ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 13 แสง

บทที่ 13 แสง

การสะท้อนของแสง
มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งกลับ

ซ้ายขวา ขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับ
ระยะวัตถุการสะท้อนของกระจกโค้ง
1.
f =
ความยาวโฟกัส

R =
รัศมีความโค้งของกระจก

S =
ระยะวัตถุ

ระยะภาพ
2.
กำลังขยาย

ภาพจริง - ระยะวัตถุ (s) และระยะภาพ จะเป็นบวก (+)

ภาพเสมือน - ระยะวัตถุ และระยะภาพ จะเป็นลบ (-)

กระจกเว้า และเลนส์นูน - ระยะโฟกัส (f) จะเป็นบวก (+)

กระจกนูนและเลนส์เว้า - ระยะโฟกัส จะเป็นลบ (-)

ทัศนอุปกรณ์ต่าง ๆ

1.
เครื่องฉายภาพนิ่ง - ให้ภาพจริงขนาดขยายบนฉากรับ

โดยใส่ slide ที่ ระยะ 2S > f แต่ < 2f
2.
แว่นขยาย - ให้ภาพเสมือนขนาดขยาย โดยใช้เลนส์นูน

ที่ระยะ S < f
3.
กล้องถ่ายรูป - ให้ภาพจริงหัวกลับขนาดย่อบนแผ่นฟิล์ม

โดยผู้ที่ถูกถ่ายจะยืนที่ระยะ
S > 2f
4.
กล้องจุลทรรศน์ - ให้ภาพสุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับ

ขนาดขยายโดยจะต้องใช้เลนส์นูน 2 อัน อันแรกเป็นเลนส์
วัตถุ จะให้ภาพจริงหัวกลับ ขนาดขยาย ส่วนอันดับที่ 2
เป็นเลนส์ตา ให้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดขยาย จึงได้ภาพ

สุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับขนาดขยาย
กำลังขยาย = กำลังขยายเลนส์ตา x กำลังขยายเลนส์วัตถุ

5.
กล้องโทรทัศน์ - ให้ภาพเสมือนหัวกลับ ขนาดเล็ก

กว่าวัตถุ

การหักเหของแสง
การหักเห เกิดจากอัตราเร็วของคลื่นแสงในตัวกลางทั้ง

สองไม่เท่ากัน

n2 = ดัชนีหักเหของตัวกลาง 2
n1 =
ดัชนีหักเหของตัวกลาง
1
v =
ความเร็วของแสง

=
มุมตกกระทบ

=
ความยาวคลื่น

n = ดัชนีหักเหของตัวกลางเทียบกับอากาศ
c =
ความเร็วของแสงในอากาศ

v =
ความเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ

ตัวกลางโปร่งอาทิ เช่น อากาศ จะมีค่าดัชนีหักเหน้อย แต่จะ

มี มาก
มุมวิกฤต

มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเห

เป็น 90o ปรากฎการสะท้อนกลับหมด มุมตกกระทบจะมาก
กว่ามุมวิกฤต เกิดจากการที่คลื่นแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่
มีค่าดรรชนีหักเหมากไปสู่ตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อย
ถ้ามุมตกกระทบ จะสะท้อนกลับหมด

ระยะจริงและระยะปรากฎ

มองตรง :

มองเฉียง :

=
ระยะปรากฎ

S =
ระยะจริง

=
ดัชนีหักเหของตา

n =
ดัชนีหักเหของวัตถุ

การมองจากตัวกลางโปร่ง ตัวกลางทึบ ระยะปรากฎ
<
ระยะจริง

มองจากตัวกลางทึบ ตัวกลางโปร่ง ระยะปรากฎ >
ระยะจริง

โพลาไรเซซัน

เมื่อแสงตกกระทบตัวกลางแล้วเกิดการหักเห และสะ

ท้อนกลับทำมุม 90o ซึ่งกันและกัน มุมกระทบนี้เรียกว่า
Polarizing Angle
แสงที่สะท้อนจะเป็นแสงโพลาไรซ์

nx = ดัชนีหักเหของตัวกลาง
=
มุม
Polarizing Angle
การแทรกสอดของคลื่นแสง

1.
เกิดจากช่องแถบคู่

แถบสว่าง :
แถบมืด :

2.
เกิดจากช่องแถบเดี่ยว

แถบสว่าง :
แถบมืด :

ความสว่างของแสง

E = ความสว่างของแสง หน่วยเป็นลูเมนซ์ / ตรม.
หรือ ลักซ์

F =
ฟลักซ์ของการส่องสว่าง หน่วยเป็นลูเมนซ์

A =
พื้นที่ฉาก

แม่สีของแสงสีปฐมภูมิ คือ แดง เขียว น้ำเงิน

แม่สีของสารสีปฐมภูมิ คือ แดงม่วง เหลือง น้ำเงินเขียว

 

สร้างโดย: 
นายอุกฤษฏ์ นันอุมาลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 293 คน กำลังออนไลน์