• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1c3b997aa3d268f5fd55d7ddc98f391f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table>\n<tbody>\n<tr>\n<td><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u21019/logo.gif\" height=\"200\" /></td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><a href=\"/node/46284\">หน้าหลัก</a> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">&gt; <span lang=\"TH\"><a href=\"/node/50198\">อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์</a>  &gt; หม้อแปลงไฟฟ้า</span></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\">หม้อแปลงไฟฟ้า</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">               หม้อแปลงไฟฟ้า คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยการใช้ขดลวดทองแดงพันขึ้นบนแกนเหล็กอ่อนหรือแกนเฟอร์ไรท์ หม้อแปลงในปัจจุบันมีทั้งหม้อแปลงแบบลดความต่างศักย์ไฟฟ้าให้ลดลง (Step down) หรือเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้สูงขึ้น (Step up) <br />\n                หม้อแปลงไฟฟ้าจะถือว่ากำลังไฟฟ้าขาเข้าเท่ากับกำลังไฟฟ้าขาออก หมายความว่า ผลคูณระหว่างกระแสและความต่างศักย์ที่ขดลวดปฐมภูมิมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างกระแสและความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิ</span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n P<sub>p</sub> =  P<sub>s</sub> <br />\n <span style=\"color: #0000ff\">V<sub>p</sub>I<sub>p</sub> = V<sub>s</sub>I<sub>s</sub></span>\n </p>\n<p> </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\">               ความสัมพันธ์ของลูกคลื่นสัญญาณของความต่างศักย์ระหว่างขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิจะขึ้นกับทิศทางการพันของขดลวด ถ้าพันขดลวดทุติยภูมิให้มีทิศทางเดียวกับขดลวดปฐมภูมิจะทำให้ความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิมีลูกคลื่นไฟฟ้าขาออกตรงข้ามกับไฟฟ้าขาเข้า ในทางกลับกัน ถ้าพันขดลวดทุติยภูมิกลับทิศทางตรงข้ามกับขดลวดปฐมภูมิจะได้ความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิเป็นลูกคลื่นที่มีทิศทางเดียวกันกับความต่างศักย์ที่จ่ายเข้ามา<br />\n </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"></span>\n </p>\n<p> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1720450081, expire = 1720536481, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1c3b997aa3d268f5fd55d7ddc98f391f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หม้อแปลงไฟฟ้า

หน้าหลัก อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  > หม้อแปลงไฟฟ้า


หม้อแปลงไฟฟ้า

               หม้อแปลงไฟฟ้า คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยการใช้ขดลวดทองแดงพันขึ้นบนแกนเหล็กอ่อนหรือแกนเฟอร์ไรท์ หม้อแปลงในปัจจุบันมีทั้งหม้อแปลงแบบลดความต่างศักย์ไฟฟ้าให้ลดลง (Step down) หรือเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้สูงขึ้น (Step up) 
               หม้อแปลงไฟฟ้าจะถือว่ากำลังไฟฟ้าขาเข้าเท่ากับกำลังไฟฟ้าขาออก หมายความว่า ผลคูณระหว่างกระแสและความต่างศักย์ที่ขดลวดปฐมภูมิมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างกระแสและความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิ

Pp =  Ps
VpIp = VsIs

               ความสัมพันธ์ของลูกคลื่นสัญญาณของความต่างศักย์ระหว่างขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิจะขึ้นกับทิศทางการพันของขดลวด ถ้าพันขดลวดทุติยภูมิให้มีทิศทางเดียวกับขดลวดปฐมภูมิจะทำให้ความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิมีลูกคลื่นไฟฟ้าขาออกตรงข้ามกับไฟฟ้าขาเข้า ในทางกลับกัน ถ้าพันขดลวดทุติยภูมิกลับทิศทางตรงข้ามกับขดลวดปฐมภูมิจะได้ความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิเป็นลูกคลื่นที่มีทิศทางเดียวกันกับความต่างศักย์ที่จ่ายเข้ามา

สร้างโดย: 
Karmonrat

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 453 คน กำลังออนไลน์