• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.145.156.122', 0, '19320ea8977326ec9346f08637e76ffa', 105, 1716789101) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eeb7ea24fe08517cd0fb0aa457b861b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong></strong><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">ฟังก์ชั่น (Functions)</span><br />\n</span></span><br />\n         </strong>การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถสร้างฟังก์ชั่นใหม่ขึ้นมาได้ และสามารถเรียกใช้ได้เมื่อต้องการ โดยฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วยคำสั่งต่างๆ รวมกันอยู่ การสร้างฟังก์ชั่นนี้จะคล้ายกับการสร้างโพรซีเยอร์ แต่จะใช้คำนำหน้าว่า function และต้องระบุด้วยว่าเมื่อเรียกฟังก์ชั่นแล้วจะมีการคืนค่าประเภทใดออกมา ในภาษาปาสคาลมีฟังก์ชั่นมาตรฐานให้ใช้งานมากมาย  แต่ที่นิยมใช้กันมากได้แก่ ฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์</p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff0000\">โครงสร้างฟังก์ชั่น</span><br />\n         </strong>ในการสร้างฟังก์ชั่นจะต้องกำหนดรูปแบบของฟังก์ชั่นดังต่อไปนี้<br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">รูปแบบ<br />\n</span>         </strong>function ชื่อฟังก์ชั่น (พารามิเตอร์) : ประเภทข้อมูลของผลลัพธ์;<br />\n              begin<br />\n                     statement;<br />\n              end;<br />\n         จะเห็นได้ว่าโครงสร้างของฟังก์ชั่นจะคล้ายกับโพรซีเยอร์ แต่จะมีการเริ่มต้นด้วยคำว่า function และตามด้วยชื่อฟังก์ชั่น และมีพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ต้องใช้ในฟังก์ชั่น จากนั้นการทำงานต่างๆ ภายใจ ฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นด้วยคำว่า begin และจบท้ายด้วย end; และก่อนที่จะจบฟังก์ชั่นด้วย end; จะต้องมีการคืนค่าให้กับชื่อฟังก์ชั่นเสียก่อน นอกจากนี้ในฟังก์ชั่นสามารถประกาศตัวแปรได้เช่นเดียวโพรซีเยอร์ ดังตัวอย่างเช่น</p>\n<p>          function ADD(x,y : integer) : integer;<br />\n              begin<br />\n                     ADD := x + y;            { คืนค่าให้ชื่อฟังก์ชั่น }<br />\n              end;<br />\n        <br />\n         ฟังก์ชั่นนี้ชื่อว่า ADD โดยจะทำหน้าที่บวกเลขที่รับเข้าไปในพารามิเตอร์ x และ y โดยตัวเลขที่รับมาจะเป็นเลขจำนวนเต็ม และค่าของผลลัพธ์จากทำฟังก์ชั่นจะเป็นจำนวนเต็มเช่นกัน สำหรับการเรียกใช้ฟังก์ชั่นสามารถทำได้เช่นเดียวกับโพรซีเยอร์ โดยเรียกชื่อฟังก์ชั่นขึ้นมาเลย <u>แต่ชื่อของฟังก์ชั่นจะมีค่าอยู่ภายในตัวของมันเอง</u></p>\n<p>                                                                            <u><a href=\"/node/40498\" title=\"กลับสู่หน้าหลัก\"><img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"70\" src=\"/files/u18287/home_copy.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" height=\"76\" style=\"width: 48px; height: 49px\" /></a></u>\n</p>\n', created = 1716789111, expire = 1716875511, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eeb7ea24fe08517cd0fb0aa457b861b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 ฟังก์ชั่น (Functions)


ฟังก์ชั่น (Functions)

        
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถสร้างฟังก์ชั่นใหม่ขึ้นมาได้ และสามารถเรียกใช้ได้เมื่อต้องการ โดยฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วยคำสั่งต่างๆ รวมกันอยู่ การสร้างฟังก์ชั่นนี้จะคล้ายกับการสร้างโพรซีเยอร์ แต่จะใช้คำนำหน้าว่า function และต้องระบุด้วยว่าเมื่อเรียกฟังก์ชั่นแล้วจะมีการคืนค่าประเภทใดออกมา ในภาษาปาสคาลมีฟังก์ชั่นมาตรฐานให้ใช้งานมากมาย  แต่ที่นิยมใช้กันมากได้แก่ ฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์

โครงสร้างฟังก์ชั่น
        
ในการสร้างฟังก์ชั่นจะต้องกำหนดรูปแบบของฟังก์ชั่นดังต่อไปนี้
รูปแบบ
        
function ชื่อฟังก์ชั่น (พารามิเตอร์) : ประเภทข้อมูลของผลลัพธ์;
              begin
                     statement;
              end;
         จะเห็นได้ว่าโครงสร้างของฟังก์ชั่นจะคล้ายกับโพรซีเยอร์ แต่จะมีการเริ่มต้นด้วยคำว่า function และตามด้วยชื่อฟังก์ชั่น และมีพารามิเตอร์ต่างๆ ที่ต้องใช้ในฟังก์ชั่น จากนั้นการทำงานต่างๆ ภายใจ ฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นด้วยคำว่า begin และจบท้ายด้วย end; และก่อนที่จะจบฟังก์ชั่นด้วย end; จะต้องมีการคืนค่าให้กับชื่อฟังก์ชั่นเสียก่อน นอกจากนี้ในฟังก์ชั่นสามารถประกาศตัวแปรได้เช่นเดียวโพรซีเยอร์ ดังตัวอย่างเช่น

          function ADD(x,y : integer) : integer;
              begin
                     ADD := x + y;            { คืนค่าให้ชื่อฟังก์ชั่น }
              end;
        
         ฟังก์ชั่นนี้ชื่อว่า ADD โดยจะทำหน้าที่บวกเลขที่รับเข้าไปในพารามิเตอร์ x และ y โดยตัวเลขที่รับมาจะเป็นเลขจำนวนเต็ม และค่าของผลลัพธ์จากทำฟังก์ชั่นจะเป็นจำนวนเต็มเช่นกัน สำหรับการเรียกใช้ฟังก์ชั่นสามารถทำได้เช่นเดียวกับโพรซีเยอร์ โดยเรียกชื่อฟังก์ชั่นขึ้นมาเลย แต่ชื่อของฟังก์ชั่นจะมีค่าอยู่ภายในตัวของมันเอง

                                                                            กลับสู่หน้าหลัก

สร้างโดย: 
ว่าที่ ร.ต. อัศวิน สุรวัชโยธิน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 219 คน กำลังออนไลน์