• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('วิวฒนาการของเงินตรา', 'node/47085', '', '3.135.201.209', 0, 'ed16d225c975d9becfe34f42b7662ad6', 116, 1716773282) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d1ed3b33fd8bd371ed473eb21dbbb9d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p> <strong><span style=\"color: #ff0000\">การเก็บข้อมูลของตัวแปร<br />\n</span>                     </strong>ตัวแปร หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล ในการประกาศตัวแปรให้กับโปรแกรม เมื่อโปรแกรมมีการทำงานตัวแปรต่างๆ จะเป็นตำแหน่งหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล ดังตัวอย่างเช่น<br />\n          <span style=\"color: #0000ff\"> </span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">Program Alphabet;<br />\n           Var a:integer;<br />\n           Begin<br />\n                  a:=5;<br />\n                  a:=10;<br />\n                  WriteLn(\'a is \',a);<br />\n           End.<br />\n</span></span><span style=\"color: #999999\">                     </span><span style=\"color: #000000\">จะเห็นได้ว่าเมื่อทำการรันโปรแกรม เริ่มแรกค่าในตัวแปร a จะมีค่าเป็น 5 ต่อมามีการใส่ค่า 10 ลงไปในตัวแปร a ทำให้ค่าที่มีอยู่ใน a จาก 5 กลายเป็น 10 เมื่อทำการรันโปรแกรมไปจนถึงคำส่ง WriteLn จะทำให้พิมพ์เลข 10 ออกมาทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ เมื่อเป็นเช่นนั้นในการทำงานของโปรแกรมใดๆ ค่าในหน่วยของความจำหรือตัวแปรอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ โดยค่าเก่าจะหายไปและถูกแทนด้วยค่าใหม่ </span></p>\n<p>           <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" /> <span style=\"color: #ff0000\">เกร็ดความรู้ เครื่องหมาย := หรือที่เรียกกันว่า &quot;Assignment Operator&quot; นั้นทำหน้าที่ในการส่งค่าที่อยู่ทางขวามือของเครื่องหมายไปเก็บไว้ในตัวแปรทางด้านซ้ายมือ</span></p>\n<p>                <span style=\"color: #ff0000\"> </span><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">การกำหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร</span></span></strong><span style=\"color: #ff0000\"> <br />\n</span>                       สำหรับการกำหนดค่าคงที่จะใช้ในการกำหนดชื่อให้เป็นค่าคงที่ในโปรแกรม โดยค่าที่ได้กำหนดนี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดการทำงานของโปรแกรม ค่าคงที่อาจเป็นข้อมูลชนิดตัวเลข หรือเป็นชนิดตัวอักขระก็ได้ การประกาศค่าคงที่จะเริ่มต้นด้วยคำว่า const ซึ่งสามารถทำได้ 2 รูปแบบดังต่อไปนี้<br />\n                 <strong><span style=\"color: #ff0000\">รูปแบบ<br />\n</span>                       </strong>1. const    ชื่อ =  ค่าคงที่ หรือสเตตเมนท์;<br />\n                       2. const    ชื่อ :   ชนิดข้อมูล  =  ค่าคงที่;<br />\n             <span style=\"color: #ff0000\">    </span><strong><span style=\"color: #ff0000\">ตัวอย่างเช่น<br />\n</span>                       </strong><span style=\"color: #0000ff\">const   max   =   1000;<br />\n                                  min    :    integer   =   2000;<br />\n                                  sum   =   (a+b) div 2;<br />\n</span>                <span style=\"color: #ff0000\"> <strong>การรับข้อมูลจากภายนอก</strong></span> <br />\n                       การจะกำหนดค่าให้กับตัวแปรโดยรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์จะต้องใช้คำสั่งมาตรฐานในการรับข้อมูล ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 คำสั่งคือ Read กับ ReadLn ทั้งสองคำสั่งจะเป็นการรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอก เข้ามาเก็บในตัวแปรที่กำหนด โดยการรับข้อมูลจะต้องสอดคล้องกับประเภทของตัวแปรที่ได้ประกาศไว้ คำสั่ง Read กับ ReadLn จะมีความแตกต่างกันตรงที่คำสั่ง Read เมื่อรับข้อมูลเข้าไปแล้วเคอร์เซอร์จะอยู่ที่เดิม ส่วนคำสั่ง ReadLn  เมื่อรับข้อมูลเข้าไปแล้วเคอร์เซอร์จะอยู่ที่เดิม ส่วนคำสั่ง ReadLn เมื่อรับข้อมูลเข้าไปแล้วเคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดใหม่ <br />\n                <span style=\"color: #ff0000\">  </span><strong><span style=\"color: #ff0000\">รูปแบบ<br />\n</span>                       </strong><span style=\"color: #0000ff\">Read(var1,var2,var3);<br />\n                       ReadLn(Var1,var2,var3);<br />\n</span>                       การใช้คำสั่ง Read และ ReadLn มีหลายรูปแบบ ตัวแปรที่เก็บข้อมูลจะต้องอยู่ในวงเล็บเสมอและอยู่ตามหลังคำสั่ง โดยอาจเก็บข้อมูลหลายๆ ตัวแปรหรือเก็บในตัวแปรเดียวก็ได้ แต่ถ้าหากใช้คำสั่งที่ไม่มีวงเล็บตามหลัง จะให้ผู้ใช้โปรแกรมป้อนอะไรก็ได้จนกว่าจะกดคีย์ &lt;Enter&gt; โดยจะไม่มีการเก็บค่าที่ป้อนไว้ในตัวแปร เมื่อโปรแกรมทำงานมาถึงคำสั่ง Read หรือ ReadLn คอมพิวเตอร์จะหยุดรอการป้อนข้อมูล<br />\n                 <span style=\"color: #ff0000\"> </span><strong><span style=\"color: #ff0000\">ตัวอย่างโปรแกรม<br />\n</span>                      <span style=\"color: #0000ff\"> </span></strong><span style=\"color: #0000ff\">Var a,b,c,d:integer;<br />\n                       .........................<br />\n                       Read(a,b);<br />\n                       ReadLn(c,d);<br />\n                       ..........................<br />\n</span></p>\n', created = 1716773292, expire = 1716859692, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d1ed3b33fd8bd371ed473eb21dbbb9d3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การรับค่าตัวแปร

 การเก็บข้อมูลของตัวแปร
                    
ตัวแปร หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล ในการประกาศตัวแปรให้กับโปรแกรม เมื่อโปรแกรมมีการทำงานตัวแปรต่างๆ จะเป็นตำแหน่งหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล ดังตัวอย่างเช่น
           Program Alphabet;
           Var a:integer;
           Begin
                  a:=5;
                  a:=10;
                  WriteLn('a is ',a);
           End.
                     จะเห็นได้ว่าเมื่อทำการรันโปรแกรม เริ่มแรกค่าในตัวแปร a จะมีค่าเป็น 5 ต่อมามีการใส่ค่า 10 ลงไปในตัวแปร a ทำให้ค่าที่มีอยู่ใน a จาก 5 กลายเป็น 10 เมื่อทำการรันโปรแกรมไปจนถึงคำส่ง WriteLn จะทำให้พิมพ์เลข 10 ออกมาทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ เมื่อเป็นเช่นนั้นในการทำงานของโปรแกรมใดๆ ค่าในหน่วยของความจำหรือตัวแปรอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ โดยค่าเก่าจะหายไปและถูกแทนด้วยค่าใหม่ 

           Laughing เกร็ดความรู้ เครื่องหมาย := หรือที่เรียกกันว่า "Assignment Operator" นั้นทำหน้าที่ในการส่งค่าที่อยู่ทางขวามือของเครื่องหมายไปเก็บไว้ในตัวแปรทางด้านซ้ายมือ

                 การกำหนดค่าคงที่ให้กับตัวแปร 
                       สำหรับการกำหนดค่าคงที่จะใช้ในการกำหนดชื่อให้เป็นค่าคงที่ในโปรแกรม โดยค่าที่ได้กำหนดนี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดการทำงานของโปรแกรม ค่าคงที่อาจเป็นข้อมูลชนิดตัวเลข หรือเป็นชนิดตัวอักขระก็ได้ การประกาศค่าคงที่จะเริ่มต้นด้วยคำว่า const ซึ่งสามารถทำได้ 2 รูปแบบดังต่อไปนี้
                 รูปแบบ
                      
1. const    ชื่อ =  ค่าคงที่ หรือสเตตเมนท์;
                       2. const    ชื่อ :   ชนิดข้อมูล  =  ค่าคงที่;
                 ตัวอย่างเช่น
                      
const   max   =   1000;
                                  min    :    integer   =   2000;
                                  sum   =   (a+b) div 2;
                 การรับข้อมูลจากภายนอก
                       การจะกำหนดค่าให้กับตัวแปรโดยรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์จะต้องใช้คำสั่งมาตรฐานในการรับข้อมูล ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 คำสั่งคือ Read กับ ReadLn ทั้งสองคำสั่งจะเป็นการรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอก เข้ามาเก็บในตัวแปรที่กำหนด โดยการรับข้อมูลจะต้องสอดคล้องกับประเภทของตัวแปรที่ได้ประกาศไว้ คำสั่ง Read กับ ReadLn จะมีความแตกต่างกันตรงที่คำสั่ง Read เมื่อรับข้อมูลเข้าไปแล้วเคอร์เซอร์จะอยู่ที่เดิม ส่วนคำสั่ง ReadLn  เมื่อรับข้อมูลเข้าไปแล้วเคอร์เซอร์จะอยู่ที่เดิม ส่วนคำสั่ง ReadLn เมื่อรับข้อมูลเข้าไปแล้วเคอร์เซอร์จะขึ้นบรรทัดใหม่
                  รูปแบบ
                      
Read(var1,var2,var3);
                       ReadLn(Var1,var2,var3);
                       การใช้คำสั่ง Read และ ReadLn มีหลายรูปแบบ ตัวแปรที่เก็บข้อมูลจะต้องอยู่ในวงเล็บเสมอและอยู่ตามหลังคำสั่ง โดยอาจเก็บข้อมูลหลายๆ ตัวแปรหรือเก็บในตัวแปรเดียวก็ได้ แต่ถ้าหากใช้คำสั่งที่ไม่มีวงเล็บตามหลัง จะให้ผู้ใช้โปรแกรมป้อนอะไรก็ได้จนกว่าจะกดคีย์ <Enter> โดยจะไม่มีการเก็บค่าที่ป้อนไว้ในตัวแปร เมื่อโปรแกรมทำงานมาถึงคำสั่ง Read หรือ ReadLn คอมพิวเตอร์จะหยุดรอการป้อนข้อมูล
                  ตัวอย่างโปรแกรม
                      
Var a,b,c,d:integer;
                       .........................
                       Read(a,b);
                       ReadLn(c,d);
                       ..........................

สร้างโดย: 
ว่าที่ ร.ต. อัศวิน สุรวัชโยธิน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 281 คน กำลังออนไลน์