• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เจ้าหน้าที่ควบคุมผลการแข่งขัน ', 'node/46757', '', '18.119.97.172', 0, 'fe52dc877353654a6fa562e78d405879', 181, 1716899416) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:007c787ad7e015b00ea53b580c6e99ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u20111/muscle.jpg\" height=\"400\" width=\"342\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n ภาพจาก <a href=\"http://www.rakball.net/Rakballengland/pics/20090923195_02.jpg\" title=\"http://www.rakball.net/Rakballengland/pics/20090923195_02.jpg\">http://www.rakball.net/Rakballengland/pics/20090923195_02.jpg</a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>  กล้ามเนื้อบาดเจ็บ (strain) อาจรวมถึงการฉีกขาดของเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) ซึ่งเป็นพังผืดยึดกล้ามเนื้อกับกระดูกด้วย มักสับสนกับอาการเคล็ดขัดยอก (sprain) ซึ่งเกิดจากการที่เอ็นกระดูก (ligament) อันเป็นพังผืดที่ยึดกระดูกกับกระดูกและทำให้ข้อแข็งแรงและคงทนฉีกขาด</b>\n</p>\n<p>\nการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. ชนิดบาดเจ็บเฉียบพลัน และ 2.การใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป<br />\n1. ชนิดบาดเจ็บเฉียบพลัน เกิดจากมีแรงกดอย่างหนักทำให้กล้ามเนื้อฉีกขาด มีเลือดออก บวม เจ็บปวด สูญเสียความแข็งแรง และไม่สามารถทำงานได้<br />\n2. ชนิดที่เกิดจากการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป ทำให้กล้ามเนื้อยืดเนื่องจากมีแรงกดสะสมมานาน ทำให้มีอาการปวด แต่ไม่ฉีกขาดและไม่สูญเสียความแข็งแรง\n</p>\n<p>\nการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อชนิดเฉียบพลันมักเกิดกับกล้ามเนื้อที่อ่อนแรงหรือไม่ค่อยได้ใช้งาน กล้ามเนื้อมัดที่บาดเจ็บเช่นนี้ได้ง่ายคือกล้ามเนื้อทางด้านหลังของต้นขา ในทางตรงกันข้าม อาการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงานมากเกินไปมีผลทำให้เกิดแรงกดซ้ำ ๆ ติดต่อกันเป็นเวลานาน เช่น การทำสวน เป็นต้น มักมีผลเสียต่อกล้ามเนื้อที่หลังและขาหนีบ และอาจรวมไปถึงกล้ามเนื้อที่แขน ขาและหัวไหล่ ซึ่งบาดเจ็บได้ง่ายอยู่แล้วด้วย\n</p>\n<p>\n<u><b>สาเหตุอื่นที่ทำให้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ</b></u><br />\nเคล็ด ขัดยอก เส้นเอ็นอักเสบ กล้ามเนื้อหน้าแข้งฉีก ข้อเคลื่อน กระดูกหักเนื่องจากแรงกด และการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา หรือทำงานก็อาจทำให้ปวดกล้ามเนื้อและมีอาการบวมได้เช่นเดียวกัน\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50560\"><u><span style=\"color: #008000\"><b>วิธีการรักษาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ </b></span></u></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42819\"><img src=\"/files/u20111/Home-1_0.jpg\" height=\"159\" width=\"159\" /></a>                  <a href=\"/node/50533\"><img src=\"/files/u20111/Back-1.jpg\" height=\"196\" width=\"138\" /></a>                        <a href=\"/node/50474\"><img src=\"/files/u20111/backtomain.jpg\" height=\"196\" width=\"138\" /></a>\n</p>\n', created = 1716899426, expire = 1716985826, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:007c787ad7e015b00ea53b580c6e99ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การบาดเจ็บ

 

 

 

  กล้ามเนื้อบาดเจ็บ (strain) อาจรวมถึงการฉีกขาดของเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) ซึ่งเป็นพังผืดยึดกล้ามเนื้อกับกระดูกด้วย มักสับสนกับอาการเคล็ดขัดยอก (sprain) ซึ่งเกิดจากการที่เอ็นกระดูก (ligament) อันเป็นพังผืดที่ยึดกระดูกกับกระดูกและทำให้ข้อแข็งแรงและคงทนฉีกขาด

การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. ชนิดบาดเจ็บเฉียบพลัน และ 2.การใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป
1. ชนิดบาดเจ็บเฉียบพลัน เกิดจากมีแรงกดอย่างหนักทำให้กล้ามเนื้อฉีกขาด มีเลือดออก บวม เจ็บปวด สูญเสียความแข็งแรง และไม่สามารถทำงานได้
2. ชนิดที่เกิดจากการใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไป ทำให้กล้ามเนื้อยืดเนื่องจากมีแรงกดสะสมมานาน ทำให้มีอาการปวด แต่ไม่ฉีกขาดและไม่สูญเสียความแข็งแรง

การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อชนิดเฉียบพลันมักเกิดกับกล้ามเนื้อที่อ่อนแรงหรือไม่ค่อยได้ใช้งาน กล้ามเนื้อมัดที่บาดเจ็บเช่นนี้ได้ง่ายคือกล้ามเนื้อทางด้านหลังของต้นขา ในทางตรงกันข้าม อาการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงานมากเกินไปมีผลทำให้เกิดแรงกดซ้ำ ๆ ติดต่อกันเป็นเวลานาน เช่น การทำสวน เป็นต้น มักมีผลเสียต่อกล้ามเนื้อที่หลังและขาหนีบ และอาจรวมไปถึงกล้ามเนื้อที่แขน ขาและหัวไหล่ ซึ่งบาดเจ็บได้ง่ายอยู่แล้วด้วย

สาเหตุอื่นที่ทำให้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ
เคล็ด ขัดยอก เส้นเอ็นอักเสบ กล้ามเนื้อหน้าแข้งฉีก ข้อเคลื่อน กระดูกหักเนื่องจากแรงกด และการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา หรือทำงานก็อาจทำให้ปวดกล้ามเนื้อและมีอาการบวมได้เช่นเดียวกัน

วิธีการรักษาการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ

                                       

สร้างโดย: 
นางสาวอธิฐาน เที่ยงแท้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 158 คน กำลังออนไลน์