• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:405e20f6b07326a6455fff825d18e2d1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nคุณค่าและสาระของวันสงกรานต์                           \n</p>\n<p>\n             จากภาพรวมของกิจกรรมต่าง ๆ ในวันสงกรานต์ จะเห็นได้ว่า สงกรานต์เป็นประเพณีที่งดงาม อ่อนโยน เอื้ออาทร และเต็มไปด้วยบรรยากาศของความกตัญญู ความเคารพซึ่งกันและกัน เป็นประเพณีที่ให้ความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนมนุษย์ในสังคม โดยใช้น้ำเป็นสื่อในการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกัน มิใช่เทศกาลแห่งน้ำอย่างที่หน่วยงานของรัฐบางแห่งกำลังดำเนินการเพื่อสร้างจุดขาย สร้างรายได้เข้าประเทศ จนสร้างความเข้าใจผิดให้เกิดขึ้นแก่ประชาชนทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่คนไทยด้วยกันเอง ซึ่งกำลังจะห่างไกลและหลุดลอยไปจากรากเหง้าเดิมของประเพณีสงกรานต์กันไปทุกที <br />\nประเพณีที่ถือปฏิบัติและสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน เช่น ประเพณีสงกรานต์นี้ จึงย่อมมีความหมายและมีคุณค่าต่อผู้ปฏิบัติ ชุมชนและสังคมเป็นอย่างยิ่ง กล่าวคือ :     <br />\n             วันสงกรานต์เป็นวันแห่งความรัก ความผูกพันในครอบครัว อย่างแท้จริง สมัยก่อนพ่อแม่จะเตรียมเสื้อผ้าใหม่พร้อมเครื่องประดับให้ลูกหลานไปทำบุญ ลูกหลานก็จะเตรียมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มให้ผู้ใหญ่ได้สวมใส่หลังการรดน้ำขอพร ปัจจุบันเมื่อถึงวันสงกรานต์ทุกคนจะหาโอกาสกลับบ้านไปหาพ่อแม่รดน้ำขอพร เพื่อเป็นสิริมงคลในการเริ่มต้นปีใหม่และเป็นกำลังใจกันและกันในการดำรงชีวิตอยู่ต่อไป          <br />\n             วันสงกรานต์เป็นวันแห่งการแสดงความกตัญญูโดยการปรนนิบัติต่อพ่อแม่และผู้มีพระคุณที่มีชีวิตอยู่ และทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว<br />\n         <br />\n      คุณค่าต่อชุมชน        <br />\n             วันสงกรานต์ เป็นวันที่ก่อให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีในชุมชน เช่น การได้พบปะสังสรรค์ร่วมกันทำบุญ และการละเล่นสนุกสนานรื่นเริงในยามบ่ายหลังจากการทำบุญ โดยการเล่นรดน้ำในหมู่เพื่อนฝูงและคนรู้จักและการละเล่นตามประเพณีท้องถิ่น <br />\n         <br />\n      คุณค่าต่อสังคม  <br />\n         สงกรานต์เป็นประเพณีที่ก่อให้เกิดความเอื้ออาทรต่อสิ่งแวดล้อม เพราะในวันนี้ทุกคนจะช่วยกันทำความสะอาดบ้านเรือน สิ่งของเครื่องใช้ทุกอย่างให้สะอาดหมดจดเพื่อจะได้ต้อนรับปีใหม่ด้วยความแจ่มใส เบิกบาน นอกจากนี้ยังควรช่วยกันทำความสะอาดวัดวาอาราม ที่สาธารณะ และอาคารสถานที่ของหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย<br />\n      คุณค่าต่อศาสนา        <br />\n         วันสงกรานต์ เป็นวันทำบุญครั้งสำคัญครั้งหนึ่งของพุทธศาสนิกชน โดยการทำบุญตักบาตร เลี้ยงพระ ฟังเทศน์ ปฏิบัติธรรม และสรงน้ำพระ ศรัทธาในการทำบุญให้ทาน ซึ่งถือเป็นการเกื้อกูลสูงสุดของมนุษยชาติ และการถือศีลปฏิบัติธรรมซึ่งเป็นเหตุแห่งความเจริญรุ่งเรืองของชีวิต และสามารถสืบทอดพระพุทธศาสนามาได้จนถึงปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>         <br />\nแนวทางปฏิบัติในวันสงกรานต์\n</p>\n<p>\n         เพื่อดำรงไว้ซึ่งความหมาย สาระและคุณค่าของวันสงกรานต์ดังกล่าวแล้ว ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย เราจึงควรเลือกประพฤติปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นแก่นแท้หรือที่เป็นเนื้อหาสาระของประเพณีสงกรานต์อย่างแท้จริง กิจกรรมใดที่หลงเหลือแต่เพียงรูปแบบแต่ขาดซึ่งความหมายที่แท้จริง เช่น การก่อพระเจดีย์ทราย ซึ่งปัจจุบันมิได้ทำเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้พระภิกษุสงฆ์ได้นำทรายไปใช้ในการก่อสร้างของวัด หรือการปล่อยนกปล่อยปลา ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นธุรกิจเพื่อการซื้อ-ขาย ก็อาจจะมีความจำเป็นต้องยกเลิกหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับยุคสมัยหากจำเป็นกิจกรรมที่สมควรประพฤติปฏิบัติในวันสงกรานต์ เพื่อสืบทอดความดีงามของคุณค่าของประเพณีนี้ไว้ มีดังนี้        <br />\n    1.การทำบุญตักบาตร หรือนำอาหารไปถวายพระที่วัด ขาดไม่ได้สำหรับพุทธศาสนิกชน เริ่มจากการเตรียมอาหารและสิ่งของถวายพระอย่างดี แต่งตัวด้วยเสื้อผ้าชุดใหม่ บางหมู่บ้านตามต่างจังหวัดจะมีเลี้ยงพระฉันเช้าที่ศาลาการเปรียญพอพระฉันเสร็จ ยถาสัพพีอนุโมทนาแล้ว ชาวบ้านก็กลับบ้านไปสรงนำพระพุทธรูปทีบ้าน เพื่อสืบทอดและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และเพื่อกล่อมเกลาจิตใจให้รู้จักการให้ การเสียสละ โดยมิมุ่งหวังสิ่งใดตอบแทน <br />\n    2.การทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษ เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณที่ล่วงลับไปแล้ว        <br />\n    3. การสรงน้ำพระ ทั้งพระภิกษุสงฆ์ และพระพุทธรูปเพื่อความเป็นสิริมงคล และแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลที่ดำรงสืบทอดพระพุทธศาสนา  นอกจากจะได้ผลบุญแล้ว ยังถือว่าเป็นการทำความสะอาดหิ้งพระและโกศของบรรพบุรุษไปในคราวเดียวกัน      <br />\n    4.การรดน้ำขอพร หรือ รดน้ำดำหัว สมัยก่อนลูกหลานต้องนำดอกไม้ธูปเทียนและผ้าใหม่สำหรับผลัด รวมทั้งหมากพลูใส่พานไปด้วย เพราะหมากพลูเป็นแสดงความเคารพนับถือและเป็นเครื่องแสดงไมตรีจิตด้วยและยังมีนำส้มป่อยและน้ำอบ\n</p>\n<p>\n      นำส้มป่อยเป็นของใช้แทนสบู่ในสมัยก่อน สำหรับสระผมและชำระร่างกาย ผู้ใหญ่เมื่อรับเครื่องดำหัวแล้ว ต่อจากนั้นก็ให้ศีลให้พรกันตามประเพณี และบางคนยังนำเสื้อผ้าของเขาสำรับหนึ่ง ต่างคนเอาบรรจุลงขันของตน พร้อมด้วยเครื่องบริขารมีกล้วย มีอ้อย มีใบขนุน มีใบแก้ว เป็นต้น\n</p>\n<p>\n      นำไปตั้งที่ลานวัดภายในมณฑล วงด้ายสายสินจน์ แล้วพระสงฆ์ จะประพรมเสื้อผ้าเหล่านั้นด้วยนำมนต์ เพื่อความบริสุทธิ์ของเสื้อผ้าเพื่อใช้ในปีใหม่ เสร็จแล้วนำกลับมาเก็บไว้\n</p>\n<p>\n      เป็นการแสดงความความเคารพและแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยเฉพาะผู้อาวุโสน้อยพึงปฏิบัติต่อผู้อาวุโสมาก เช่น ลูกกับพ่อ-แม่-ปู่-ย่า-ตา-ยาย พุทธศาสนิกชนต่อพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น เป็นการแสดงความสุภาพอ่อนน้อม อ่อนโยน และขอรับพร ซึ่งผู้อาวุโสกว่าเหล่านั้นจะได้อวยชัยให้พรให้อยู่เย็นเป็นสุข และได้ข้อคิดเตือนใจเพื่อเริ่มต้นปีใหม่อย่างไม่ประมาท   <br />\n    5. การเล่นรดน้ำ เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างญาติพี่น้องและมิตรสหาย ด้วยการรดน้ำเพียงเล็กน้อยลงที่ไหล่หรือที่มือ พร้อมกับคำอวยพรให้มีความสุข       <br />\n    6. การเล่นรื่นเริงต่าง ๆ เพื่อเชื่อมความสามัคคีและเพื่อความสนุกสนาน รวมทั้งการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป\n</p>\n<p>\n   ในแต่ละท้องถิ่นย่อมมีค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติเกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ที่แตกต่างกันออกไป ก็สมควรให้ปฏิบัติไปตามนั้น เพื่อเป็นการเคารพภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่ได้กลั่นกรองเลือกสรรแล้วว่าเหมาะสมกับท้องถิ่นของตนเอง ดังนั้น การจะเปลี่ยนแปลงใด ๆ จึงขึ้นกับวิจารณญาณของเจ้าของวัฒนธรรมนั้น ๆ โดยตรง ที่จะเลือกรับหรือไม่รับสิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม รวมทั้งสิ่งใหม่ ๆ ที่แทรกเข้ามาอย่างไม่หยุดยั้ง</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>         <br />\nสงกรานต์ ปัจจุบันและอนาคต<br />\n         ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ที่แผ่ขยายครอบคลุมไปทั่วโลก โดยเฉพาะที่ส่งผลกับประเทศไทย ก่อให้เกิดภาวะวิกฤตกับวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างมาก ประเพณีสงกรานต์ก็ตกอยู่ในวัฏจักรนี้เช่นเดียวกัน มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายประการที่ยังความเป็นห่วงให้เกิดขึ้นแก่ทุกคนที่รักและเห็นคุณค่าของประเพณีนี้ จึงมีความพยายามที่จะรณรงค์ทุกรูปแบบเพื่อให้ทุกคนที่เป็นคนไทย รวมทั้งชาวต่างชาติได้รับรู้ถึงความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของประเพณีสงกรานต์ที่แท้จริง\n</p>\n<p>\n         หากคนไทยทุกคนเข้าใจถึงคุณค่า และแนวทางปฏิบัติของประเพณีสงกรานต์ และร่วมมือกันปฏิบัติให้ถูกต้องเพื่อสืบทอดความหมายและคุณค่า ความเบี่ยงเบน ความรุนแรงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นก็จะหมดไป โดยเฉพาะเกี่ยวกับการเล่นสาดน้ำที่เกินเหตุ ซึ่งนอกจากจะเต็มไปด้วยพฤติกรรมที่เสี่ยงอันตรายทั้งการใช้น้ำสกปรก การใช้น้ำแข็งขว้างปา การใช้อุปกรณ์ฉีดน้ำที่มีแรงดันสูงจนก่อให้เกิดอันตราย การใช้แป้งใช้สีทาตามหน้าตาและเนื้อตัว ฯลฯ ตลอดจนกระทั่งการขยายความหมายของการเล่นสาดน้ำให้เป็นจุดขายของประเพณีสงกรานต์จนเกินจริง ทั้ง ๆ ที่การเล่นรดน้ำเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่แสดงถึงความเอาใจใส่ ความเอื้ออาทร และความหวังดีซึ่งกันและกันเท่านั้น<br />\n                 <br />\n         เราคนไทยควรใช้ประเพณีสงกรานต์นี้ เป็นโอกาสในการสร้างความรัก ความกตัญญู ความเอื้ออาทร ความเคารพซึ่งกันและกัน เพื่อสานความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อมนุษย์ด้วยกัน มากกว่าจะเป็นเพียงการเล่นสาดน้ำอย่างอึกทึกครึกโครมเท่านั้น โดยละเลยคุณค่า สาระ ที่เป็นแก่นแท้ของประเพณีสงกรานต์ที่งดงามมาและทรงคุณค่ามาแต่อดีต\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47377\"><img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u21167/home6.gif\" height=\"80\" /></a>\n</p>\n<p>\nที่มา :  <a href=\"http://www.tungsong.com/Important_Day/Songkran/index.aspa\">http://www.tungsong.com/Important_Day/Songkran/index.aspa</a>\n</p>\n', created = 1726817862, expire = 1726904262, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:405e20f6b07326a6455fff825d18e2d1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:986c138eeab7cfeee3ae5184fbb701fc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>         <br />\nแนวทางปฏิบัติในวันสงกรานต์\n</p>\n<p>\n         เพื่อดำรงไว้ซึ่งความหมาย สาระและคุณค่าของวันสงกรานต์ดังกล่าวแล้ว ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย เราจึงควรเลือกประพฤติปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นแก่นแท้หรือที่เป็นเนื้อหาสาระของประเพณีสงกรานต์อย่างแท้จริง กิจกรรมใดที่หลงเหลือแต่เพียงรูปแบบแต่ขาดซึ่งความหมายที่แท้จริง เช่น การก่อพระเจดีย์ทราย ซึ่งปัจจุบันมิได้ทำเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้พระภิกษุสงฆ์ได้นำทรายไปใช้ในการก่อสร้างของวัด หรือการปล่อยนกปล่อยปลา ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นธุรกิจเพื่อการซื้อ-ขาย ก็อาจจะมีความจำเป็นต้องยกเลิกหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับยุคสมัยหากจำเป็นกิจกรรมที่สมควรประพฤติปฏิบัติในวันสงกรานต์ เพื่อสืบทอดความดีงามของคุณค่าของประเพณีนี้ไว้ มีดังนี้        <br />\n    1.การทำบุญตักบาตร หรือนำอาหารไปถวายพระที่วัด ขาดไม่ได้สำหรับพุทธศาสนิกชน เริ่มจากการเตรียมอาหารและสิ่งของถวายพระอย่างดี แต่งตัวด้วยเสื้อผ้าชุดใหม่ บางหมู่บ้านตามต่างจังหวัดจะมีเลี้ยงพระฉันเช้าที่ศาลาการเปรียญพอพระฉันเสร็จ ยถาสัพพีอนุโมทนาแล้ว ชาวบ้านก็กลับบ้านไปสรงนำพระพุทธรูปทีบ้าน เพื่อสืบทอดและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และเพื่อกล่อมเกลาจิตใจให้รู้จักการให้ การเสียสละ โดยมิมุ่งหวังสิ่งใดตอบแทน <br />\n    2.การทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษ เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณที่ล่วงลับไปแล้ว        <br />\n    3. การสรงน้ำพระ ทั้งพระภิกษุสงฆ์ และพระพุทธรูปเพื่อความเป็นสิริมงคล และแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลที่ดำรงสืบทอดพระพุทธศาสนา  นอกจากจะได้ผลบุญแล้ว ยังถือว่าเป็นการทำความสะอาดหิ้งพระและโกศของบรรพบุรุษไปในคราวเดียวกัน      <br />\n    4.การรดน้ำขอพร หรือ รดน้ำดำหัว สมัยก่อนลูกหลานต้องนำดอกไม้ธูปเทียนและผ้าใหม่สำหรับผลัด รวมทั้งหมากพลูใส่พานไปด้วย เพราะหมากพลูเป็นแสดงความเคารพนับถือและเป็นเครื่องแสดงไมตรีจิตด้วยและยังมีนำส้มป่อยและน้ำอบ\n</p>\n<p>\n      นำส้มป่อยเป็นของใช้แทนสบู่ในสมัยก่อน สำหรับสระผมและชำระร่างกาย ผู้ใหญ่เมื่อรับเครื่องดำหัวแล้ว ต่อจากนั้นก็ให้ศีลให้พรกันตามประเพณี และบางคนยังนำเสื้อผ้าของเขาสำรับหนึ่ง ต่างคนเอาบรรจุลงขันของตน พร้อมด้วยเครื่องบริขารมีกล้วย มีอ้อย มีใบขนุน มีใบแก้ว เป็นต้น\n</p>\n<p>\n      นำไปตั้งที่ลานวัดภายในมณฑล วงด้ายสายสินจน์ แล้วพระสงฆ์ จะประพรมเสื้อผ้าเหล่านั้นด้วยนำมนต์ เพื่อความบริสุทธิ์ของเสื้อผ้าเพื่อใช้ในปีใหม่ เสร็จแล้วนำกลับมาเก็บไว้\n</p>\n<p>\n      เป็นการแสดงความความเคารพและแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยเฉพาะผู้อาวุโสน้อยพึงปฏิบัติต่อผู้อาวุโสมาก เช่น ลูกกับพ่อ-แม่-ปู่-ย่า-ตา-ยาย พุทธศาสนิกชนต่อพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น เป็นการแสดงความสุภาพอ่อนน้อม อ่อนโยน และขอรับพร ซึ่งผู้อาวุโสกว่าเหล่านั้นจะได้อวยชัยให้พรให้อยู่เย็นเป็นสุข และได้ข้อคิดเตือนใจเพื่อเริ่มต้นปีใหม่อย่างไม่ประมาท   <br />\n    5. การเล่นรดน้ำ เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างญาติพี่น้องและมิตรสหาย ด้วยการรดน้ำเพียงเล็กน้อยลงที่ไหล่หรือที่มือ พร้อมกับคำอวยพรให้มีความสุข       <br />\n    6. การเล่นรื่นเริงต่าง ๆ เพื่อเชื่อมความสามัคคีและเพื่อความสนุกสนาน รวมทั้งการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป\n</p>\n<p>\n   ในแต่ละท้องถิ่นย่อมมีค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติเกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ที่แตกต่างกันออกไป ก็สมควรให้ปฏิบัติไปตามนั้น เพื่อเป็นการเคารพภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่ได้กลั่นกรองเลือกสรรแล้วว่าเหมาะสมกับท้องถิ่นของตนเอง ดังนั้น การจะเปลี่ยนแปลงใด ๆ จึงขึ้นกับวิจารณญาณของเจ้าของวัฒนธรรมนั้น ๆ โดยตรง ที่จะเลือกรับหรือไม่รับสิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม รวมทั้งสิ่งใหม่ ๆ ที่แทรกเข้ามาอย่างไม่หยุดยั้ง</p>\n', created = 1726817862, expire = 1726904262, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:986c138eeab7cfeee3ae5184fbb701fc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คุณค่าและสาระของวันสงกรานต์

        
แนวทางปฏิบัติในวันสงกรานต์

         เพื่อดำรงไว้ซึ่งความหมาย สาระและคุณค่าของวันสงกรานต์ดังกล่าวแล้ว ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย เราจึงควรเลือกประพฤติปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นแก่นแท้หรือที่เป็นเนื้อหาสาระของประเพณีสงกรานต์อย่างแท้จริง กิจกรรมใดที่หลงเหลือแต่เพียงรูปแบบแต่ขาดซึ่งความหมายที่แท้จริง เช่น การก่อพระเจดีย์ทราย ซึ่งปัจจุบันมิได้ทำเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้พระภิกษุสงฆ์ได้นำทรายไปใช้ในการก่อสร้างของวัด หรือการปล่อยนกปล่อยปลา ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นธุรกิจเพื่อการซื้อ-ขาย ก็อาจจะมีความจำเป็นต้องยกเลิกหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับยุคสมัยหากจำเป็นกิจกรรมที่สมควรประพฤติปฏิบัติในวันสงกรานต์ เพื่อสืบทอดความดีงามของคุณค่าของประเพณีนี้ไว้ มีดังนี้       
    1.การทำบุญตักบาตร หรือนำอาหารไปถวายพระที่วัด ขาดไม่ได้สำหรับพุทธศาสนิกชน เริ่มจากการเตรียมอาหารและสิ่งของถวายพระอย่างดี แต่งตัวด้วยเสื้อผ้าชุดใหม่ บางหมู่บ้านตามต่างจังหวัดจะมีเลี้ยงพระฉันเช้าที่ศาลาการเปรียญพอพระฉันเสร็จ ยถาสัพพีอนุโมทนาแล้ว ชาวบ้านก็กลับบ้านไปสรงนำพระพุทธรูปทีบ้าน เพื่อสืบทอดและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และเพื่อกล่อมเกลาจิตใจให้รู้จักการให้ การเสียสละ โดยมิมุ่งหวังสิ่งใดตอบแทน 
    2.การทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษ เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณที่ล่วงลับไปแล้ว        
    3. การสรงน้ำพระ ทั้งพระภิกษุสงฆ์ และพระพุทธรูปเพื่อความเป็นสิริมงคล และแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคลที่ดำรงสืบทอดพระพุทธศาสนา  นอกจากจะได้ผลบุญแล้ว ยังถือว่าเป็นการทำความสะอาดหิ้งพระและโกศของบรรพบุรุษไปในคราวเดียวกัน     
    4.การรดน้ำขอพร หรือ รดน้ำดำหัว สมัยก่อนลูกหลานต้องนำดอกไม้ธูปเทียนและผ้าใหม่สำหรับผลัด รวมทั้งหมากพลูใส่พานไปด้วย เพราะหมากพลูเป็นแสดงความเคารพนับถือและเป็นเครื่องแสดงไมตรีจิตด้วยและยังมีนำส้มป่อยและน้ำอบ

      นำส้มป่อยเป็นของใช้แทนสบู่ในสมัยก่อน สำหรับสระผมและชำระร่างกาย ผู้ใหญ่เมื่อรับเครื่องดำหัวแล้ว ต่อจากนั้นก็ให้ศีลให้พรกันตามประเพณี และบางคนยังนำเสื้อผ้าของเขาสำรับหนึ่ง ต่างคนเอาบรรจุลงขันของตน พร้อมด้วยเครื่องบริขารมีกล้วย มีอ้อย มีใบขนุน มีใบแก้ว เป็นต้น

      นำไปตั้งที่ลานวัดภายในมณฑล วงด้ายสายสินจน์ แล้วพระสงฆ์ จะประพรมเสื้อผ้าเหล่านั้นด้วยนำมนต์ เพื่อความบริสุทธิ์ของเสื้อผ้าเพื่อใช้ในปีใหม่ เสร็จแล้วนำกลับมาเก็บไว้

      เป็นการแสดงความความเคารพและแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยเฉพาะผู้อาวุโสน้อยพึงปฏิบัติต่อผู้อาวุโสมาก เช่น ลูกกับพ่อ-แม่-ปู่-ย่า-ตา-ยาย พุทธศาสนิกชนต่อพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น เป็นการแสดงความสุภาพอ่อนน้อม อ่อนโยน และขอรับพร ซึ่งผู้อาวุโสกว่าเหล่านั้นจะได้อวยชัยให้พรให้อยู่เย็นเป็นสุข และได้ข้อคิดเตือนใจเพื่อเริ่มต้นปีใหม่อย่างไม่ประมาท   
    5. การเล่นรดน้ำ เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างญาติพี่น้องและมิตรสหาย ด้วยการรดน้ำเพียงเล็กน้อยลงที่ไหล่หรือที่มือ พร้อมกับคำอวยพรให้มีความสุข      
    6. การเล่นรื่นเริงต่าง ๆ เพื่อเชื่อมความสามัคคีและเพื่อความสนุกสนาน รวมทั้งการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป

   ในแต่ละท้องถิ่นย่อมมีค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติเกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ที่แตกต่างกันออกไป ก็สมควรให้ปฏิบัติไปตามนั้น เพื่อเป็นการเคารพภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่ได้กลั่นกรองเลือกสรรแล้วว่าเหมาะสมกับท้องถิ่นของตนเอง ดังนั้น การจะเปลี่ยนแปลงใด ๆ จึงขึ้นกับวิจารณญาณของเจ้าของวัฒนธรรมนั้น ๆ โดยตรง ที่จะเลือกรับหรือไม่รับสิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม รวมทั้งสิ่งใหม่ ๆ ที่แทรกเข้ามาอย่างไม่หยุดยั้ง

สร้างโดย: 
kruubol

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 492 คน กำลังออนไลน์