• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dd4cb4a738d10fee6126be1c5b965290' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19014/2009-11-30_004314.jpg\" style=\"width: 249px; height: 72px\" height=\"72\" width=\"196\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>     <img border=\"0\" src=\"/files/u19014/vdo.gif\" height=\"20\" width=\"20\" /> <span style=\"background-color: #e83c17\"> <strong><span style=\"color: #ffffff\">ผลที่เกิดขึ้นตามมา</span></strong></span> </p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #e83c17; color: #ffffff\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">                  <span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">สนธิสัญญาดังกล่าวได้ขยายตัวขึ้น    โดยมีการเชื่อมโยงไปถึง<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">มองโกเลีย</span>และ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แมนจูเรีย</span>      สหภาพโซเวียตได้รับประกันต่อความมั่นคงตามอาณาเขตของ<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">แมนจูกัว</span> ขณะที่ญี่ปุ่นก็ได้รับประกันความมั่นคงแก่มองโกเลียด้วยเช่นกัน หลังจากนั้น ในปี 1941  ญี่ปุ่น  ในฐานะผู้ร่วมลงนามใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">สนธิสัญญาสามฝ่าย</span>  มีความวิตกกังวลว่าควรจะมีการเพิกถอนสนธิสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่นนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากนาซีเยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียตใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการบาร์บารอสซา</span> แต่ญี่ปุ่นก็ได้ตัดสินใจที่จะยังคงรักษาสัญญานี้ไว้ และจะขยายดินแดนไปทางใต้ และโจมตีอาณานิคมของชาติอาณานิคมยุโรปใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ทวีปเอเชีย</span>แทน<o:p></o:p></span> </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">                  </span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">                  ในวันที่ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">5 เมษายน</span> <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1945</span> สหภาพโซเวียตได้ฉีกสนธิสัญญาดังกล่าว โดยแจ้งแก่รัฐบาลญี่ปุ่นว่า &quot;ตามที่ในย่อหน้าที่สามได้กล่าวเอาไว้</span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\">\' <span lang=\"TH\">ซึ่งได้เปิดโอกาสให้เพิกถอนสนธิสัญญาได้เป็นเวลาหนึ่งปีก่อนหน้าที่ระยะ-เวลาของสนธิสัญญาจะครบห้าปีตามกำหนดรัฐบาลโซเวียตได้ทราบดีว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะยังสามารถจำสนธิสัญญาในวันที่ 13 เมษายน 1941 นี้ได้ </span>\'&quot;<span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\" lang=\"TH\">                   ในวันที่ <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">8 สิงหาคม</span> <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1945</span> สหภาพโซเวียตประกาศสงครามต่อญี่ปุ่นใน<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ปฏิบัติการพายุสิงหาคม</span> ซึ่งเป็นการรักษาสัญญาในที่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ประชุมยัลต้า</span>     แก่<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ฝ่ายสัมพันธมิตร</span> ที่จะเข้าสู่สงครามในเวลาสามเดือนหลังจาก<span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">วันแห่งชัยชนะในทวีปยุโรป</span> ญี่ปุ่นได้โต้แย้งว่า      ขณะที่สหภาพโซเวียตชี้ให้เห็นถึงเนื้อหาของย่อหน้าที่สามว่าสนธิสัญญาดังกล่าวจะไม่ได้รับการต่ออายุ ปฏิบัติการพายุสิงหาคมก็ยังละเมิดต่อสนธิสัญญา ซึ่งยังไม่ครบวาระจนกว่าจะถึงวันที่ 13 เมษายน <span style=\"color: #0d0d0d; text-decoration: none; text-underline: none\">ค.ศ. 1946</span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #0d0d0d; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44852\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/home.jpg\" height=\"60\" width=\"60\" /></a>    <a href=\"/node/47217\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19014/sec01-002.gif\" height=\"35\" width=\"123\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726800967, expire = 1726887367, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dd4cb4a738d10fee6126be1c5b965290' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

.. ผลที่เกิดขึ้นตามมา ..

 

 

       ผลที่เกิดขึ้นตามมา

 

                  สนธิสัญญาดังกล่าวได้ขยายตัวขึ้น    โดยมีการเชื่อมโยงไปถึงมองโกเลียและแมนจูเรีย      สหภาพโซเวียตได้รับประกันต่อความมั่นคงตามอาณาเขตของแมนจูกัว ขณะที่ญี่ปุ่นก็ได้รับประกันความมั่นคงแก่มองโกเลียด้วยเช่นกัน หลังจากนั้น ในปี 1941  ญี่ปุ่น  ในฐานะผู้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาสามฝ่าย  มีความวิตกกังวลว่าควรจะมีการเพิกถอนสนธิสัญญาความเป็นกลางโซเวียต-ญี่ปุ่นนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากนาซีเยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บารอสซา แต่ญี่ปุ่นก็ได้ตัดสินใจที่จะยังคงรักษาสัญญานี้ไว้ และจะขยายดินแดนไปทางใต้ และโจมตีอาณานิคมของชาติอาณานิคมยุโรปในทวีปเอเชียแทน                   

                  ในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตได้ฉีกสนธิสัญญาดังกล่าว โดยแจ้งแก่รัฐบาลญี่ปุ่นว่า "ตามที่ในย่อหน้าที่สามได้กล่าวเอาไว้' ซึ่งได้เปิดโอกาสให้เพิกถอนสนธิสัญญาได้เป็นเวลาหนึ่งปีก่อนหน้าที่ระยะ-เวลาของสนธิสัญญาจะครบห้าปีตามกำหนดรัฐบาลโซเวียตได้ทราบดีว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะยังสามารถจำสนธิสัญญาในวันที่ 13 เมษายน 1941 นี้ได้ '"

 

                   ในวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตประกาศสงครามต่อญี่ปุ่นในปฏิบัติการพายุสิงหาคม ซึ่งเป็นการรักษาสัญญาในที่ประชุมยัลต้า     แก่ฝ่ายสัมพันธมิตร ที่จะเข้าสู่สงครามในเวลาสามเดือนหลังจากวันแห่งชัยชนะในทวีปยุโรป ญี่ปุ่นได้โต้แย้งว่า      ขณะที่สหภาพโซเวียตชี้ให้เห็นถึงเนื้อหาของย่อหน้าที่สามว่าสนธิสัญญาดังกล่าวจะไม่ได้รับการต่ออายุ ปฏิบัติการพายุสิงหาคมก็ยังละเมิดต่อสนธิสัญญา ซึ่งยังไม่ครบวาระจนกว่าจะถึงวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1946

 

 

   

 

สร้างโดย: 
น.ส. พิชาภพ รัตนางกูร และ อาจารย์กัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 513 คน กำลังออนไลน์