ ๑ ปีมีค่าเท่ากับ ๓๖๕ วัน ซึ่งแก้ไขโดยกำหนดให้ปีค.ศ.ที่หารด้วย ๔ ลงตัวจะมีวันเพิ่มอีก ๑ วันในเดือนกุมภาพันธ์แล้วเรียกปีนั้นว่า "ปีอธิกสุรทิน"
ส่วนความผิดพลาดที่วันที่ในปฏิทินช้าไป ๑ วันในรอบ ๑๒๘ ปีนั้น แก้ไขโดยให้ปีค.ศ.ที่หารด้วย ๔๐๐ ลงตัวไม่ถือเป็นปีอธิกสุรทิน ดังนั้นทำให้ปฏิทิน ๑ ปีของปฏิทินแบบเกรกอรี่จึงมีค่าเท่ากับ ๓๖๕.๒๔๒๒ วัน ซึ่งมีความผิดพลาดเพียง ๑ วันในรอบ ๓,๓๒๒ ปี และปฏิทินดังกล่าวยังคงใช้งานมาจนกระทั่งปัจจุบัน
แม้ว่าสันตะปาปาเกรกอรีที่ ๑๓ ได้ปรับค่าความถูกต้องและความแม่นยำของปฏิทินแล้วก็ตาม แต่การทำเครื่องมือเพื่อบอกเวลาที่แม่นยำและถูกต้องก็ยังไม่สามารถกระทำได้ในยุคสมัยนั้น
ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๒ ได้มีการสร้างนาฬิกาแบบถ่วงน้ำหนักขึ้น โดยอาศัยการถ่วงของลูกน้ำหนักมาแกว่งกลไกที่เคลื่อนกลับไปกลับมาเป็นจึงหวะเพื่อใช้นับเวลาขึ้น แม้การบอกเวลาดังกล่าวจะไม่ค่อยแม่นยำนัก แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นการบอกเวลาที่อาศัยหลักการนับการเคลื่อนที่ของกลไกแล้วเทียบกลับเพื่อบอกเวลาเฉลี่ยที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่รอบโลกในแต่ละวัน
ในปี ค.ศ.๑๖๐๙ (พ.ศ.๒๑๕๒) นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ เคปเลอร์ สามารถอธิบายได้ว่ามีแรงที่ไม่ทราบชื่อ (ซึ่งต่อมาเรียกว่า แรงโน้มถ่วง) จากดวงอาทิตย์ ดึงดูดเหล่าบริวารให้เคลื่อนที่รอบ ๆ โดยที่ความเร็วในแต่ละตำแหน่งที่โคจรนั้นจะเร็วช้าไม่เท่ากัน เป็นเหตุผลที่ทำให้ความยาวนานของวันในแต่ละวันไม่คงที่ (ซึ่งนำไปสู่ "สมการเวลา" ในเวลาต่อมา)
ต่อมา ช่วงกลางคริสตศตวรรษที่ ๑๖ นักประดิษฐ์ชาวดัชต์ชื่อ คริสเตียน ไฮเกนส์ ได้ประดิษฐ์นาฬิกาลูกตุ้มขึ้น โดยอาศัยหลักการแกว่งที่คงที่ของลูกตุ้มตามที่กาลิเลโอค้นพบ ผสมผสานกับหลักการที่เคปเลอร์ค้นพบ ทำให้นาฬิกาลูกตุ้มสามารถแกว่งคงที่ได้โดยอิสระปราศจากแรงเสียดทาน ทำให้การบอกเทียบเวลามีความแม่นยำมากขึ้น โดยผิดพลาดเพียงไม่กี่วินาทีเท่านั้นในแต่ละวัน
ในปี ค.ศ.๑๙๒๗ (พ.ศ.๒๔๗๐) ดับเบิลยู. เอ. มาร์ริสัน ได้ค้นพบว่า การสั่งสะเทือนของผลึกควอตซ์มีความคงที่ ซึ่งนำไปสู่การพัฒนานาฬิกาควอตซ์ขึ้น โดยอาศัยหลักการสั่นสะเทือนที่คงที่ของผลึกควอตซ์มาใช้อ้างอิงสำหรับสร้างจังหวะในการเดินของนาฬิกา ซึ่งทำให้นาฬิกาควอตซ์มีความผิดพลาดในระดับหนึ่งในพันของวินาทีเท่านั้น
ปีค.ศ.๑๙๕๕ (พ.ศ.๒๔๙๘) ได้มีการสร้างนาฬิกาอะตอมขึ้น โดยห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติบริเทน โดยพบว่าเมื่อผลึกของซีเซียม-๑๓๓ ได้รับการกระตุ้น จะสั่นด้วยความถี่คงที่เสมอ จึงใช้การวัดค่าความถี่นั้นมาใช้เทียบในการบอกเวลา ซึ่งนาฬิกาอะตอมนี้มีความผิดพลาดในระดับหนึ่งในล้านของวินาทีเท่านั้น
ในปีค.ศ.๑๙๖๗ (พ.ศ.๒๕๑๐) ได้มีการตัดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยของเวลาออกจากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์โดยเด็ดขาดอย่างเป็นทางการเมื่อมีการกำหนดนิยามให้ ๑ วินาที มีค่าเท่ากับเวลาที่อะตอมของธาตุซีเซียม-๑๓๓ แผ่นรังสี ๙,๑๙๒,๖๓๑,๗๗๐ ครั้ง ในการกระตุ้นระหว่าง ๒ จุดสมดุลในระดับพื้นฐาน
บทสรุป

ถึงแม้เทคโนโลยีปัจจุบันจะสามารถบอกความแม่นยำของนาฬิกาได้ในระดับหนึ่งในพันของวินาที (นาฬิกาควอตซ์) หรือหนึ่งในล้านของวินาที (นาฬิกาอะตอม) และเทคโนโลยีด้านการบอกเวลาก็ยังดูเหมือนว่าไม่เกี่ยวข้องอะไรกับด้านดาราศาสตร์เลยก็ตาม แต่อย่างน้อยค่าของ ๑ วินาทีนั้นจะไม่มีความหมายอะไรเลย ถ้าไม่ได้มีค่าเท่ากับ ๑/๘๖,๔๐๐ ของเวลาเฉลี่ยที่โลกหมุนรอบตัวเองในแต่ละวัน

สร้างโดย: 
ปนิดา สอนลิลา ม.4/1 เลขที่18

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 517 คน กำลังออนไลน์