• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5fe757b1b0a7454e5bc7bd35f49d4245' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">บทที่ </span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">8 </span></b><b><span lang=\"TH\">สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น</span></b></span></span><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">สภาพสมดุล (</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Equilibrium)</span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">คือ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่ วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ถ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ สมดุลจะแบ่งเป็น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1. </span><span lang=\"TH\">สมดุลสถิต (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Static Equilibrium) </span><span lang=\"TH\">เป็นสมดุลของ วัต ถุขณะอยู่นิ่ง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2. </span><span lang=\"TH\">สมดุลจลน์ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Kinetic Equilibrium) </span><span lang=\"TH\">เป็นสมดุลของ วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">a = 0) </span><span lang=\"TH\">เมื่อพิจารณาการ เคลื่อนที่เป็นหลัก จะมีเงื่อนไขสมดุลอยู่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2 </span><span lang=\"TH\">อย่างคือ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1. </span><span lang=\"TH\">สมดุลต่อการเลื่อนที่ คือ วัตถุอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ด้วยความเร็วคงตัว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จะมีค่า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 36pt; height: 27pt\" id=\"_x0000_i1025\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image001.jpg\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/P435.jpg\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2. </span><span lang=\"TH\">สมดุลต่อการหมุน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">คือ วัตถุมีอัตราการหมุนคงตัว ผลรวมของโมเมนต์</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 39pt; height: 27pt\" id=\"_x0000_i1026\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image002.jpg\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/P436.jpg\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">หลักที่นำมาใช้ในการคำนวณในกรณีที่วัตถุสมดุลต่อการ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เลื่อนที่ คือ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1. </span><span lang=\"TH\">แตกแรง ผลรวมของแรงทางด้านขวา = ผลรวมของ แรงทางด้านซ้าย</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ผลรวมของแรงทางด้านบน = ผลรวมของ แรงทางด้านล่าง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 118.5pt; height: 55.5pt\" id=\"_x0000_i1027\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image003.jpg\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/P437.jpg\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2. </span><span lang=\"TH\">ทฤษฎีลามี (กฎของ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> sine) </span><span lang=\"TH\">แรง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3 </span><span lang=\"TH\">แรงมากระทำกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ในภาวะ สมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> sin </span><span lang=\"TH\">ของมุมตรงข้ามย่อมมีค่า เท่ากัน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 311.25pt; height: 57pt\" id=\"_x0000_i1028\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image004.jpg\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/P438.jpg\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3. </span><span lang=\"TH\">สามเหลี่ยมแทนแรง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ถ้ามีแรง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3 </span><span lang=\"TH\">แรงกระทำร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ใน ภาวะสมดุลโดยทิศของแรงทั้ง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3 </span><span lang=\"TH\">แรงตั้งฉากกับด้านทั้ง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3 </span><span lang=\"TH\">ของสามเหลี่ยมจะได้อัตราส่วนขนาดของแรงต่อด้าน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ที่แรงนั้นตั้งฉากอยู่</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 240pt; height: 57pt\" id=\"_x0000_i1029\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image005.jpg\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/P439.jpg\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">แรงเสียดทาน</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><b><span lang=\"TH\">ลักษณะของแรงเสียดทาน</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1. </span><span lang=\"TH\">ไม่ขึ้นกับจำนวนพื้นที่ผิวสัมผัส</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n<span style=\"color: #000000; font-size: small\">2. </span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">ไม่ขึ้นกับความเร็วที่วัตถุเคลื่อนที่ และมีทิศตรง ข้ามการเคลื่อนที่ของวัตถุ</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n3. </span><span lang=\"TH\">ขึ้นอยู่กับแรงที่วัตถุกดพื้นในแนวตั้งฉาก หรือ แรงปฏิกิริยาของ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">พื้นในแนวตั้งฉาก</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n4. </span><span lang=\"TH\">ขึ้นกับพื้นผิวสัมผัส เช่น ขรุขระ หรือเรียบ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แรงเสียดทานแบ่งเป็น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2 </span><span lang=\"TH\">ชนิด คือ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1. </span><span lang=\"TH\">แรงเสียดทานสถิต (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">fs) </span><span lang=\"TH\">เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น ในขณะที่วัตถุอยู่นิ่ง จนถึงเริ่มต้นเคลื่อนที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">fs = </span><span lang=\"TH\">แรงเสียดทาน หน่วยเป็นนิวตัน = สัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิต </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">N = </span><span lang=\"TH\">แรงต้านของพื้นในแนวตั้งฉาก หน่วยเป็นนิวตัน </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2. </span><span lang=\"TH\">แรงเสียดทานจลน์ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">fk) </span><span lang=\"TH\">เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุ กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ซึ่งจะมีค่าน้อยกว่าแรง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เสียดทานสถิต มุมของความเสียดทาน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ถ้าวัตถุอยู่บนพื้นเอียงแล้ววัตถุลื่นไถลลงมาตามพื้นเอียง ด้วย ความเร็วคงที่</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มุมที่พื้นระนาบเอียงกระทำกับแนว ระดับ คือ มุมของความเสียดทาน </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">     </span><span lang=\"TH\">โมเมนต์</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โมเมนต์ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">M) = </span><span lang=\"TH\">แรง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">x </span><span lang=\"TH\">ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึง แนวแรง หน่วยเป็นนิวตัน - เมตร</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> (N-m)    </span><span lang=\"TH\">โมเมนต์ของแรงคู่ควบ - เมื่อมีแรงคู่ควบกระทำต่อ วัตถุ วัตถุจะเกิดการหมุน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดังนั้นโมเมนต์แรงคู่ควบ หา จาก แรง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 </span><span lang=\"TH\">แรง ระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การได้เปรียบเชิงกล (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">MA) </span><span lang=\"TH\">คือ อัตราส่วนของแรงที่ได้จาก เครื่องกล</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">กับแรงที่ให้กับเครื่องกล </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">F0 = </span><span lang=\"TH\">แรงที่ได้จากเครื่องกล </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">F1 = </span><span lang=\"TH\">แรงที่ให้กับเครื่องกล</span></span></span>\n</p>\n<p><span><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p></span> </p>\n', created = 1715423474, expire = 1715509874, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5fe757b1b0a7454e5bc7bd35f49d4245' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a99fc257f2645006a64b587bccfdc21f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ิอยากได้ข้อมูล การสมดุลและการหมุน ของวิชาฟิสิก  <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-embarassed.gif\" alt=\"Embarassed\" title=\"Embarassed\" border=\"0\" /></p>\n', created = 1715423474, expire = 1715509874, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a99fc257f2645006a64b587bccfdc21f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟิสิกส์ ม.4 บทที่ 8 สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น

บทที่ 8 สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุล (Equilibrium)

คือ สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่ วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ถ้า แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ สมดุลจะแบ่งเป็น 1. สมดุลสถิต (Static Equilibrium) เป็นสมดุลของ วัต ถุขณะอยู่นิ่ง

2. สมดุลจลน์ (Kinetic Equilibrium) เป็นสมดุลของ วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ (a = 0) เมื่อพิจารณาการ เคลื่อนที่เป็นหลัก จะมีเงื่อนไขสมดุลอยู่ 2 อย่างคือ 1. สมดุลต่อการเลื่อนที่ คือ วัตถุอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่

ด้วยความเร็วคงตัว จะมีค่า

2. สมดุลต่อการหมุน คือ วัตถุมีอัตราการหมุนคงตัว ผลรวมของโมเมนต์

หลักที่นำมาใช้ในการคำนวณในกรณีที่วัตถุสมดุลต่อการ เลื่อนที่ คือ 1. แตกแรง ผลรวมของแรงทางด้านขวา = ผลรวมของ แรงทางด้านซ้าย ผลรวมของแรงทางด้านบน = ผลรวมของ แรงทางด้านล่าง

2. ทฤษฎีลามี (กฎของ sine) แรง 3 แรงมากระทำกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ในภาวะ สมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ sin ของมุมตรงข้ามย่อมมีค่า เท่ากัน

3. สามเหลี่ยมแทนแรง ถ้ามีแรง 3 แรงกระทำร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ใน ภาวะสมดุลโดยทิศของแรงทั้ง 3 แรงตั้งฉากกับด้านทั้ง 3 ของสามเหลี่ยมจะได้อัตราส่วนขนาดของแรงต่อด้าน ที่แรงนั้นตั้งฉากอยู่

แรงเสียดทาน ลักษณะของแรงเสียดทาน

1. ไม่ขึ้นกับจำนวนพื้นที่ผิวสัมผัส
2.
ไม่ขึ้นกับความเร็วที่วัตถุเคลื่อนที่ และมีทิศตรง ข้ามการเคลื่อนที่ของวัตถุ
3.
ขึ้นอยู่กับแรงที่วัตถุกดพื้นในแนวตั้งฉาก หรือ แรงปฏิกิริยาของ พื้นในแนวตั้งฉาก

4.
ขึ้นกับพื้นผิวสัมผัส เช่น ขรุขระ หรือเรียบ แรงเสียดทานแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. แรงเสียดทานสถิต (fs) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น ในขณะที่วัตถุอยู่นิ่ง จนถึงเริ่มต้นเคลื่อนที่ fs = แรงเสียดทาน หน่วยเป็นนิวตัน = สัมประสิทธิแรงเสียดทานสถิต N = แรงต้านของพื้นในแนวตั้งฉาก หน่วยเป็นนิวตัน 2. แรงเสียดทานจลน์ (fk) เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุ กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ซึ่งจะมีค่าน้อยกว่าแรง เสียดทานสถิต มุมของความเสียดทาน ถ้าวัตถุอยู่บนพื้นเอียงแล้ววัตถุลื่นไถลลงมาตามพื้นเอียง ด้วย ความเร็วคงที่ มุมที่พื้นระนาบเอียงกระทำกับแนว ระดับ คือ มุมของความเสียดทาน      โมเมนต์ โมเมนต์ (M) = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึง แนวแรง หน่วยเป็นนิวตัน - เมตร (N-m)    โมเมนต์ของแรงคู่ควบ - เมื่อมีแรงคู่ควบกระทำต่อ วัตถุ วัตถุจะเกิดการหมุน ดังนั้นโมเมนต์แรงคู่ควบ หา จาก แรง 1 แรง ระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรง การได้เปรียบเชิงกล (MA) คือ อัตราส่วนของแรงที่ได้จาก เครื่องกล กับแรงที่ให้กับเครื่องกล F0 = แรงที่ได้จากเครื่องกล F1 = แรงที่ให้กับเครื่องกล

 

สร้างโดย: 
นายอุกฤษฏ์ นันอุมาลี

ิอยากได้ข้อมูล การสมดุลและการหมุน ของวิชาฟิสิก  Embarassed

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 196 คน กำลังออนไลน์