• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '13.58.132.97', 0, '0d9e6105609af038da5c1fd7a679d3f6', 136, 1716116313) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:83e8a230a218bba53ad38ba1752fbae0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"font-size: large; color: #ff0000\">การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว</span></u></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\"> </span><span style=\"font-size: small; color: #3366ff\">1.การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\">อะมีบาไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะ  แต่จะเคลื่อนที่โดยการหลของไซโทพลาสซึมเป็นเท้าเทียม  (pseudopodium)  ไซโทพลาสซึมในอะมีบา  แบ่งเป็น  2  ส่วน  คือ  1.  เอ็กโทพลาสซึม  เป็นไซโทพลาสซึมชั้นนอกที่มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว  เรียกว่า  เจล <br />\n2.เอนโดพลาสซึม  เป็นไซโทพลาสซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลว  เรียกว่า  โซล  เนื่องจากการรวมตัวและแยกตัวของโปรตีนแอกทีน  ซึ่งเป็นส่วนประกอบของไมโครฟิลาเมนต์  (สายใยเล็กๆมีมากมายอยู่ในไซโทพลาสซึม)  ทำให้สมบัติของไซโทพลาสซึมเปลี่ยนจากเจลเป็นโซลและจากโซลเป็นเจล  จึงเกิดการไหลของไซโทพลาสซึมไปในทิศทางที่เซลล์เคลื่อนที่ไป  และดันเยื่อหุ้มเซลล์ส่วนนั้นให้โป่งออกเป็นเท้าเทียม  ทำให้อะมีบาเคลื่อนที่ได้  เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า  การเคลื่อนที่แบบอะมีบา  (amoeboid  movement) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\">2.การเคลื่อนไหวโดยใช้แฟลลเจลลัมหรือซีเลีย <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\">แฟลลเจลลัม  มีลักษณะเป็นเส้นยาวและมีจำนวนเพียง  1  หรือ  2  เส้นเท่านั้น  แต่บางชนิดอาจจะมีจำนวนมากได้  ส่วนซีเลียมีลักษณะเป็นขนเล็กๆสั้นๆและมักมีจำนวนมาก  แฟลเจลลัมจะยาวกว่าซีเลียถึง  20  เท่า  ในสัตว์ชั้นสูงก็มีซีเลีย  แต่มักจะเป็นเซลล์ที่เยื่อบุของระบบหายใจ  ท่อนำไข่  ฯลฯ  โดยช่วยโบกพัดให้สารบางอย่างเคลื่อนที่ไปได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\">พารามีเซียมเคลื่อนที่โดยการโบกพัดของซีเลียไปทางด้านหลัง  ทำให้ตัวของพารามีเซียมเคลื่อนที่ไปข้างหน้า  จากการโบกพักของซีเลียทำให้ตัวของพารามีเซียมหมุนไปด้วย  เนื่องจากไม่มีอวัยวะคอยปรับสมดุล  และเนื่องจากซีเลียที่ร่องปากซึ่งมีจำนวนมากกว่าโบกพัดแรงกว่าบริเวณอื่นจึงทำให้หมุน  แบคทีเรีย  ยูกลีนา  พารามีเซียม  ไม่มีกล้ามเนื้อแต่อาศัยโครงสร้างที่เรียกว่า  ซีเลีย  (cilia)  หรือ  แฟลเจลลัม  (flagellum)  ช่วยในการเคลื่อนที่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\">จากการศึกษาภาคตัดตามขวางของแฟลเจลลัมและซีเลียภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน  จะพบว่าส่วนประกอบที่สำคัญ  คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\">1.ไมโครทิวบูล  เป็นหลอดเส้นเล็กๆซึ่งประกอบด้วยโปรตีน  เรียกว่า  ทิวบูลิน  ไมโครทิวบูล  เรียงตัวเป็นวง  9  กลุ่มๆละ  2  หลอด  ตรงแกนกลางมี  2  หลอด  ไมโครทิวบูลถูกล้องรอบด้วยเยื่อหุ้มเซลล์  ระหว่างไมโครทิวบูลที่เรียงเป็นวงจะมีโปรตีนที่เรียกว่า  ไดนีน  เป็นเสมือนแขนที่เกาะกับไมโครทิวบูล  เรียกว่า  ไดนีนอาร์ม  ทำให้แฟลเจลลัมหรือซีเลียโค้งงอและสามารถพัดโบกได้  (มีโครงสร้างเป็นแบบ  9+2) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\">2.เบซอลบอดี   หรือไคนีโทโซม  เป็นส่วนที่อยู่ลึกลงไปในเยื่อหุ้มเซลล์  ซึ่งเป็นฐาน <br />\nแฟลเจลลัมหรือซีเลีย  (มีโครงสร้างเป็นแบบ  9+0)  จากการทดลองพบว่าถ้าตัดเอาเบซอลบอดีออกจะมีผลทำให้แฟลเจลลัมหรือซีเลียนั้นไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img src=\"http://www.aksorn.com/images/lib/sci/079.jpg\" /> <br />\n \n</p>\n<p></p>\n', created = 1716116323, expire = 1716202723, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:83e8a230a218bba53ad38ba1752fbae0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

รูปภาพของ sss29165

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

 1.การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม  

อะมีบาไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะ  แต่จะเคลื่อนที่โดยการหลของไซโทพลาสซึมเป็นเท้าเทียม  (pseudopodium)  ไซโทพลาสซึมในอะมีบา  แบ่งเป็น  2  ส่วน  คือ  1.  เอ็กโทพลาสซึม  เป็นไซโทพลาสซึมชั้นนอกที่มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว  เรียกว่า  เจล
2.เอนโดพลาสซึม  เป็นไซโทพลาสซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลว  เรียกว่า  โซล  เนื่องจากการรวมตัวและแยกตัวของโปรตีนแอกทีน  ซึ่งเป็นส่วนประกอบของไมโครฟิลาเมนต์  (สายใยเล็กๆมีมากมายอยู่ในไซโทพลาสซึม)  ทำให้สมบัติของไซโทพลาสซึมเปลี่ยนจากเจลเป็นโซลและจากโซลเป็นเจล  จึงเกิดการไหลของไซโทพลาสซึมไปในทิศทางที่เซลล์เคลื่อนที่ไป  และดันเยื่อหุ้มเซลล์ส่วนนั้นให้โป่งออกเป็นเท้าเทียม  ทำให้อะมีบาเคลื่อนที่ได้  เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า  การเคลื่อนที่แบบอะมีบา  (amoeboid  movement)

2.การเคลื่อนไหวโดยใช้แฟลลเจลลัมหรือซีเลีย

แฟลลเจลลัม  มีลักษณะเป็นเส้นยาวและมีจำนวนเพียง  1  หรือ  2  เส้นเท่านั้น  แต่บางชนิดอาจจะมีจำนวนมากได้  ส่วนซีเลียมีลักษณะเป็นขนเล็กๆสั้นๆและมักมีจำนวนมาก  แฟลเจลลัมจะยาวกว่าซีเลียถึง  20  เท่า  ในสัตว์ชั้นสูงก็มีซีเลีย  แต่มักจะเป็นเซลล์ที่เยื่อบุของระบบหายใจ  ท่อนำไข่  ฯลฯ  โดยช่วยโบกพัดให้สารบางอย่างเคลื่อนที่ไปได้

พารามีเซียมเคลื่อนที่โดยการโบกพัดของซีเลียไปทางด้านหลัง  ทำให้ตัวของพารามีเซียมเคลื่อนที่ไปข้างหน้า  จากการโบกพักของซีเลียทำให้ตัวของพารามีเซียมหมุนไปด้วย  เนื่องจากไม่มีอวัยวะคอยปรับสมดุล  และเนื่องจากซีเลียที่ร่องปากซึ่งมีจำนวนมากกว่าโบกพัดแรงกว่าบริเวณอื่นจึงทำให้หมุน  แบคทีเรีย  ยูกลีนา  พารามีเซียม  ไม่มีกล้ามเนื้อแต่อาศัยโครงสร้างที่เรียกว่า  ซีเลีย  (cilia)  หรือ  แฟลเจลลัม  (flagellum)  ช่วยในการเคลื่อนที่

จากการศึกษาภาคตัดตามขวางของแฟลเจลลัมและซีเลียภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน  จะพบว่าส่วนประกอบที่สำคัญ  คือ

1.ไมโครทิวบูล  เป็นหลอดเส้นเล็กๆซึ่งประกอบด้วยโปรตีน  เรียกว่า  ทิวบูลิน  ไมโครทิวบูล  เรียงตัวเป็นวง  9  กลุ่มๆละ  2  หลอด  ตรงแกนกลางมี  2  หลอด  ไมโครทิวบูลถูกล้องรอบด้วยเยื่อหุ้มเซลล์  ระหว่างไมโครทิวบูลที่เรียงเป็นวงจะมีโปรตีนที่เรียกว่า  ไดนีน  เป็นเสมือนแขนที่เกาะกับไมโครทิวบูล  เรียกว่า  ไดนีนอาร์ม  ทำให้แฟลเจลลัมหรือซีเลียโค้งงอและสามารถพัดโบกได้  (มีโครงสร้างเป็นแบบ  9+2)

2.เบซอลบอดี   หรือไคนีโทโซม  เป็นส่วนที่อยู่ลึกลงไปในเยื่อหุ้มเซลล์  ซึ่งเป็นฐาน
แฟลเจลลัมหรือซีเลีย  (มีโครงสร้างเป็นแบบ  9+0)  จากการทดลองพบว่าถ้าตัดเอาเบซอลบอดีออกจะมีผลทำให้แฟลเจลลัมหรือซีเลียนั้นไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ 


 
 

สร้างโดย: 
ด.ญ.สุธาวี วิไลพรไสว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 317 คน กำลังออนไลน์